โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เด็กฉลาด สร้างได้ด้วย ไอโอดีน.
Advertisements

น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
การดูแลระยะตั้งครรภ์
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
บทที่ 2.
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
15 มาตรการรักษาสุขภาพ มีข้อแนะนำดีๆในเรื่องการรักษาสุขภาพ รับอากาศที่กำลังแปรปรวนกันสุดๆ ใครภูมิคุ้มกันไม่ดีอาจจะจอดได้ นี่คือ 15 มาตรการที่น่าสนใจ.
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
การรับมือกับความเปลื่ยนแปลงด้านสุขภาพกายและจิตในวัยสูงอายุ
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
Thyroid.
โรคเอสแอลอี.
การออกกำลังกายในคนอ้วน
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและสมรรถภาพ
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
ชุดเครื่องมือเดินเพื่อสุขภาพ
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
ดื่มน้ำเมื่อท้องว่าง ดีอย่างไร?
ต่อการส่งเสริมสุขภาพตา
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
Dip.Thai Broad Preventive Medicine
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด นางสาวนิตติยา บุตรวงษ์
โรคเบาหวาน ภ.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
คอลลาทิน แม๊กซ์ลิม ผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบสำหรับผู้ที่ ต้องการลดน้ำหนักอย่าง รวดเร็ว โดยเน้นในเรื่องการเร่งการ เผาผลาญไขมันสะสมให้ ลดลงอย่างรวดเร็วในเวลากลางวัน.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
โรคเบาหวาน Diabetes.
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา

เบาหวาน... คืออะไร  เป็นกลุ่มอาการที่ ประกอบด้วยภาวะน้ำตาลใน เลือดสูง อันเป็นผลมาจาก ความผิดปกติของการหลั่ง อินซูลิน ส่งผลให้เกิด ภาวะแทรกซ้อนในระยะยาวต่อ อวัยวะต่างๆ เช่น ตา, ไต, ระบบ ประสาท, หัวใจ และหลอด เลือดต่างๆ

เบาหวาน... คือ อะไร ( ต่อ )  ความผิดปกติในการออก ฤทธิ์ของฮอร์โมน อินซูลิน ต่ออวัยวะต่างๆ ยังทำ ให้เกิดความผิดปกติของระบบ เผาผลาญไขมัน โปรตีนด้วย นอกเหนือ จากความผิดปกติด้านการเผา ผลาญคาร์โบไฮเดรต  ความผิดปกติในการออก ฤทธิ์ของฮอร์โมน อินซูลิน ต่ออวัยวะต่างๆ ยังทำ ให้เกิดความผิดปกติของระบบ เผาผลาญไขมัน โปรตีนด้วย นอกเหนือ จากความผิดปกติด้านการเผา ผลาญคาร์โบไฮเดรต

กลุ่มอาการที่ทำให้ สงสัยว่า... เป็นเบาหวาน หรือไม่ ? กลุ่มอาการที่ทำให้ สงสัยว่า... เป็นเบาหวาน หรือไม่ ?  ปัสสาวะบ่อย  คอแห้งดื่มน้ำมาก  น้ำหนักตัวลด  รับประทานอาหารมากขึ้น  สายตามัว  การเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ ในเด็ก  ติดเชื้อโรคต่างๆได้ง่าย  ปัสสาวะบ่อย  คอแห้งดื่มน้ำมาก  น้ำหนักตัวลด  รับประทานอาหารมากขึ้น  สายตามัว  การเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ ในเด็ก  ติดเชื้อโรคต่างๆได้ง่าย

การวินิจฉัยโรค เบาหวาน 1. น้ำตาลในเลือด มากกว่า หรือเท่ากับ 126 mg% 1. น้ำตาลในเลือด มากกว่า หรือเท่ากับ 126 mg% ภายหลังงดอาหาร อย่างน้อย 8 ชั่วโมง 2. มีอาการของโรคเบาหวาน ข้างต้น ร่วมกับตรวจน้ำตาล ณ. จุดใดก็ได้ โดยไม่ต้องอดอาหาร ได้ผลระดับน้ำตาล มากกว่าหรือ เท่ากับ 200 mg% 2. มีอาการของโรคเบาหวาน ข้างต้น ร่วมกับตรวจน้ำตาล ณ. จุดใดก็ได้ โดยไม่ต้องอดอาหาร ได้ผลระดับน้ำตาล มากกว่าหรือ เท่ากับ 200 mg% 3. การทดสอบโดยการดื่ม กลูโคส 75 กรัมภายหลังอดอาหาร อย่างน้อย 8 ชั่วโมง 3. การทดสอบโดยการดื่ม กลูโคส 75 กรัมภายหลังอดอาหาร อย่างน้อย 8 ชั่วโมง 1. น้ำตาลในเลือด มากกว่า หรือเท่ากับ 126 mg% 1. น้ำตาลในเลือด มากกว่า หรือเท่ากับ 126 mg% ภายหลังงดอาหาร อย่างน้อย 8 ชั่วโมง 2. มีอาการของโรคเบาหวาน ข้างต้น ร่วมกับตรวจน้ำตาล ณ. จุดใดก็ได้ โดยไม่ต้องอดอาหาร ได้ผลระดับน้ำตาล มากกว่าหรือ เท่ากับ 200 mg% 2. มีอาการของโรคเบาหวาน ข้างต้น ร่วมกับตรวจน้ำตาล ณ. จุดใดก็ได้ โดยไม่ต้องอดอาหาร ได้ผลระดับน้ำตาล มากกว่าหรือ เท่ากับ 200 mg% 3. การทดสอบโดยการดื่ม กลูโคส 75 กรัมภายหลังอดอาหาร อย่างน้อย 8 ชั่วโมง 3. การทดสอบโดยการดื่ม กลูโคส 75 กรัมภายหลังอดอาหาร อย่างน้อย 8 ชั่วโมง

ชนิดของ เบาหวาน 1. เบาหวานชนิดที่ต้องการ อินซูลิน หรือเบาหวาน 1. เบาหวานชนิดที่ต้องการ อินซูลิน หรือเบาหวาน ชนิดที่ 1 พบ % 2. เบาหวานชนิดที่ 2 พบใน ผู้ใหญ่ ในสัดส่วน ประมาณ 95 % ของเบาหวานทั้งหมด 2. เบาหวานชนิดที่ 2 พบใน ผู้ใหญ่ ในสัดส่วน ประมาณ 95 % ของเบาหวานทั้งหมด 3. เบาหวานที่เกิดร่วมกับโรค อื่นๆ / ยา / การติดเชื้อต่างๆ 3. เบาหวานที่เกิดร่วมกับโรค อื่นๆ / ยา / การติดเชื้อต่างๆ 4. เบาหวานที่เกิดในระยะ ตั้งครรภ์ พบ 4 % 4. เบาหวานที่เกิดในระยะ ตั้งครรภ์ พบ 4 % 1. เบาหวานชนิดที่ต้องการ อินซูลิน หรือเบาหวาน 1. เบาหวานชนิดที่ต้องการ อินซูลิน หรือเบาหวาน ชนิดที่ 1 พบ % 2. เบาหวานชนิดที่ 2 พบใน ผู้ใหญ่ ในสัดส่วน ประมาณ 95 % ของเบาหวานทั้งหมด 2. เบาหวานชนิดที่ 2 พบใน ผู้ใหญ่ ในสัดส่วน ประมาณ 95 % ของเบาหวานทั้งหมด 3. เบาหวานที่เกิดร่วมกับโรค อื่นๆ / ยา / การติดเชื้อต่างๆ 3. เบาหวานที่เกิดร่วมกับโรค อื่นๆ / ยา / การติดเชื้อต่างๆ 4. เบาหวานที่เกิดในระยะ ตั้งครรภ์ พบ 4 % 4. เบาหวานที่เกิดในระยะ ตั้งครรภ์ พบ 4 %

ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด เบาหวานในผู้ใหญ่  อายุ มากกว่าหรือเท่ากับ 45 ปี  น้ำหนักตัวเกินมาตรฐานดัชนีมวลกาย มากกว่าหรือเท่ากับ 25  มีประวัติคนในครอบครัวเป็น  เคลื่อนไหวร่างกายน้อย หรือไม่ออก กำลังกาย  น้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติมาก่อนแต่ ยังไม่ถึงขั้นเป็นเบาหวาน  เคยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์  ความดันโลหิตสูง ( มากกว่าหรือเท่ากับ 140 / 90 mmhg )  ไขมันในเลือดผิดปกติ  อายุ มากกว่าหรือเท่ากับ 45 ปี  น้ำหนักตัวเกินมาตรฐานดัชนีมวลกาย มากกว่าหรือเท่ากับ 25  มีประวัติคนในครอบครัวเป็น  เคลื่อนไหวร่างกายน้อย หรือไม่ออก กำลังกาย  น้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติมาก่อนแต่ ยังไม่ถึงขั้นเป็นเบาหวาน  เคยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์  ความดันโลหิตสูง ( มากกว่าหรือเท่ากับ 140 / 90 mmhg )  ไขมันในเลือดผิดปกติ

ความดัน โลหิตสูง  ภาวะที่ความดันโลหิต สูง มากกว่า หรือเท่ากับ 140/90 mmhg  พบได้บ่อยร่วมกับ โรคเบาหวาน  ปัจจัยการเกิด : ความอ้วน, อายุ, ความยืดหยุ่นของหลอด เลือดลดลง, อินซูลิน, ระบบ ฮอร์โมนที่ควบคุมการทำงานของ หลอดเลือด, ปริมาณสารน้ำและ เกลือในร่างกาย  ภาวะที่ความดันโลหิต สูง มากกว่า หรือเท่ากับ 140/90 mmhg  พบได้บ่อยร่วมกับ โรคเบาหวาน  ปัจจัยการเกิด : ความอ้วน, อายุ, ความยืดหยุ่นของหลอด เลือดลดลง, อินซูลิน, ระบบ ฮอร์โมนที่ควบคุมการทำงานของ หลอดเลือด, ปริมาณสารน้ำและ เกลือในร่างกาย

เป้าหมายการควบคุม เบาหวาน และความดันโลหิตสูง... เป้าหมายการควบคุม เบาหวาน และความดันโลหิตสูง...  น้ำตาลสะสม น้อยกว่าหรือเท่ากับ 7 %  น้ำตาลก่อนอาหาร mg %  น้ำตาล 2 ชั่วโมงหลังอาหาร น้อยกว่า 180 mg %  ความดันโลหิต น้อยกว่าหรือเท่ากับ 130 / 80 mmhg  ระดับไขมันในเลือด LDL น้อยกว่า 100 mg % HDL มากกว่า 40 mg % HDL มากกว่า 40 mg % TG น้อยกว่า 100 mg % TG น้อยกว่า 100 mg %  น้ำตาลสะสม น้อยกว่าหรือเท่ากับ 7 %  น้ำตาลก่อนอาหาร mg %  น้ำตาล 2 ชั่วโมงหลังอาหาร น้อยกว่า 180 mg %  ความดันโลหิต น้อยกว่าหรือเท่ากับ 130 / 80 mmhg  ระดับไขมันในเลือด LDL น้อยกว่า 100 mg % HDL มากกว่า 40 mg % HDL มากกว่า 40 mg % TG น้อยกว่า 100 mg % TG น้อยกว่า 100 mg %

น้ำตาลสะสม / ค่าเฉลี่ย เบาหวานคืออะไร ?  เป็นการวัดระดับการควบคุม น้ำตาล ในช่วงระยะเวลา เดือนก่อนมาตรวจ ( HbA1C ) A1C ( % ) ค่าเฉลี่ยน้ำตาล A1C ( % ) ค่าเฉลี่ยน้ำตาล  เป็นการวัดระดับการควบคุม น้ำตาล ในช่วงระยะเวลา เดือนก่อนมาตรวจ ( HbA1C ) A1C ( % ) ค่าเฉลี่ยน้ำตาล A1C ( % ) ค่าเฉลี่ยน้ำตาล

การรักษาเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง  การควบคุมอาหาร - สัดส่วนคาร์โบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน 50 : 20 : 30 - จำกัดปริมาณของไขมันอิ่มตัว - เพิ่มปริมาณของใยอาหาร, ธัญพืช - การใช้น้ำตาลเทียม - จำกัดปริมาณเกลือที่รับประทาน 3 กรัมต่อวัน  การควบคุมอาหาร - สัดส่วนคาร์โบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน 50 : 20 : 30 - จำกัดปริมาณของไขมันอิ่มตัว - เพิ่มปริมาณของใยอาหาร, ธัญพืช - การใช้น้ำตาลเทียม - จำกัดปริมาณเกลือที่รับประทาน 3 กรัมต่อวัน

อาหาร แบบปิรามิด อาหาร แบบปิรามิด แสดงถึงสัดส่วนอาหารที่สร้างสมดุล และเป็นผลดีต่อสุขภาพ

การรักษาเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง ( ต่อ )   การออกกำลังกาย - ครั้งละ นาที ต่อวันอย่าง น้อย / ครั้ง - ครั้งละ นาที ต่อวันอย่าง น้อย / ครั้ง ต่อสัปดาห์ ( โดยรวมประมาณ 150 นาทีต่อสัปดาห์ )  การงดสูบบุหรี่  งดการดื่มสุราในปริมาณที่มาก เกินไป  การลดน้ำหนัก ลดโอกาสเกิด ความดันสูงได้ 5-6 เท่า  การรักษาทางยา   การออกกำลังกาย - ครั้งละ นาที ต่อวันอย่าง น้อย / ครั้ง - ครั้งละ นาที ต่อวันอย่าง น้อย / ครั้ง ต่อสัปดาห์ ( โดยรวมประมาณ 150 นาทีต่อสัปดาห์ )  การงดสูบบุหรี่  งดการดื่มสุราในปริมาณที่มาก เกินไป  การลดน้ำหนัก ลดโอกาสเกิด ความดันสูงได้ 5-6 เท่า  การรักษาทางยา

ความดันโลหิตสูงมี ความสัมพันธ์ต่อการเกิด ภาวะแทรกซ้อนของ เบาหวาน...  ทุกๆ 10 mmhg ของความดัน โลหิตที่ลดลง ลด ภาวะแทรกซ้อนของเบาหวานทุก อย่างได้ 12 %  ลดอัตราการตายที่สัมพันธ์กับ เบาหวานได้ 15 %  ลดการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย ได้ 11 %  ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน ทางตา, ไต และปลาย ประสาทได้ 13 %  ทุกๆ 10 mmhg ของความดัน โลหิตที่ลดลง ลด ภาวะแทรกซ้อนของเบาหวานทุก อย่างได้ 12 %  ลดอัตราการตายที่สัมพันธ์กับ เบาหวานได้ 15 %  ลดการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย ได้ 11 %  ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน ทางตา, ไต และปลาย ประสาทได้ 13 %

 ความสำคัญของการได้ แอสไพริน และยาต้านการจับ กลุ่มของเกล็ดเลือด ผู้ป่วยเบาหวานทุกราย ที่มีอายุมากกว่า 20 ปีขึ้น ไป ควรจะได้รับยาใน กลุ่มนี้ ผู้ป่วยเบาหวานทุกราย ที่มีอายุมากกว่า 20 ปีขึ้น ไป ควรจะได้รับยาใน กลุ่มนี้

การฉีดวัคซีนป้องกัน ไข้หวัดใหญ่และปอด อักเสบ ลดอัตราการ นอน ร. พได้... การฉีดวัคซีนป้องกัน ไข้หวัดใหญ่และปอด อักเสบ ลดอัตราการ นอน ร. พได้ % 79 %