คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
ให้นักเรียนคลิกเลือกคำตอบที่คิดว่าถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
Photochemistry.
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
โมเมนตัมและการชน.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
Electromagnetic Wave (EMW)
ระบบการสื่อสารข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
Ultrasonic sensor.
( wavelength division mux)
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
Clouds & Radiation.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ข้อดี ข้อเสีย สายโคแอกเชียล มีความคงทนสามารถเดินสายใต้ดินได้
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
การตรวจสอบโฆษณาทางคลื่นวิทยุ
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
การแปรผกผัน ( Inverse variation )
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
ระบบโทรคมนาคม.
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
ลักษณะการมองเห็นภาพ ตา
แนวคิดการส่งสัญญาณ(R-Y) และ (B-Y) ออกอากาศ
หน่วยที่ 9 Am Modulation.
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เตาไมโครเวฟ.
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
กล้องโทรทรรศน์.
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
863封面 ทองคำ เขียว.
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
สร้อยข้อมือพลังงาน พลังงาน กำไลเป็นเทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อทำงานร่วมกับร่างกายของคุณ ก่อตั้งขึ้นโดยนักกีฬา, สร้อยข้อมือพลังงานเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักกีฬายอดเยี่ยม.
การหักเหของแสง (Refraction)
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
วิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย ช่วงปี History in of Television in Thailand.
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 1. (O-NET’49)คลื่นวิทยุที่ส่งออกจากสถานีวิทยุสองแห่ง มีความถี่ 90 เมกะเฮิรตซ์ และ 100 เมกะเฮิรตซ์ ความยาวคลื่นของคลื่นวิทยุทั้งสองนี้ต่างกันเท่าใด          1.3.33 m       2. 3.00 m       3. 0.33 m       4. 0.16 m

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 2. (O-NET’49)ข้อใดเป็นการเรียงลำดับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากความยาวคลื่นน้อยไปมากที่ถูกต้อง         1. รังสีเอกซ์ อินฟราเรด ไมโครเวฟ       2. อินฟราเรด ไมโครเวฟ รังสีเอกซ์        3. รังสีเอกซ์ ไมโครเวฟ อินฟราเรด       4. ไมโครเวฟ อินฟราเรด รังสีเอกซ์

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 3. (O-NET’49)การฝากสัญญาณเสียงไปกับคลื่นในระบบวิทยุแบบ เอ เอ็ม คลื่นวิทยุที่ได้จะมีลักษณะอย่างไร      1. คลื่นวิทยุจะเปลี่ยนแปลงแอมพลิจูดตามแอมพลิจูดของคลื่นเสียง       2. คลื่นวิทยุจะเปลี่ยนแปลงแอมพลิจูดตามความถี่ของคลื่นเสียง       3. คลื่นวิทยุจะเปลี่ยนแปลงความถี่ตามแอมพลิจูดของคลื่นเสียง       4. คลื่นวิทยุจะเปลี่ยนแปลงความถี่ตามความถี่ของคลื่นเสียง

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 4. (O-NET'50)อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา รังสีแกมมา เมื่อเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก ข้อใดไม่เกิดการเบน           1. อนุภาคแอลฟา       2. อนุภาคบีตา       3. รังสีแกมมา       4. อนุภาคแอลฟาและบีตา

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 5. (O-NET'50)อนุภาคโปรตอนเคลื่อนที่เข้าไปในทิศขนานกับสนามแม่เหล็กซึ่งมีทิศพุ่งเข้ากระดาษ แนวการเคลื่อนที่ของอนุภาคโปรตอนจะเป็นอย่างไร           1. วิ่งต่อไปเป็นเส้นตรงด้วยความเร็วคงตัว       2. เบนไปทางขวา       3. เบนไปทางซ้าย       4. วิ่งต่อไปเป็นเส้นตรงและถอยหลังกลับในที่สุด

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 6. (O-NET'50)คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่นิยมใช้ในรีโมทควบคุมการทำงานของเครื่องโทรทัศน์คือข้อใด           1. อินฟราเรด       2. ไมโครเวฟ       3. คลื่นวิทยุ       4. อัลตราไวโอเลต

2. คลื่นอินฟราเรด 3. คลื่นไมโครเวฟ 4. คลื่นแสงที่ตามองเห็น 7.(O-Net51) คลื่นในข้อใดต่อไปนี้ที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุด 1. คลื่นวิทยุ 2. คลื่นอินฟราเรด 3. คลื่นไมโครเวฟ 4. คลื่นแสงที่ตามองเห็น

8. .(O-Net52)

9. .(O-Net52)

สวัสดี