Http://ags.kku.ac.th/abag/wuttigrai/.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
กลไกการวิวัฒนาการ.
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Physiology of Crop Production
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
นายเกียงไกร แปลงไทยสง
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
(quantitative genetics)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
Forecasting II Continue อาจารย์กวินธร สัยเจริญ.
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
การวิเคราะห์ Competency
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
Artificial Intelligence (AI)
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
ข้อคิดการใช้ชีวิต บรู๊ซลี.
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ Tandem Method
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
หลักการแก้ปัญหา
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและแนวโน้มทางพันธุกรรมของสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ) วุฒิไกร บุญคุ้ม, มนต์ชัย ดวงจินดา,
การประมาณกราฟการให้นมเนื่องจากอิทธิพลทางพันธุกรรม
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
ต้นทุนการผลิต.
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
Data Collecting for Genetic Improvement in Pig and Chicken
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
การเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ส่วน หนึ่งมาจากนักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ที่ แตกต่างกัน มีความสนใจและความสามารถ ในการรับรู้ แตกต่างกัน นักเรียนบางส่วน ขาดความตระหนักไม่เห็นความสำคัญของ.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ข้อคิดการใช้ชีวิต บรู๊ซลี.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
การคัดเลือกและ การประมาณพันธุศาสตร์ปริมาณ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

http://ags.kku.ac.th/abag/wuttigrai/

หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection ผู้ชายคนไหนที่คุณอยากได้เป็นแฟน ? ผู้ชายคนไหนที่คุณชอบ ?

การคัดเลือก คือ การที่สัตว์บางตัวมีโอกาสมีชีวิตรอดเพื่อสืบพันธุ์และถ่ายทอดพันธุกรรมไปยังรุ่นต่อๆไป ในขณะที่สัตว์บางตัวจะถูกคัดทิ้ง (culling)

การคัดเลือกแบ่งเป็น 2 รูปแบบ ปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติ ปรับตัวเข้ากับธรรมชาติไม่ได้ ก็ไม่สามารถมีชีวิตรอดได้ 1) Natural Selection Charles Robert Darwin

ตัวอย่างสัตว์ที่ปรับตัวในสภาพธรรมชาติได้ยาก

Natural selection ยังรวมถึงทฤษฏี used and disused Use and disuse Jean-Baptiste Lamarck

2. Artificial selection

หลักพื้นฐานของการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Selection Natural selection Artificial selection (เรียนในวิชานี้) Et + Ep P = G + E A + D + I EBV (estimated breeding value) Selection response

แผนการคัดเลือกสามารถแบ่งได้เป็น 3 วิธี 1. Tandem method (การคัดเลือกทีละลักษณะ) Egg production, AFE, ADG, FCR ADG, FCR NBA, LSY, %PWM Milk yield, Conception rate, Type trait

แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ Tandem Method เป็นวิธีการคัดเลือกที่ต้องการปรับปรุงฝูงสัตว์โดยเน้นครั้งละลักษณะ หลังจากทำการคัดเลือกจนได้ลักษณะตามที่ต้องการแล้วจึงเปลี่ยนไปคัดเลือก ลักษณะอื่น อาจพบปัญหาหากลักษณะที่นำมาคัดเลือกมีค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรมใน การลบ (negative genetic correlation) ส่งผลให้การคัดเลือกลักษณะต่อมาไปทำให้ลักษณะก่อนกลับแย่ลง

แผนการคัดเลือก Tandem Method เปอร์เซ็นไขมันน้ำนม ปริมาณน้ำนม (ระหว่างลักษณะมีความสัมพันธ์ในเชิงลบ)

ผมเองครับที่จะถูกคัดเลือก… แผนการคัดเลือก 2) Independent Culling Level Pig ADG (<4.0) BF (<1.2) NBA (>9.5) 001 3.5 1.0 8 002 3.6 1.3 12 003 3.9 1.2 10 Note: ADG = Average Daily Gain BF = Back Fat NBA = Number Born Alive ผมเองครับที่จะถูกคัดเลือก…

แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ 2) Independent Culling Level  เป็นวิธีการคัดเลือกที่ต้องการปรับปรุงฝูงสัตว์โดยเน้นพร้อมกันหลายลักษณะ  ต้องกำหนดเกณฑ์หรือสัดส่วนที่จะทำการคัดเลือกของแต่ละลักษณะก่อน ล่วงหน้า  ได้เปรียบกว่าวิธี Tandem เนื่องจากแต่ละลักษณะไม่มีความสัมพันธ์กัน  ฝูงสัตว์จะถูกปรับปรุงพันธุ์ถึงมาตรฐานที่กำหนดได้เร็วกว่าปรับปรุงทีละ ลักษณะช่วยให้สามารถคัดเลือกได้อย่างสอดคล้องไปกับสภาพของฝูงสัตว์ (biological stage) เช่น เริ่มคัดสัตว์จากลักษณะ BW  WW  reproductive traits selection

แผนการคัดเลือก 3) Selection Index Pig ADG (<4.0) BF (<1.2) NBA (>9.5) “Score”(5) 001 3.5 1.0 8 4.16 002 3.6 1.3 12 5.63 003 3.9 1.2 10 5.03 Note: ADG = Average Daily Gain BF = Back Fat NBA = Number Born Alive

แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ 3) Selection index เป็นวิธีการคัดเลือกที่ต้องการปรับปรุงฝูงสัตว์โดยเน้นพร้อมกันหลายลักษณะ เรียกว่าเป็นสมการ Multiple regression สร้างเป็นสมการที่ประกอบด้วยข้อมูลของลักษณะต่างๆ (Yi) ที่ต้องการ คัดเลือกจากนั้นจึงนำสัตว์มาเรียงลำดับเพื่อตัดสินใจอีกทีหนึ่ง

ดัชนีการคัดเลือก รูปแบบสมการในปัจจุบัน = ค่าทางเศรษฐกิจ economic value = ค่าการผสมพันธุ์

ข้อดีของดัชนีการคัดเลือก มีความแม่นยำของการประเมินสูงสุด เนื่องจากมีการคิดค่าความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีที่ประเมินกับพันธุกรรมหรืออิทธิพลของยีนแบบบวกสะสม Error ต่ำสุด เนื่องจากค่าสัมประสิทธิ์ที่ใช้ ประเมินโดยวิธีความ คลาดเคลื่อนกำลังสองน้อยที่สุด (least square analysis)

ข้อจำกัดของดัชนีการคัดเลือก ต้องอาศัยข้อมูลครบทุกลักษณะเสียก่อนจึงจะประเมินค่าดัชนีของสัตว์นั้นๆได้ ไม่สามารถเปรียบเทียบพันธุกรรมของสัตว์ข้ามฝูงหรือข้ามกลุ่มการจัดการได้ ไม่มีการปรับปัจจัยอื่นๆที่อาจมีผลต่อความผันแปรของลักษณะ เช่น อายุแม่ ระยะการให้นม เพศ เป็นต้น

ยกตัวอย่างการคัดเลือกโดยใช้ดัชนีการคัดเลือก ID EBV(BF) EBV(Days to estrus) EBV(ADG) 1 -0.03 2.88 1.01 2 -0.02 -3.62 0.65 3 -0.01 3.55 0.40 กำหนดให้ค่าทางเศรษฐกิจ (v) ดังนี้ BF = -20, Days = -5, ADG = 10 วิธีการคำนวณ I = v1EBV1+ v2EBV2+ v3EBV3 ลองคำนวณดูซิว่าสัตว์ตัวไหนที่น่าจะถูกคัดเก็บไว้จ๊ะ….

ยกตัวอย่างการคัดเลือกโดยใช้ดัชนีการคัดเลือก สัตว์เบอร์ 1 สัตว์เบอร์ 2 ผมเองครับ สัตว์เบอร์ 3