การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจการกฎหมายเกี่ยว กับการรักษาคุณภาพสิ่ง แวดล้อม 2.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์
ภัยธรรมชาติและการระวังภัย
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
โครเมี่ยม (Cr).
รายงานความก้าวหน้า การสนองพระราชดำริด้านงานวิจัย จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมีนาคม.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
สรุป การเมืองการปกครองท้องถิ่น ไทย POL 341 ผศ. ดร. ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร คณะรัฐศาสตร์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
เสนอโดย สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเชียงใหม่ การประชุมคณะกรรมการผังเมือง เรื่อง การขอแก้ไขกฎกระทรวงให้ใช้บังคับ ผังเมืองรวมเมืองเชียงใหม่ พ. ศ.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
หมอกควันในภาคเหนือของประเทศไทย
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 7 พฤษภาคม 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
สถานการณ์คุณภาพอากาศและเสียง
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 1 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มลภาวะของอากาศ(Air pollution)
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 21 เมษายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
ความดัน (Pressure).
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 3 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การสร้างพันธมิตรการเกษตรเพื่อลดต้นทุนการผลิต และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
หลักการทรงงาน รัชกาลที่ 9.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF

ที่มาและความสำคัญ ปัญหามลภาวะทางอากาศมีความรุนแรงขึ้นเนื่องมาจากการขยายตัวของเขตเมืองโดยเฉพาะเขตเมืองที่มีขนาดใหญ่ มีปัญหาเรื่องควันพิษฝุ่นละอองต่างๆส่งผลกระทบทางด้านสุขภาพ วิสัยทัศน์อากาศตามาฤดูกาล และคุณภาพชีวิตของประชาชนดังนั้นต้องมีการจัดการอย่างถูกต้องเพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต่อประชาชนในพื้นที่และสิ่งแวดล้อม จังหวัดเชียงใหม่เป็นจังหวัดหนึ่งที่กำลังเกิดปัญหามลภาวะทางอากาศมีที่มาจากหลายแหล่งที่สำคัญคือ ไฟป่า การเผาในที่โล่ง และมลพิษจากการใช้ยวดยานพาหนะจังหวัดเชียงใหม่มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบในแอ่งกระทะ ในขณะที่สภาพความกดอากาศ อุณหภูมิ และความชื้นในอากาศก่อให้เกิดหมอกในตอนเช้า เมื่อหยดน้ำในอากาศรวมตัวกับฝุ่นละอองและสารพิษในอากาศทำให้เกิดสภาพฟ้าหลัวเนื่องจากสารพิษไม่สามารถลอยขึ้นสู่บรรยากาศได้ หมอควันในจังหวัดเชียงใหม่ มักเกิดขึ้นในช่วงฤดูหนาวก่อนเข้าสู่ฤดูร้อน ซึ่งเป็นช่วงที่สภาพอากาศนิ่ง เนื่องจากความกดอากาศสูงทำให้หมอกควันไม่ถูกพัดพาสู้บรรยากาศระดับสูงได้ แต่จะวนเวียนในระดับที่ประชาชนอยู่อาศัย

ที่มาและความสำคัญ (ต่อ) ทำให้ได้รับผลกระทบทางสุขภาพที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับสุขภาพมิได้เป็นเพียงการระคายเคืองต่อสายตาเท่านั้น แต่จะเป็นเรื่องโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจที่มักจะนำไปสู่การเป็นมะเร็งปอดซึ่งภาคเหนือเป็นภูมิภาคที่มีสถิติผู้เป็นโรคนี้จนถึงขั้นเสียชีวิตมากที่สุด จากเหตุการณ์ดังกล่าวตัวแปรที่สำคัญที่ทำให้เกิดมลภาวะทางอากาศคือ สภาพอากาศ ดังนั้นหากต้องการทราบลักษณะการกระจายของฝุ่นละอองขนาดเล็กในอากาศ จำเป็นต้องศึกษาสภาพอากาศบริเวณนั้นสำรับงานวิจัยครั้งนี้ได้ใช้แบบจำลอง Weather Research and Forecasting (WRF) เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กในอากาศ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวดเชียงใหม่

วิธีการดำเนินงานวิจัย เครื่องมือและข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา -แบบจำลอง WRF -GrADS (Grid Analysis and Displaying System) -ข้อมูลสภาพอากาศจากเว็บไซต์ของกรมควบคุมมลพิษ ขั้นตอนการดำเนินงาน รวบรวมข้อมูล ความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กจากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่เขตอำเภอเมืองเชียงใหม่ ในช่วงวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2556 ถึงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2556 (ช่วงที่เกิดมลภาวะทางอากาศ) เพื่อศึกษาความเข้มข้นในแต่ละวัน -จำลองสภาพอากาศและแสดงผลที่ได้จากการจำลองในเดือนมีนาคม พ.ศ.2556 -วิเคราะห์สภาพอากาศที่เกิดมลภาวะอากาศในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ -วิเคราะห์ลักษณะอากาศ เช่น อุณหภูมิ ความดัน ความเร็วลม ความชื้น -สรุปผลการวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้อต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กในอากาศ

แผนภาพ Skew-t จากแบบจำลอง WRF แผนภาพ Skew-t จากแบบจำลอง WRF วันที่ 19 มีนาคม 2556 เวลา 00.00 UTC

ความเร็วลมในแนวดิ่ง (Vertical velocity) ความเร็วลมในแนวดิ่ง วันที่ 19 มีนาคม 2556 เวลา 00.00UTC

สรุปผลการวิจัย จากการวิเคราะห์แผนภาพ skew-t และความเร็วลมในแนวดิ่งของอากาศในช่วงเดือนมีนาคม 2556 โดยวิเคราะห์สภาพอากาศที่เกิดขึ้นล่วงหน้า 3 วัน ก่อนที่ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM₁₀)จะเกินมาตรฐาน คือวันที่ 19-21 มีนาคม 2556 และวันที่ 22-25 มีนาคม 2556 เป็นวันที่มีปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กเกินมาตรฐาน พบว่า ช่วงก่อนที่ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กจะเกินมาตรฐานอากาศมีเสถียรภาพอากาศแบบเป็นกลางอากาศไม่มีการเคลื่อนที่ ยกเว้นเวลา 06.00-09.00 อากาศจะมีเสถียรภาพอากาศมีการเคลื่อนที่ลง และช่วงที่ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กเกินมาตรฐานอากาศจะมีเสถียรภาพและมีการเคลื่อนที่ลงเวลา 06.00-09.00 ฝุ่นละอองขนาดเล็กจะมีการลดอุณหภูมิตามความสูงน้อยกว่าอากาศแวดล้อมทำให้ไม่สามารถที่จะกระจายขึ้นสู่บรรยากาศชั้นถัดไปซึ่งเป็นภาวะอากาศที่เอื้ออำนวยให้เกิดการสะสมของฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณพื้นผิว ในเวลาตอนเช้ากับตอนกลางคืนอากาศมีเสถียรภาพแบบเป็นกลาง อากาศไม่มีการเคลื่อนที่ ยกเว้น เวลา06.00-21.00 ของวันที่ 25 อากาศจะไม่มีเสถียรภาพและจีการเคลื่อนที่ขึ้น ฝุ่นละอองจะลดอุณหภูมิตามความสูงมากกว่าอากาศแวดล้อมทำให้ฝุ่นละอองกระจายได้ดีในแนวดิ่งซึ่งไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ

บรรณานุกรม ชลารัตน์ ฟองตาม.การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.รายงานวิจัยทางฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่,2557.