เทคนิคการจัดรายการ เพื่อเป็นนักจัดรายการที่มีคุณภาพ การจัดทำประเด็นระดับชาติ การเชื่อมโยงประเด็นจากภูมิภาคสู่ระดับชาติ ช่องทางการประสานงานกับส่วนกลาง ฝึกภาคปฏิบัติ การเขียนบทรายการ ผลิตรายการนิตยสารทางอากาศ พร้อม บทรายการ
สิ่งที่ต้องคำนึงถึง เมื่อเริ่มคิดผลิตรายการวิทยุ สิ่งที่ต้องคำนึงถึง เมื่อเริ่มคิดผลิตรายการวิทยุ THINK RADIO
ประสิทธิภาพของสื่อมวลชน เวลาและปริมาณที่ประชาชนสัมผัสได้ ความรวดเร็ว การเปิดโอกาสให้ผู้รับสื่อมีส่วนร่วม ความคงอยู่ของสื่อ
สิ่งที่ผู้จัดรายการวิทยุกระจายเสียงต้องคำนึงถึง วิทยุเป็นสื่อเสียง คู่แข่งมีอยู่รอบตัว ความชัดเจนทางเทคนิค ความชัดเจนของเนื้อหา ดึงดูดใจ น่าประทับใจ น่าสนใจ เป็นตัวของตัวเอง เป็นมิตรและอบอุ่น
รายการบันทึกสถานการณ์ ผลิตขึ้นตามแนวคิดของนายปราโมช รัฐวินิจ ผู้อำนวยกองข่าวในประเทศ (ตำแหน่งในขณะนั้น) ว่า สวท.ควรมีรายการที่เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารตามสถานการณ์ปัจจุบัน (current affair) ออกอากาศสดทาง สวท.เอฟ.เอ็ม.92.5 ทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 08.00-09.00 น. รับผิดชอบและดำเนินรายการ โดย นายสุริยงค์ หุณฑสาร และ นางฟองสนาน จามรจันทร์
รายการบันทึกสถานการณ์ 2 กันยายน 2538 ผังรายการของ สวท.กทม. F.M.92.5 บรรจุรายการบันทึกสถานการณ์ออกอากาศเป็นครั้งแรก ชื่อรายการบันทึกสถานการณ์ รายการบันทึกสถานการณ์ได้รับความนิยมจากผู้ฟังอย่างรวดเร็ว เนื่องจากรายการนำเสนอเนื้อหาที่ทันสถานการณ์ น่าสนใจ รูปแบบการนำเสนอทันสมัย ผู้ดำเนินรายการมีความรู้ มีประสบการณ์งานข่าว มีน้ำเสียงที่ดึงดูดคนฟัง.... หน้าตาหล่อและสวย น่ารัก
บันทึกสถานการณ์ มกราคม 2545 – กุมภาพันธ์ 2555 บันทึกสถานการณ์ มกราคม 2545 – กุมภาพันธ์ 2555 9 มกราคม 2545 จิระวรรณ ตันกุรานันท์ ดำเนินรายการบันทึกสถานการณ์ออกอากาศครั้งแรก
ยังคงเนื้อหาเดิม แต่...... เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารตามสถานการณ์ปัจจุบัน (current affair) และเน้นการประชาสัมพันธ์นโยบายรัฐบาล รวมถึงการดำเนินงานเพื่อประชาชนของรัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ แต่ได้เพิ่มการมีส่วนร่วมของผู้ฟัง โดยเปิดโอกาสให้ผู้ฟังได้โทรศัพท์มาร่วมแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่นำเสนอในรายการ โดยแบ่งการเสนอรายการตามลำดับ ดังนี้
ช่วงที่ ๑ สรุปข่าวสำคัญประจำวัน ช่วงที่ ๒ สัมภาษณ์ : แหล่งข่าว / วิทยากร เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้ฟังได้รับรู้และเข้าใจ เพื่อจะได้คิดและวิเคราะห์ ก่อนร่วมแสดงความคิดเห็น ช่วงที่ ๓ บันทึกความคิดเห็น : ผู้ฟังแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่สัมภาษณ์ไปแล้ว เป็นการเพิ่มความหลากหลายของเนื้อหา และถือเป็นการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งสอดคล้องกับการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมวด 3 ความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การกำหนดประเด็นระดับชาติ การเชื่อมโยงประเด็นจากภูมิภาคสู่ระดับชาติ ช่องทางการประสานงานกับส่วนกลาง
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับคนทั้งประเทศ นโยบายรัฐบาลที่ลงสู่พื้นที่ การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐในระดับพื้นที่ ที่มีความสำคัญ สามารถส่งผลต่อระดับประเทศได้ การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐในระดับพื้นที่ ที่เป็นตัวอย่าง เป็นต้นแบบ เป็นโมเดล ให้ที่อื่นๆ
รายการสนทนากับผู้ฟัง Talk Show ช่วงเวลาเฉพาะสำหรับ ผู้จัดและผู้ฟัง ประเมินได้ว่าผู้ฟังต้องการฟังอะไร
การสัมภาษณ์ เป็นรูปแบบหนึ่งของการสนทนาแต่ไม่ใช่การสนทนา เราใช้การสัมภาษณ์ เมื่อ ต้องการข้อมูล ต้องการความคิดเห็น ต้องการการอธิบาย ต้องการการวิเคราะห์ ต้องการการแปลความ
ขั้นตอนการสัมภาษณ์ เลือกประเด็นที่จะสัมภาษณ์ เลือกผู้ที่จะสัมภาษณ์ เตรียมตัวเอง เตรียมผู้สัมภาษณ์
เทคนิคการสัมภาษณ์ ตั้งคำถามอย่างชัดเจน กระชับ ตรงกับปัญหา ฟังผู้ให้สัมภาษณ์ ใช้ภาษากาย อิสระของผู้สัมภาษณ์
คุณสมบัติของผู้สัมภาษณ์ เก็บเกี่ยว... สะสม... ความรู้ คาดหมาย...เดาใจคนฟัง...จับประเด็นน่าสนใจ ทำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย มีความเป็นกลาง สนใจผู้ฟัง (people) ทุกคน มีเสียงเหมาะกับการออกอากาศ ?
ฟังแล้วคิดยังไงกันบ้าง 1 คนฝั่งธน ยิ้มจ้า กันได้แล้ว เพราะรถไฟฟ้าเปิดให้บริการ 2 เห็นฝนตก เกษตรกรยิ้มจ้าเลย 3 การออกเสียงประชามติมีความสำคัญอย่างไร 4 ทำไมเราต้องไปออกเสียงประชามติกันด้วย 5 วันออกเสียงประชามติ คือวันที่เท่าไหร่ วันเดียวใช่หรือไม่ 6 คำถามพ่วง ถามว่าอะไร 7 คำถามพ่วงมีคำถามเดียวใช้หรือไม่
Phone – in Programme เป็นวิธีที่ง่ายและราคาถูกสำหรับเติมเต็มเวลาออกอากาศ (air time) สามารถจะพูดกับใครก็ได้ อยู่ที่ไหนก็ได้ ตั้งแต่เรื่องสำคัญระดับนโยบายไปจนถึงหัวข้อข่าวประจำวัน สร้างสังคมประชาธิปไตย เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น
อุปกรณ์ที่ควรมี สำหรับรายการ Phone-in คนรับโทรศัพท์ มีโทรศัพท์หลายเครื่อง หลายเบอร์ ไม่มีสายพ่วง สามารถจัดคิวรอสายเพื่อการออกอากาศ สามารถออกอากาศได้ 2 สายเป็นอย่างน้อย สามารถรับสายหลังออกอากาศได้
ผู้ดำเนินรายการ คือ หัวใจของรายการ Phone-in
บทบาทของผู้ดำเนินรายการ phone-in กำหนดประเด็นที่น่าสนใจ กระตุ้นผู้ฟังให้โทรศัพท์มาร่วมรายการ เป็นธรรม เป็นกลาง ไม่เลือกข้าง ติดตามสถานการณ์ปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ / ฉลาด / มีไหวพริบดี / สุภาพ / อ่อนโยน / อบอุ่น / ร่าเริง / ใจดี / อดทน / โหดเป็นบางครั้ง มีเสียงเหมาะกับการออกอากาศ ?
The open line The specific subject Consumer affairs Phone-in Programme The open line The specific subject Consumer affairs Personal counselling
The open line ขาประจำ คนช่างพูด เป็นธรรม ไม่เลือกข้าง มีความอดทน ขาประจำ คนช่างพูด เป็นธรรม ไม่เลือกข้าง มีความอดทน มีเหตุผล โหด (เป็นบางครั้ง)
ประเภทของบทวิทยุ Run Down Sheet Semi Script Full Script
สารคดี (Documentary) เสนอประเด็นเดียว หลากหลายแง่มุม ข้อมูลที่เสนอในสารคดีเป็น primary sources มีความหลากหลายของเสียง
นิตยสารทางอากาศ (magazine programme) ต้องมีหลายเรื่อง เสนอในหลายรูปแบบ Good start & good link Attractive Menu Enough Information
การผลิตสปอตวิทยุกระจายเสียง วัตถุประสงค์ เพื่อกระตุ้นความสนใจ โน้มน้าว ชักจูง ข้อควรคำนึง ใช้คำสั้น ตรงไปตรงมา คุ้นหู เข้าใจง่าย เขียนเพื่อการฟัง อารมณ์ขันเป็นสิ่งดีสำหรับสปอต จุดเริ่มต้นเป็นส่วนสำคัญ “เริ่มดี ขายได้”
แบบฝึกปฏิบัติ ผลิตรายการนิตยสารทางอากาศ ความยาว 20 นาที (magazine programs) นำเสนอ 4-5 หัวข้อ นำเสนอไฟล์เสียง พร้อม บทรายการ ประกอบด้วย บทความ สัมภาษณ์ สปอตประชาสัมพันธ์
ขอบคุณ ขอให้โชคดี จิระวรรณ ตันกุรานันท์ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย 092-246-8248 , 02-290-0477 โทรสาร 02-277-1157 Email : jirawantan@gmail.com