Introduction to Public Administration Research Method

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโครงร่างวิจัย
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
แบบสอบถาม (Questionnaire)
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
การศึกษาชีววิทยา.
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
การบริหารโครงการ Project Management
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การขอโครงการวิจัย.
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
วิธีการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่างมี 2 วิธี
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การออกแบบและวางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
Supply Chain Management
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction to Public Administration Research Method การออกแบบการวิจัย

Introduction การออกแบบการวิจัย คือ การออกแบบการวิจัยเป็นการวางแผนดำเนินการวิจัยอย่าง เป็นระบบ และใช้ระเบียบวิธีการวิจัยให้เหมาะสม ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ คือ 1. การดำเนินการวิจัย รวมถึงขั้นตอนการทำวิจัย ว่าจะทำอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร 2. การเลือกแบบแผนการวิจัย ควรจะเลือกแบบแผนการวิจัยอะไรจึงจะเหมาะสม กับวัตถุประสงค์และตัวแปร 3.ระเบียบวิธีวิจัย หมายความรวมถึงการเลือกประชากรกลุ่มตัวอย่างและวิธีการสุ่ม ตัวอย่าง เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล การ แปลผลและสรุปผล ตลอดจนการทำรายงานผลการวิจัยเป็นขั้นตอนสุดท้าย

ความมุ่งหมายของการออกแบบการวิจัย เพื่อให้ได้คำตอบของประเด็นปัญหา เพื่อควบคุมความแปรปรวนของตัวแปร เพื่อให้การวัดตัวแปรถูกต้องและแม่นยำ เพื่อให้การวิจัยดำเนินการอย่างเป็นระบบ เพื่อการประหยัด

ขั้นตอนของการออกแบบการวิจัย 1.กำหนดขอบเขตของการวิจัย โดยควรกลับไปทบทวนว่าเรื่อง หรือประเด็น ปัญหาวิจัย ข้อคำถาม วัตถุประสงค์ สมมติฐาน การกำหนดตัวแปรและกรอบ แนวคิดว่าเป็นที่พอใจหรือยัง จะปรับปรุงอะไรให้หนักแน่นขึึ้น เพื่อยืนยันความ ถูกต้อง ความสมบูรณ์ของเรื่องวิจัย และตัดสินใจวางแผนการวิจัยให้สอดคล้อง กับเรื่องวิจัย 2.การกำหนดระเบียบวิธีวิจัย จากขอบเขตของเรื่องวิจัยจะช่วยให้นักวิจัย สามารถตัดสินใจได้ว่าจะเลือกวิธีการวิจัยอย่างไร โดยทั่วไปแล้วการกำหนด ระเบียบวิธีวิจัยมีดังต่อไปนี้

ขั้นตอนของการออกแบบการวิจัย 2.1การเลือกประเภทการวิจัย 2.2 การศึกษาข้อมูล คือการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิจากวรรณกรรมต่างๆและข้อมูลปฐมภูมิจาก ประชากรหรือกลุ่มตัวอย่าง เป็นต้น 2.3 เลือกประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เป็นใคร กลุ่มไหน อยู่ที่ไหน คัดเลือกอย่างไร วิธีการสุ่ม ตัวอย่างอย่างไร และใช้จำนวนเท่าใดเพื่อสะดวกในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ 2.4 เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ถ้าหากเป็นการวิจัยเชิงสำรวจและเชิงคุณภาพจะใช้ เครื่องมืออะไรเก็บข้อมูล โดยพิจารณาถึงระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างด้วย 2.5 การวิเคราะห์ข้อมูล ถ้าเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณต้องระบุชนิดสถิติที่ใช้มาตรวัด ตัวแปรและโปรแกรมที่ใช้วิเคราะห์ ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพก็ต้องระบุว่าจะวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อ การสร้างรูปแบบอย่างไร เป็นต้น

ขั้นตอนของการออกแบบการวิจัย 3.การกำหนดแผนกิจกรรม การระบุกิจกรรม และขั้นตอนการดำเนินการวิจัย ตั้งแต่เริ่มต้นจนสำเร็จ 4.การกำหนดทรัพยากรที่ใช้ ประกอบด้วย บุคลากร เงินงบประมาณ และวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้อย่างชัดเจน 5.การจัดทำโครงการวิจัย เมื่อออกแบบการวิจัยตามขั้นต่างๆ เหมาะสมแล้ว สถาปนิกออกแบบการวิจัยก็จัดทำหรือเตรียมโครงการวิจัยให้สมบูรณ์ เพื่อใช้ สำหรับเสนอขอทุนการวิจัย หรือเป็นคู่มือของนักวิจัยต่อไป

ขั้นตอนการออกแบบการวิจัย ความเชื่อถือได้ & ความเที่ยงตรง

ตัวแปร ตัวแปร : Variable  มาจากคำว่า  vary = ผันแปร เปลี่ยนแปลง  able = สามารถ   Variable = สิ่งที่สามารถแปรค่าได้  ตัวแปร คือ คุณลักษณะหรือสภาวะการณ์ต่างๆ ซึ่งแบ่งออกเป็นพวกหรือเป็น ระดับหรือมีค่าได้หลายค่า        ตัวแปร คือ สิ่งที่โดยสภาพทั่วไปแล้วสามารถแปรค่าได้ค่าที่แปรออกมาของตัว แปรย่อมมีคุณสมบัติแตกต่างกันออกไป

ตัวแปร ตัวแปร คือ สิ่งที่ผู้วิจัยสนใจที่จะวัดเพื่อให้ได้ข้อมูลออกมาในรูปใดรูปหนึ่ง  โดย สรุปแล้ว ตัวแปร หมายถึง คุณลักษณะของสิ่งต่างๆ ที่สามารถแปรเปลี่ยนค่าได้ เช่น เพศ แปรค่าได้เป็น เพศชายและเพศหญิง ระดับการศึกษาอาจแบ่งเป็น ระดับต่ำกว่าปริญญาตรี และระดับปริญญาตรีขึ้นไป เป็นต้น สิ่งที่แปรเปลี่ยนค่าไม่ได้ไม่ถือว่าเป็นตัวแปรเช่น คน แมว แต่ถ้าเป็น เชื้อชาติของ คน สีของแมว จะกลายเป็นสิ่งที่แปรเปลี่ยนค่าได้จึงจะถือว่าเป็นตัวแปร

ตัวแปร เกณฑ์ในการจำแนกประเภทของตัวแปรมี4 ลักษณะคือ เกณฑ์ในการจำแนกประเภทของตัวแปรมี4 ลักษณะคือ        1. พิจารณาคุณสมบัติของค่าที่แปรออกมาแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ                  1.1 ตัวแปรเชิงปริมาณ(Quantitative Variables) เป็นตัว แปรที่แตกต่างกันในระหว่างพวกเดียวกันหรือค่าที่แปรออกมาแตกต่างกันออกไป ตามความถี่จำนวนปริมาณมากน้อยหรือลำดับที่ เช่น บุตรคนที่ (1, 2, 3,...) หรือ คะแนนของนักเรียน (17, 18, 19,....)                  1.2 ตัวแปรเชิงคุณภาพ(Qualitative Variables) เป็นตัว แปร ที่มีคุณสมบัติแตกต่างกันในแง่ของชนิดหรือประเภทโดยใช้ชื่อเป็นภาษาที่แสดง ถึงคุณลักษณะของสิ่งต่าง ๆ ในพวกนั้น เช่น อาชีพ (ข้าราชการ ค้าขาย เกษตรกร รับจ้าง) เพศ  (ชาย หญิง) ภูมิลำเนา (ในเมือง ชนบท) 

ตัวแปร 2. พิจารณาความต่อเนื่องตามธรรมชาติของตัวแปรแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ                  2.1 ตัวแปรค่าต่อเนื่อง (Continuous Variables) เป็น ตัวแปรที่มีค่าต่อเนื่องกันตลอด เช่น ส่วนสูงน้ำหนัก คะแนนสอบ เป็นต้น ค่าของ ตัวแปรเหล่านี้ไม่จำเป็นต้องเป็นเลขเต็มหน่วยพอดีอาจเป็นทศนิยมหรือเป็น เศษส่วนได้                  2.2 ตัวแปรค่าไม่ต่อเนื่อง(Discrete Variables) ตัวแปร ประเภทนี้มีค่าเฉพาะตัวของมัน แยกออกจากกันเด็ดขาดวัดค่าเป็นจำนวนเต็ม เช่น จำนวนหนังสือ เพศ (ชายแทนด้วย 0, หญิงแทนด้วย 1) เป็นต้น 

ตัวแปร   3. พิจารณาความเป็นไปได้ของผู้วิจัยที่จะจัดกระทำกับตัวแปร แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ                  3.1 ตัวแปรที่กำหนดได้(Active Variables) เป็นตัวแปรที่ ผู้วิจัยสามารถกำหนดให้กับผู้รับการทดลองได้เช่น วิธีสอน การจัดสอนซ่อมเสริม การจัดสภาพห้องเรียนและอื่น ๆ เป็นต้น                  3.2 ตัวแปรที่จัดกระทำขึ้นไม่ได้(Attribute of Organismic Variables) เป็นตัวแปรที่ยากจะกำหนดให้ผู้รับการ ทดลองได้ตัวแปรเหล่านี้เป็นลักษณะของผู้รับการทดลอง เช่น เพศ สภาพ เศรษฐกิจ ความถนัด เป็นต้น

ตัวแปร 4. พิจารณาถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในเชิงเหตุผลเป็นการแบ่งตามลักษณะ การใช้เป็นวิธีแบ่งตัวแปรที่นิยมกันมากที่สุดแบ่งเป็น                  4.1 ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น(Independent Variables) เป็น ตัวแปรที่จะทำให้เกิดสิ่งอื่นตามมา เป็นตัวแปรที่เป็นเหตุตัวแปรที่มาก่อน                  4.2 ตัวแปรตาม(Dependent Variables) เป็นตัวแปรที่เป็นผล เป็นตัวแปรที่เป็นผลมาจากตัวแปรต้น                  4.3 ตัวแปรแทรกซ้อน(Extraneous Variables) เป็นตัวแปรอื่น ๆ ที่ อาจมีผลต่อตัวแปรตาม โดยผู้วิจัยไม่ต้องการให้เกิดเหตุการณ์นั้นขึ้นโดยผู้วิจัยต้องพยายาม ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน เช่น ควบคุมด้วยการเลือกกลุ่มตัวอย่างควบคุมโดยวิธีการทาง สถิติหรือ ผู้วิจัยอาจนำตัวแปรแทรกซ้อนมาศึกษาเป็นตัวแปรอิสระอีกตัวแปรหนึ่งไปเลย 

การสร้างกรอบแนวคิด เป็นการสร้างขอบเขตเชื่อมโยงแนวคิดที่สำคัญของงานวิจัยในแต่ละเรื่อง ซึ่ง ปัญหาของงานวิจัยในแต่ละปัญหาจะมีส่วนในการกำหนดขอบเขตของแนวคิด แตกต่างกันออกไป การสร้างกรอบแนวคิดเป็นการสรุปภาพรวมให้ผู้อื่นมองเห็นว่า งานวิจัยนั้นมี แนวคิดที่สำคัญอะไรบ้าง มีการเชื่อมโยงที่เกี่ยวข้องกันอย่างไร มีความสัมพันธ์ กันในลักษณะแบบธรรมดาจนถึงแบบที่ซับซ้อน ซึ่งงานวิจัยบางเรื่องเรียกการ เชื่อมโยงของแนวคิดนี้ว่า รูปแบบหรือตัวแบบก็ได้

สมมติฐานการวิจัย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ให้ความหมายคำว่า “สมมติฐาน” ไว้ว่า สมมติฐานคือข้อสมมติที่ใช้เป็นมูลฐานแห่งการหาเหตุผลใน การทดลองหรือการวิจัย อารง สุทธาศาสน์ ได้กล่าวว่า สมมติฐาน คือคำตอบของคำถาม แต่เป็นคำตอบ ล่วงหน้าหรือคาดขึ้นมาก่อนที่จะนำข้อมูลมายืนยันจริง การตั้งสมมติฐานในการ วิจัย จึงเป็นการวางกรอบของปัญหาในแนวลึกมากขึ้น การเจาะลึกของปัญหาทำ ให้ผู้วิจัยพอทราบแนวทางล่วงหน้าว่า ผลการวิจัยในประเด็นปัญหาที่สงสัยน่าจะ ออกมาในลักษณะใด

ความสำคัญของสมมติฐาน 1. การชี้ให้เห็นปัญหาชัดเจน 2.สมมติฐานช่วยกำหนดความเกี่ยวข้องระหว่างข้อเท็จจริง 3.สมมติฐานเป็นตัวชี้การออกแบบการวิจัย 4. สมมติฐานช่วยในการอธิบายปรากฏการณ์ 5. สมมติฐานช่วยกำหนดขอบเขตของข้อยุติ

ประโยชน์ของสมมติฐาน 1. ช่วยชี้แนะให้ผู้วิจัยพิจารณาชนิดตัวแปรที่สำคัญ ข้อมูลที่จะ เก็บรวมไปถึงชนิดของเครื่องมือที่เหมาะสมในการวัด และวิธีเก็บข้อมูล เหล่านั้น บางท่านกล่าวว่าสมมติฐานสามารถกำหนดความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรได้อย่างถูกต้อง 2. ช่วยเป็นกรอบของการดำเนินการวิจัยให้แคบเข้า ซึ่งควบคู่ไป กับวัตถุประสงค์ แต่สมมติฐานจะช่วยตีกรอบให้เฉพาะเจาะจงมากกว่า ในแง่ของการพิจารณารูปแบบการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูลและการ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อตอบปัญหาได้ตรงเป้า

ประโยชน์ของสมมติฐาน 3. กระบวนการตั้งสมมติฐานทำให้ผู้วิจัยได้รับประโยชน์ต่อเนื่อง ตามมาอีกหลายประการ คือผู้วิจัยสามารถเชื่อมโยงแนวความคิด เพราะ สมมติฐานมักจะตั้งขึ้นมาโดยอิงกับแนวความคิด หรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องเสมอ ซึ่งทำให้ผู้วิจัยสามารถนำแนวความคิดนี้ไปผสมผสานกับการอธิบาย ผลการวิจัย และการสรุปผลได้อย่างถูกต้อง โดยใช้หลักการเชิงเหตุผลได้ อย่างเหมาะสม 4. กระบวนการตั้งสมมติฐานสามารถสร้างทฤษฎีใหม่ขึ้นได้ รวมทั้ง เป็นการทดสอบทฤษฎีเก่าด้วย เพื่อเป็นการยืนยันความถูกต้องของทฤษฎีนั้น ว่ายังทันสมัยหรือล้าสมัยไปแล้วจำเป็นต้องมีการแก้ไขใหม่อีก