จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความสว่างและอันดับความสว่างของดาวฤกษ์
Advertisements

สภาพแวดล้อมทางกายภาพของโลก
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ระบบที่จะเกิดขึ้นใหม่ทางช้างเผือกคือ
ภาพดวงดาวและกาแล็กซี่
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
เส้นสุริยวิถีเอียงทำมุมกับเส้นศูนย์สูตรฟ้า ทำให้เรามองเห็นดวงอาทิตย์ขึ้น - ตก ค่อนไปทางเหนือหรือใต้ในรอบปี
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ระบบสุริยะ (Solar System).
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
ดวงอาทิตย์ The Sun.
น้ำและมหาสมุทร.
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
Clouds & Radiation.
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
คำชี้แจง สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โจฮานเนส เคปเลอร์ (Johannes Kepler) ค.ศ
กลไกการปรับสมดุลโลก แผ่นที่ 1/6 พื้นสีเข้มดูดกลืน รังสีได้ดีกว่า.
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
การอ่านแผนที่ดาว นักเรียนเคยอ่านแผนที่ดาวหรือไม่ การอ่านแผนที่ดาวแตกต่างจากการอ่านแผนที่อื่น ๆ เพราะจะต้องนอนหงายหรือเงยหน้าอ่าน โดยยกแผนที่ดาวขึ้นสูงเหนือศีรษะ.
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
กาแล็กซีและเอกภพ.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ตราด.
เมื่อแกนโลกเอียงจากเดิม 23
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
โลก (Earth).
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
ยูเรนัส (Uranus).
ดวงจันทร์ (Moon).
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
วิทยาศาสตร์ Next.
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
โจฮานเนส เคปเลอร์ (Johannes Kepler) กฏข้อที่ 1: ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี โดยมี ดวงอาทิตย์อยู่ที่โฟกัสจุดหนึ่ง กฏข้อที่ 2: เส้นตรงที่โยงระหว่างดาวเคราะห์กับดวงอาทิตย์
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ระบบสุริยะ จักรวาล.
โลกและสัณฐานของโลก.
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ ปีการศึกษา 2548 เสนอ อ. มานะ ผิวผ่อง

ระบบสุริยะ คือ ระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ เป็นบริวารโคจรอยู่โดยรอบ เมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออำนวย ต่อการดำรงชีวิต สิ่งมีชีวิตก็จะเกิดขึ้นบนดาวเคราะห์เหล่านั้น และดาวเคราะห์จะมีบริวารที่เรียกว่า ดวงจันทร์

ดาวฤกษ์ของระบบสุริยะ คือ เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม. มวล: 1.989 x 1030 ก.ก. อุณหภูมิ:5800 เคลวิน 15,600,000 k พลังงานของดวงอาทิตย์ ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุกๆ 1วินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน พลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิวจากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีกทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้ก่อนที่จะถึงพื้นผิวพลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

ระบบสุริยะมีดาวเคราะอยู่ 9 ดวง 1 ดาวเคราะห์ซึ่งอยู่ใกล้กับดาวอาทิตย์มากที่สุดและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 8 วงโคจร: 57,910,000 ก.ม. จากดวงอาทิตย์ เส้นผ่านศูนย์กลาง: 4,880 ก.ม. มวล: 3.30 x 1023 ก.ก. วงโคจรของดาวพุธเป็นวงรีมาก มีระยะห่างจากดวงอาทิตย์ 46 ล้านกิโลเมตรที่ เพอริฮีเลียนและมีระยะห่างถึง 70 ล้านกิโลเมตรที่ แอปพีเลียน ดาวพุธโคจรรอบดวงอาทิตย์ในอัตราที่ช้ามาก

2 ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 2 มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 6 วงโคจรของดาวศุกร์เกือบเป็นวงกลม กว่าดาวเคราะห์ดวงอื่น วงโคจร: 108,200,000 ก.ม.จากดวงอาทิตย์ เส้นผ่านศูนย์กลาง: 12,103.6 ก.ม. มวลสาร: 4.869 x 1024 ก.ก. ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์วงใน มันจึงปรากฏให้เห็นเป็นเสี้ยว เมื่อมองดูด้วยกล้องโทรทรรศน์

3 โลกดาวเคราะห์ลำดับที่ 3 จากดวงอาทิตย์ มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 5 วงโคจร: 149,600,000 ก.ม. จากดวงอาทิตย์ เส้นผ่านศูนย์กลาง: 12,756.3 ก.ม. มวล: 5.9736 x 1024 ก.ก. มนุษย์ทำการศึกษาโลกมานานแล้ว แต่เราเพิ่งจะทำแผนที่รอบโลกได้ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 นี้เอง การส่งยานอวกาศออกไปโคจรรอบโลก ทำให้ได้ข้อมูลต่าง ๆ เพิ่มเติมอีกมากมาย อาธิเช่น การศึกษาและพยากรณ์สภาพอากาศ การติดตามพายุเฮอริเคน เ ราทำการศึกษาภายในของโลก โดยแบ่งออกเป็นชั้นตามความลึก ตามองค์ประกอบทางเคมี และการเคลื่อนตัว : มนุษย์ทำการศึกษาโลกมานาน แต่เราเพิ่งจะทำแผนที่รอบโลกได้ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 การส่งยานอวกาศออกไปโคจรรอบโลก ทำให้ได้ข้อมูลต่าง ๆ เพิ่มเติมอีกมากมาย

4 ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่4 มีขนาดใหญ่อันดับที่ 7 ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่4 มีขนาดใหญ่อันดับที่ 7 วงโคจร: 227,940,000 ก.ม. จากดวงอาทิตย์ เส้นผ่านศูนย์กลาง: 6,794 ก.ม. มวล: 6.4219 x 1023 ก.ก. วงโคจรเป็นวงรี ส่งผลให้เกิดความแตกต่างของอุณหภูมิถึง 30 องศาเซลเซียส เมื่อโคจรอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้และไกลที่สุดจากดวงอาทิตย์ และมีอิทธิพลสำคัญต่อ สภาพบรรยากาศ ของดาวอังคาร แม้ว่าอุณหภูมิโดยเฉลี่ยบนพื้นผิวอยู่ที่ 218 K แต่ความแตกต่างของอุณหภูมิ ในแต่ละภูมิประเทศมีมาก เช่น ต่ำถึง 140 K ที่ขั้วดาวในฤดูหนาว หรือสูงถึง 300 K เวลากลางวันของฤดูร้อน

5 ดาวเคราะห์ลำดับที่ 5 จากดวงอาทิตย์ มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ และมีมวลมากกว่าโลก 318 เท่า วงโคจร: 778,330,000 ก.ม.จากดวงอาทิตย์ เส้นศูนย์สูตร: 142,984 ก.ม. มวล: 1.9 x 1027 ก.ก. ดาวพฤหัสบดี ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 90% และ ฮีเลียม10% รวมทั้ง มีเทน น้ำ แอมโมเนีย และเศษหิน

6 ห่างจาก ดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 6 มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 2 รองจากดาวพฤหัสบดี วงโคจร: 1,429,400,000 ก.ม.จากดวงอาทิตย์ เส้นผ่านศูนย์กลาง: 120,536 ก.ม. มวลสาร: 5.68 x 1026 ก.ก. ดาวเสาร์ปรากฏให้เห็นเป็นดวงแป้น เมื่อมองด้วยกล้องโทรทรรศน์ขนาดเล็ก เส้นศูนย์สูตร และเส้นขั้วเหนือ-ใต้ แตกต่างกันถึง 10% ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นต่ำที่สุด มีค่าความถ่วงจำเพาะ0.7ซึ่ง น้อยกว่า ถ.พ.ของน้ำ

7 ยูเรนัส เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่ 7 จาก ดวงอาทิตย์ และมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 วงโคจร: 2,870,990,000 ก.ม.จากดวงอาทิตย์ เส้นผ่านศูนย์กลาง: 51,118 ก.ม. มวล: 8.68 x 1025 ก.ก. แกนการหมุนรอบตัวเองของดาวเคราะห์ส่วนใหญ่ มักจะค่อนข้างจะตั้งฉากกับระนาบสุริยะวิถี แต่แกนหมุนรอบตัวเองของดาวยูเรนัส กลับเกือบขนานกับสุริยะวิถี ขณะที่ยานวอยเอเจอร์เดินทางไปถึงยูเรนัสกำลังหันขั้วใต้ชี้ไปยังดวงอาทิตย์ ทำให้ อุณหภูมิบริเวณขั้วดาวจะสูงกว่าบริเวณเส้นศูนย์สูตรเสมอ

8 เนปจูน เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่ 8 จากดวงอาทิตย์ มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ4 วงโคจร: 4,504,000,000 ก.ม.จากดวงอาทิตย์ เส้นผ่านศูนย์กลาง: 49,532 ก.ม. มวล: 1.0247 x 1026 ก.ก. จุดสะดุดตาคือ จุดมืดใหญ่ ทางซีกดาวใต้ มีขนาดใหญ่เกือบครึ่งหนึ่ง ของ จุดแดงยักษ์บนดาวพฤหัสบดี

9 ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่ห่างจากดวงอาทิตย์มากที่สุด ขนาดเล็กมาก วงโคจร: 5,913,520,000 ก.ม. จากดวงอาทิตย์เส้นผ่านศูนย์กลาง: 2274 ก.ม. มวล: 1.27 คูณ 1022 ก.ก. นักวิทยาศาสตร์บางคนคิดว่า ควรจัดประเภทของดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์น้อยหรือดาวหางมากกว่าที่จะเป็นดาวเคราะห์ ปัจจุบันมนุษย์เรายังถือว่าดาวพลูโตเป็นเทหวัตถุประเภทดาวเคราะห์ วงโคจรของดาวพลูโตรีมากและดาวพลูโตหมุนรอบตัวเองในทิศทางที่ตรงข้ามกับดาวเคราะห์ดวงอื่น