กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
ระบบจำนวนจริง(Real Number)
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ลอจิกเกต (Logic Gate).
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
แปลคำศัพท์สำคัญ Chapter 2 หัวข้อ 2. 1 – 2
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
การดำเนินการของลำดับ
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
จำนวนเชิงซ้อน โดย มาสเตอร์พิทยา ครองยุทธ
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
อสมการ (Inequalities)
ทบทวนอสมการกำลัง1. ทบทวนอสมการกำลัง1 การหาเซตคำตอบของอสมการ ตัวอย่าง.
แฟกทอเรียล (Factortial)
(Internal energy of system)
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
โดย : อาจารย์พงศกร ละฟู่ สังกัดระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
ทรานสโพสเมตริกซ์ (Transpose of Matrix)
Electrical Engineering Mathematic
วงรี ( Ellipse).
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การหาเซตคำตอบของสมการ ค่าสัมบูรณ์
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดย ครูพลอยพัชร พงษ์ศาสตร์ โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี

โครงสร้างของจำนวนเชิงซ้อน ในระบบจำนวนจริง การแก้สมการกำลังสอง บางครั้งไม่สามารถหาคำตอบได้ เช่น เราไม่สามารถหาจำนวนจริงใด ๆ ที่ยกกำลังสองแล้วมีค่าเท่ากับ -i ได้ แสดงว่าระบบจำนวนจริงไม่สามารถครอบคลุมไปถึงคำตอบของสมการ จึงมีการคิดค้นระบบจำนวนขึ้นมาใหม่ ซึ่งสามารถให้คำตอบของสมการประเภท ได้ และเรียกจำนวนที่คิดค้นขึ้นมาใหม่นี้ว่า “จำนวนเชิงซ้อน” หมายเหตุ ตัวอย่างของจำนวนเชิงซ้อน

การเรียกส่วนต่าง ๆ ของจำนวนเชิงซ้อน ให้ z = a + bi เป็นจำนวนเชิงซ้อนใด ๆ แล้ว a เรียกว่า ส่วนจริง (real part) b เรียกว่า ส่วนจินตภาพ (imaginary part) i เรียกว่า จำนวนจินตภาพหนึ่งหน่วย (imaginar unit) bi เรียกว่า จำนวนจินตภาพแท้ (b 0) a + bi เรียกว่า จำนวนเชิงซ้อน (a 0, b 0) ตัวอย่าง 3+5i เรียกว่า จำนวนเชิงซ้อน 3 เรียกว่า จำนวนจริง 5i เรียกว่า จำนวนจินตภาพแท้

ดังนั้น จำนวนเชิงซ้อนแยกเป็น 2 กลุ่ม คือ จำนวนจริงกับจำนวนจินตภาพ สัญลักษณ์ (ตัวเลข) ที่ใช้แทนจำนวนเชิงซ้อน คือ a + bi หรือ (a , b ) หรือ …. (เชิงขั้ว) ถ้าส่วนจินตภาพเป็น 0 จะแทนจำนวนจริง เช่น 5 + 0i = 5 ถ้าส่วนจินตภาพไม่เป็น 0 จะแทนจำนวนจินตภาพ เช่น 0 + 7i = 7i จำนวนจินตภาพ จำนวนจินตภาพ เป็นจำนวนที่เกิดจากการแก้ปัญหาในการหาค่า x จากสมการ ซึ่งค่า x ที่ได้จะเป็นจำนวนจริงลบที่อยู่ภายในเครื่องหมาย ดังนั้นจึงตั้งชื่อจำนวนจริงลบดังกล่าวว่า จำนวนจินตภาพ เช่น , , , เป็นต้น

จากนิยาม ทำให้เราเขียนจำนวนจินตภาพได้ง่าย ๆ ดังนี้ นิยาม ถ้า a เป็นจำนวนจริงบวกแล้ว เราใช้สัญลักษณ์ i แทน นั่นคือ หรือ จากนิยาม ทำให้เราเขียนจำนวนจินตภาพได้ง่าย ๆ ดังนี้ 1) = = 2) = =