การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เพราะความเป็นห่วง.
Advertisements

สมดุลเคมี.
คุณจะได้รับประโยชน์มากกว่า ถ้าคุณรู้ว่าควรจะกินอย่างไร
รองศาสตราจารย์ ดร. วิบูลย์ รัตนาปนนท์
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็กๆเรียกว่า เซลล์ 1.สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์ 2.สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น.
กำเนิดเซลล์โปรคาริโอต
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
~ ชาเขียว ~.
โดย ศ.ชโลบล อยู่สุข “ชมรมอยู่ดีมีสุข” วันที่ 1 ตุลาคม 2551
BIOL OGY.
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
โครงสร้างในการแลกเปลี่ยนก๊าซของสิ่งมีชีวิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
DNA สำคัญอย่างไร.
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
ภาวะไตวาย.
ห้องฉุกเฉิน 4 : ปอดจ๋า ห้องฉุกเฉิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4: ปอดจ๋า.
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
นางสาวนัทธมน สกุลรุ่งโรจน์วุฒิ รหัสนิสิต : กลุ่ม : 2115
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
10 Tips For Good Health โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
การจำแนกประเภทของสาร
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
โรคเบาหวาน ภ.
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
กินตามกรุ๊ปเลือด.
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูก 8 ข้อขึ้นไป 5 คะแนน ตอบถูก 7 ข้อ 4 คะแนน ตอบถูก 6 ข้อ 3 คะแนน ตอบถูก 5 ข้อ 2 คะแนน ตอบถูกน้อยกว่า 4 ข้อ 1 คะแนน ตอบไม่ถูกเลยไม่ได้รับคะแนน.
อาหารปลอดภัยด้านประมง
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
กำมะถัน (Sulfur).
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
โครงการพัฒนาคุณภาพน้ำนมดิบ กลุ่มเกษตรกรรายย่อยบ้านห้วยเตย จังหวัดขอนแก่น ศวพ.ขอนแก่น.
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์

ตารางบันทึกผล การทดลอง ชุดที่ ผลการทดลอง ก่อนการทดลอง ลักษณะสีสารละลายบรอมไทมอลบลู หลังการทดลอง ลักษณะการเกิดฟองแก๊ส ลักษณะสีสารละลาย บรอมไทมอลบลู 1 สีน้ำเงิน มีฟองแก๊สเกิดขึ้นตลอด เปลี่ยนเป็นสีเหลืองอมส้ม 2 ไม่มีฟองแก๊ส ไม่เปลี่ยนสี 3

กระบวนการหายใจระดับเซลล์แบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Respiration) เป็นกระบวนการที่เซลล์มีการสลาย สารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน โดยไม่ใช้ออกซิเจนเป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย พบได้สิ่งสิ่งมีชีวิตพวกโพรคาริโอต (Prokaryote) ผลผลิตสุดท้ายของกระบวนการการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน คือ CO2 สารอินทรีย์ที่อยู่ในสภาพรีดิวซ์ (NAD+) และ ATP

การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic respiration) ประกอบด้วย  2  ขั้นตอน  คือ 1.ไกลโคลิซีส (Gycolysis) 2.การหมัก (Fermentation) การสลายกลูโคสในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจนของยีสต์  ซึ่งจะเกิดกระบวนการหมักแอลกอฮอล์

การหมักแอลกอฮอล์ถูกนำมาใช้ประโยชน์ ในการผลิตเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์  เช่น  เบียร์   สุรา ไวน์ชนิดต่าง ๆ   ปัจจุบันได้มีการนำความรู้นี้ไปผลิตแอลกอฮอล์จากของเหลือใช้  เช่น - การผลิตแอลกอฮอล์จากกากน้ำตาล  มีผลทำให้ลดปัญหามลภาวะจากกากน้ำตาลได้เป็นจำนวนมาก  แอลกอฮอล์ยังเป็นสารที่มีพลังงานแฝงอยู่มาก  สามารถนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้  ยีสต์จะหมักแอลกอฮอล์ได้สูงสุดประมาณ 12 % (ถ้าสูงกว่านี้จะเป็นอันตรายต่อเซลล์)

ยีสต์แซคคาโรไมซิส ซิริวิซิอี ( Saccharomyces cerevisiae) ยีสต์ในลูกแป้ง คือ แซคคาโรไมคอปซิส ฟิบูลิจอร่า (Saccharomycopsis fibuligera )

การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนของเซลล์กล้ามเนื้อ - กรดแลกติกที่เกิดจากกระบวนการหมักจะมีการลำเลียงออกจากเซลล์กล้ามเนื้อไปยังตับ  เพื่อสังเคราะห์กลับเป็นกลูโคสซึ่งร่างกายสามารถนำไปใช้ต่อไปได้  - ส่วนกรณีการปวดเมื่อยของกล้ามเนื้อที่เกิดขึ้นพบว่าเป็นผลมาจากการสะสมของกรดต่างๆ  ที่เกิดขึ้นในกระบวนการไกลโคลิซิส  ดังนั้นถึงแม้ว่าจะมีความเข้มข้นของกรดแลกติกสูงก็จะไม่มีอาการปวดเมื่อยของกล้ามเนื้อ  ถ้าร่างกายสามารถรักษาสมดุลของกรด ไว้ได้

เลือดลำเลียงO2ให้ไม่ทัน เซลล์จะมีการสลายอาหารโดยไม่ใช้ O2 กระบวนการนี้คล้ายการสลายของยีสต์ แต่ NADHจะผันกลับเป็นNAD+โดยการถ่ายทอดอิเล็กตรอนให้กับกรดไพรูวิกเกิดเป็นกรดแลกติก

การสลายกลูโคสในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจนของเซลล์กล้ามเนื้อซึ่งจะเกิดกระบวนการหมักกรดแลกติก

กรดแลกติกที่เกิดขึ้นในเซลล์กล้ามเนื้อมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างไร กรดแลกติกจะถูกลำเลียงออกจากเซลล์กล้ามเนื้อไปยังตับ เพื่อสังเคราะห์เป็นกลูโคสซึ่งร่างกายสามารถนำไปใช้ต่อไปได้

การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้O2เกิดขึ้นได้ทั้งในพืชสัตว์และจุลินทรีย์ตัวอย่างเช่น  พืชที่อยู่ในภาวะน้ำท่วม  ทำให้รากได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ  เซลล์ที่รากจึงต้องสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน  เป็นต้น

ภาพแบคทีเรียแลกโตบาซิลลัส (Lactobacillus) กระบวนการหมักกรดแลกติกที่เกิดขึ้นได้ในจุลินทรีย์พวกแบคทีเรียบางชนิด มนุษย์นำประโยชน์จากกระบวนการหมักของจุลินทรีย์มาใช้ผลิตอาหาร ภาพแบคทีเรียแลกโตบาซิลลัส (Lactobacillus)

ประโยชน์ จากกระบวนการหมัก เต้าหู้ยี้ เต้าเจี้ยว โยเกิร์ต นมเปรี้ยว

ผักดอง ผลไม้ดอง

สรุปการสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน 1.        อาหารสลายตัวไม่สมบูรณ์  (ปฏิกิริยาการสลายกลูโคสสิ้นสุดลง แค่ขั้นไกลโคลิซีส) 2.        ถ้าเป็นในพืชและยีสต์ผลสุดท้ายจะได้ เอทิลแอลกอฮอล์ +  CO2 +  2 ATP  สำหรับในสัตว์ผลสุดท้ายได้  กรดแลกติก (Lactic  acid) 3.        ถ้าเป็นในพืชและยีสต์เกิด CO2 ขึ้นแต่ถ้าเป็นสัตว์ไม่เกิด CO2  ขึ้น 4.        ไม่เกิด H2 O 5.        ได้พลังงานน้อยกว่าการหายใจแบบใช้แก๊สออกซิเจน 18 – 19 เท่า 6.        เกิดในไซโทพลาสซึมเท่านั้น

                การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจนทั้ง  2 แบบดังกล่าวเป็นการสลายสารอาหารที่ไม่สมบูรณ์ เพราะเอทิลแอลกอฮอล์และกรดแลกติกที่เป็นผลิตภัณฑ์ของกระบวนการสลายสารอาหารแฝงอยู่จำนวนมาก

เราสามารถนำความรู้เรื่องกระบวน การหมักไปใช้ทำประโยชน์อะไรบ้าง ใช้ทำอาหาร เช่น เต้าเจี้ยว เต้าหู้ยี้ นมเปรี้ยว โยเกิร์ต ผักดอง  ผลไม้ดอง  เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ น้ำสมสายชู ขนมปัง ฯ

Good bye zzzzzzz