วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
การระเหยกลายเป็นไอ (Evaporation) การควบแน่น (Condensation) พื้นผิวโลกถูกปกคลุมด้วยมหาสมุทรราว 70 %
Latent Heat ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ เป็นสมบัติเฉพาะตัวของสารที่บอกปริมาณ พลังงานที่ต้องใช้หรือคายออกมาในการเปลี่ยนสถานะระหว่างของเหลวกับแก๊ส เมื่อมีอุณหภูมิเท่ากับจุดเดือดของสารนั้น ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของน้ำมีค่า 2260 กิโลจูลต่อกิโลกรัม หรือ 540 แคลอรี/กรัม
“warm air has a greater capacity for water vapor than does cold air.”
ความชื้นสัมบูรณ์ =มวลของไอน้ำในอากาศ ปริมาตรของอากาศ ความชื้นสัมพัทธ์ = มวลของไอน้ำในอากาศ *100 มวลของไอน้ำในอากาศที่อิ่มตัว ความชื้นจำเพาะ = มวลของไอน้ำในอากาศ มวลของอากาศ จุดน้ำค้าง – ถ้าอากาศเย็นลงโดยความกดอากาศคงที่ จุดน้ำค้างคือจุดที่ อากาศที่อิ่มตัวเริ่มกลั่นตัวเป็นน้ำค้าง
ความชื้นสัมบูรณ์ ความชื้นจำเพาะ
ตัวอย่างการคำนวณเรื่องความชื้นสัมพัทธ์ ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ในอากาศปริมาตร 1 ลบ.ม. มีไอน้ำอยู่ 17.1 กรัม แต่อากาศอิ่มตัวที่ 25 องศาเซลเซียส จะมีไอน้ำได้ 22.8 กรัม จงหาค่า ความชื้นสัมพัทธ์ ตอบ 75 %
ไอน้ำในอากาศนั้น 15 เปอร์เซ็นต์มาจากการระเหยของน้ำบนแผ่นดินและการคาย น้ำของพืชที่อยู่บนแผ่นดิน ส่วนอีก 85 เปอร์เซ็นระเหยขึ้นไปจากมหาสมุทร รวมกันแล้วมีปริมาณ 1.5 billion billion gallons ต่อปี หยาดน้ำฟ้า (Precipitation) หมายถึง น้ำที่เกิดจากการกลั่นตัวของ ไอน้ำในอากาศ แล้วตกลงสู่พื้นโลก ในรูปฝน หิมะ ลูกเห็บ ฝนน้ำแข็ง เป็นต้น
พายุหมุนเขตร้อน (Tropical Cyclone)
แผนที่อากาศช่วงมีพายุหมุนเขตร้อน
- พายุดีเปรสชั่น ความเร็วลมไม่เกิน 25-33 นอต (46-61 กม. /ชม - พายุดีเปรสชั่น ความเร็วลมไม่เกิน 25-33 นอต (46-61 กม./ชม.) - พายุโซนร้อน ความเร็วลม 34 - 63 นอต (62 - 117 กม./ชม.) - ไต้ฝุ่น ความเร็วลม 64 นอตขึ้นไป (118 กม./ชม.ขึ้นไป) การแปลงหน่วย นอต เป็น กิโลเมตร/ชั่วโมง
พายุที่เกิดในอ่าวเบงกอลและมหาสมุทรอินเดียเรียกว่า ไซโคลน (CYCLONE) เกิดในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ทะเลแคริบเบียน อ่าวเม็กซิโก และ ทางด้านตะวันตกของเม็กซิโกเรียกว่า เฮอร์ริเคน (HURRICANE) เกิดในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือด้านตะวันตก มหาสมุทรแปซิฟิกใต้ และทะเล จีนใต้เรียกว่า ไต้ฝุ่น (TYPHOON) เกิดที่ออสเตรเลียเรียกว่า วิลลี่-วิลลี่ (Willie-Willie)
ปัจจัยที่ทำให้เกิดพายุหมุนเขตร้อน อุณหภูมิน้ำทะเลต้องมากกว่า 26.5 องศาเซลเซียส ลึกลงไปในทะเลไม่ต่ำกว่า 50 เมตร อากาศที่บริเวณนั้นมีความชื้นสูง ตั้งแต่ระดับล่างของชั้นโทรโพสเฟียร์ไปจนถึง ระดับกลางของชั้นโทรโพสเฟียร์ มีแรง Coriolis ที่เหมาะสม (ตั้งแต่ 5 องศาเหนือและใต้จากเส้นศูนย์สูตร ขึ้นไป) มีความปั่นป่วนของบรรยากาศด้านบน เป็นต้น
ภาพพายุในซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้
ตรงบริเวณศูนย์กลางพายุมีลักษณะคล้ายกับตาเป็นวงกลมมองเห็นได้จาก ภาพถ่ายดาวเทียมเรียกว่า "ตาพายุ" เส้นผ่าศูนย์กลางตาพายุเพียงแค่เป็นสิบๆ กิโลเมตรเท่านั้น (ประมาณ 15-60 กิโลเมตร) ภายในตาพายุนี้อากาศแจ่มใส มีเมฆบ้างเล็กน้อย ลมพัดอ่อน ตาพายุ
ภาพการกระจายตัวของพายุในมหาสมุทรต่างๆ Map of the cumulative tracks of all tropical cyclones during the 1985–2005 time period. ภาพการกระจายตัวของพายุในมหาสมุทรต่างๆ
ภาพพายุที่เข้าประเทศไทยในช่วงต่างๆของปี
การตั้งชื่อพายุ