สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

เลขยกกำลัง.
การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
การอ่านและการเขียนทศนิยมไม่เกินสองตำแหน่ง
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน มัธยมศึกษาปีที่ 1
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ที่เป็นผลต่างของกำลังสอง
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
อสมการ.
ระบบตัวเลขฐานสิบสอง สัญลักษณ์หรือเลขโดดที่ใช้ในระบบตัวเลขฐานสิบสอง
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
แฟกทอเรียล (Factortial)
กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
การดำเนินการบนเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ระบบเลขฐานต่าง ๆ By ครูนภาพร.
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่อง เลขยกกำลัง อัตรส่วนและร้อยละ
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการ แสดงจำนวนและการใช้จำนวน ในชีวิตจริง

ตัวชี้วัดชั้นปี ม.1/2 เข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม และเขียนแสดงจำนวนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ (scientific notation)

จุดประสงค์การเรียนรู้ บอกฐานและเลขชี้กำลังของเลขยกกำลังได้

ความหมายของเลขยกกำลัง บทนิยาม ถ้า a แทนจำนวนใด ๆ และ n แทนจำนวนเต็มบวก “a ยกกำลัง n”หรือ “a กำลัง n” เขียนแทนด้วย an มีความหมายดังนี้ an = a×a×a×…×a n ตัว เรียก an ว่า เลขยกกำลัง ที่มี a เป็น ฐาน และ n เป็น เลขชี้กำลัง

มาพิจารณาตัวอย่างกัน 54 อ่านว่า “ห้ายกกำลังสี่ หรือ ห้ากำลังสี่ หรือ กำลังสี่ของห้า 54 แทน 5 × 5 × 5 × 5 54 มี 5 เป็นฐาน และมี 4 เป็นเลขชี้กำลัง

ฐาน คือ 2 เลขชี้กำลัง คือ 4 (-5)3 = (-5) (-5) (-5) ฐาน เลขชี้กำลัง 24 = 2 × 2 × 2 × 2 ฐาน คือ 2 เลขชี้กำลัง คือ 4 (-5)3 = (-5) (-5) (-5) ฐาน เลขชี้กำลัง

จำนวนตรงข้าม ของเจ็ดกำลังสอง ฐาน เลขชี้กำลัง (-7)2 = (-7) (-7) -72 = - (7 × 7) จำนวนตรงข้าม ของเจ็ดกำลังสอง

ลบเจ็ดทั้งหมดกำลังสอง (-7)2 = (-7) (-7) -72 = - (7 × 7) ลบเจ็ดกำลังสอง

(-7)2 = (-7) (-7) = 49 -72 = - (7 × 7) = -49

= = =

เศษสามส่วนสี่ทั้งหมดกำลังสอง เศษสามกำลังสองส่วนสี่ เศษสามส่วนสี่กำลังสอง

0.23 = (0.2) (0.2) (0.2) (-1.5)2 = (-1.5) (-1.5) - 1.52 = - (1.5 × 1.5)

มาดูตัวอย่าง 23 หมายถึง สองคูณกันสามตัว วิธีทำ 2 × 2 × 2 = 8 คำสั่ง เลขยกกำลังที่กำหนดให้แทนจำนวนใด 23 หมายถึง สองคูณกันสามตัว วิธีทำ 2 × 2 × 2 = 8 (2) (-3)4 หมายถึง สามคูณกันสี่ตัว วิธีทำ (-3) × (-3) × (-3) × (-3) = 81

(-5)2 หมายถึง ลบห้าคูณกันสองตัวและเลขชี้กำลัง เป็นจำนวนคู่ ผลลัพธ์เป็นบวก วิธีทำ (-5) × (-5) = 25 (-5)3 หมายถึง ลบห้าคูณกันสามตัวและเลขชี้กำลัง เป็นจำนวนคี่ ผลลัพธ์เป็นลบ วิธีทำ (-5) × (-5) × (-5) = -125

การเขียนจำนวนที่กำหนดให้ในรู้เลขยกกำลังได้ คำสั่ง จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกำลัง

วิธีทำ 64 = 8 × 8 = 82 64 = (-8) × (-8) = (-8)2 = (± 8)2 - 64 = -(8×8) 1) 64 วิธีทำ 64 = 8 × 8 = 82 64 = (-8) × (-8) = (-8)2 = (± 8)2 - 64 = -(8×8) = -82

2) 81 วิธีทำ 81 = 9 × 9 = 3×3×3×3 = (-3)(-3)(-3)(-3) ดังนั้น 81 = (± 3)4

3) 169 วิธีทำ 169 = 13 × 13 = (-13)(-13) ดังนั้น 169 = 132 หรือ (- 13)2 -169 = -(13 × 13) ดังนั้น -169 = - (13)2

4) 729 729 3 × 243 3 × 81 3 × 3 × 3 × 3 ดังนั้น 729 = 3 ×3 ×3 ×3 ×3 ×3 = (-3)(-3)(-3)(-3)(-3)(-3) = (±3)6

5) -128 -128 = -(2×2×2×2×2×2×2) = -27 = (-2) (-2) (-2) (-2) (-2) (-2) (-2) = (-2)7

6) 0.027 0.027 = 0.3×0.3×0.3 = 0.33

7) = = = 400

8) 5x = 625 วิธีทำ 5x = 625 = 25 ×25 = 5 × 5 × 5 × 5 5x = 54 X = 4