เมื่อออกแรงผลักวัตถุ แล้วปล่อยให้วัตถุไถลไปตามพื้นราบในแนวระดับ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Proprietary and Confidential © Astadia, Inc. | 1.
Advertisements

ME-RMUTI Sarthit Toolthaisong
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
กลุ่มที่ 4 ROCK BOLTS สมาชิกในกลุ่ม 1 นายชัชชัย หนูเจริญ
Combination of Programmable Force Fields
รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3
ความแข็ง ของแร่ธาตุ Tale 1 Gypsum 2 Calcite 3 Fluorite 4 Aputite 5.
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องงาน
LOGO Array. ประเภทของ Array - อาเรย์ 1 มิติ (One) - อาเรย์ 2 มิติ (Two) - อาเรย์ 3 มิติ (Three) 2.
Soil Mechanics Laboratory
Force Vectors (3) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
บทที่ 4 Method (1).
M.Sc. Exercise Physiology
บทที่ 6 ความเสียดทาน(Friction)
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
LAB # 2 : FLOW IN PIPE Section 6
Flow In Pipe.
ความรู้พื้นฐานของระยะภาพ
Uniform Flow in Open Channel. วัตถุประสงค์ สามารถอธิบายเงื่อนไขการไหลแบบ uniform flow ตัด control volume.
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาจา วา (Introduction to JAVA Programming)
หน้า 1/6. หน้า 2/6 กำลัง หมายถึง อัตราการทำงาน หรือ สิ่งที่บ่งบอกว่า งานที่ทำในเวลานั้น ๆ มีมาก น้อยเพียงไร การคิดจะคล้ายกับงาน นั่นคือ ถ้า เมื่อไรก็ตาม.
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง การ กำหนดอัตราความเข้มข้นในแต่ละสูตร ของวัตถุอันตรายที่รับขึ้นทะเบียน ( ฉบับที่
การประมาณราคาในการเตรียม ความพร้อมเบื้องต้น 1. พื้นที่น้ำท่วม ประมาณ 30% ของพื้นที่ ชลประทาน 2. สำรวจ 2.1 ภูมิประเทศ พื้นที่ชลประทาน + พื้นที่น้ำท่วม =
อุทกธรณีวิทยา : HYDROGEOLOGY
E- Book มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนคร เหนือ นางสาววราภรณ์ ไชยพร รหัส
เจ้าของโครงการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ผู้ควบคุมงาน บริษัท แอ็ดวานซ์ คอนซัลแทนต์ แอนด์ ดีไซน์ จำกัด ผู้รับจ้าง ห้างหุ้นส่วนจำกัด คงมั่นการช่าง.
Page : Stability and Statdy-State Error Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Stability and Steady-State Error.
การวิเคราะห์ความแปรปรวนของค่าอัตราส่วนปลอดภัย
Microsoft® Office SharePoint® Server 2007 การฝึกอบรม
Bond, Anchorage, and Development Length
A Fast Approach in Generating High Quality Grasps
แรงในชีวิตประจำวัน.
ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.
ไฟฟ้าคืออะไร หนังสือวิทยาศาสตร์ หรือเว็บไซต์ต่างๆ ให้ความหมายที่แตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น - ไฟฟ้า คือ พลังงานรูปหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นได้
ชุดที่ 7 ไป เมนูรอง.
อะตอม คือ?.
Author (ผู้แต่ง) AuID รหัผู้แต่ง Char 3 PK AuName ชื่อผู้แต่ง Varchar Table name Attribute name Description Data Type Size Key References BookType.
สมดุล Equilibrium นิค วูจิซิค (Nick Vujicic).
บทที่ 4 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Relational Database
Nakhonsawan school create by rawat saiyud
1. น้ำหนักดินเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก
(Introduction to Soil Science)
Data Structure & Algorithm Concept
บทที่ 3 แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่
กลศาสตร์ของไหล Fluid Mechanics
โมเมนตัมและการชน อ.วัฒนะ รัมมะเอ็ด.
งานไฟฟ้า Electricity.
นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่
พลังงาน (Energy).
การออกแบบแก้ไขการพังทลายของลาดดิน โครงการหมู่บ้านปัญญาเลคโฮม
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
ทิศทางโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง ในยุคประเทศไทย 4.0
กระบวนการปรับบรรทัดฐาน Normalization Process
งานและพลังงาน.
บทที่ 6 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
งานและพลังงาน (Work and Energy) Krunarong Bungboraphetwittaya.
งาน (Work) คือ การออกแรงกระท าต่อวัตถุ แล้ววัตถุ
งานและพลังงาน.
แรงเสียดทาน ( Friction Force ).
การจัดการโรคไตเรื้อรัง CKD management
ยุคโบราณ (Ancient Age)
บทที่ 7 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่
กลศาสตร์และการเคลื่อนที่ (1)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เมื่อออกแรงผลักวัตถุ แล้วปล่อยให้วัตถุไถลไปตามพื้นราบในแนวระดับ

“วัตถุจะเคลื่อนที่ไประยะหนึ่งแล้วหยุด นักเรียนคิดว่า ทำไมวัตถุจึงหยุดการเคลื่อนที่ ”

นักเรียนทราบหรือไม่ว่าแรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุนี้เรียกอีกว่าอย่างไร

เรียกว่า “แรงเสียดทาน”

“ นักเรียนคิดว่าขนาดของแรงต้านการเคลื่อนที่/แรงเสียดทานขึ้นอยู่กับปัจจัยใด และแรงเสียดทานมีทิศทางอย่างไร ”

กิจกรรมการทดลองที่ 1.4 แรงเสียดทาน

ปัญหาคือ

สมมติฐาน

เรื่อง แรงเสียดทาน วันที่ ......................................... จุดประสงค์การทดลอง เพื่อทดสอบสมมติฐาน 2 ข้อ เกี่ยวกับแรงเสียดทาน วิธีทำ ในหนังสือหน้า 20

ตารางบันทึกผลการทดลอง รายการ ขนาดของแรงดึง ถุงทรายล่างสุดไม่มีการหุ้มถุงพลาสติก ถุงทรายล่างสุดมีการหุ้มถุงพลาสติก หยุดนิ่ง ถุงทรายเริ่มเคลื่อนที่ ถุงทรายเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ถุงทราย 1 ถุง ถุงทราย 2 ถุง ถุงทราย 3 ถุง

ขอคนเก่งช่วยชี้แจงให้ครูด้วย ข้อสงสัยที่ 1 ขณะถุงทรายวางนิ่งบนพื้นโต๊ะ โดยที่ยังไม่ออกแรงดึงถุงทราย มีแรงใดกระทำต่อถุงทรายบ้าง?? ขอคนเก่งช่วยชี้แจงให้ครูด้วย

ข้อสงสัยที่ 2 ขณะออกแรงดึงถุงทราย แต่ถุงทรายไม่เคลื่อนที่ มีแรงใดกระทำต่อถุงทรายบ้าง จงเขียนแผนภาพประกอบ และแรงลัพธ์ที่กระทำต่อถุงทรายเป็นเท่าใด ???

ข้อสงสัยที่ 3 ขณะออกแรงดึงถุงทรายให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว มีแรงใดกระทำต่อถุงทรายบ้าง จงเขียนแผนภาพประกอบ

คำถามท้ายการทดลอง 1.แรงที่กระทำต่อถุงทรายเพื่อต้านการเคลื่อนที่ของถุงทราย ซึ่งสามารถอ่านค่า ของแรงนี้จากเครื่องชั่งสปริงเรียกแรงนี้ว่าแรงอะไร 2. ขณะที่แรงดึงถุงทรายมีค่าสูงสุด แรงเสียดทานที่กระทำต่อถุงทรายมีค่าเท่าใด 3. การเพิ่มจำนวนถุงทราย ขนาดของแรงเสียดทานเป็นเช่นไร มีผลต่อแรงเสียดทานหรือไม่ อย่างไร 4. การหุ้มถุงทรายด้วยถุงพลาสติกมีผลต่อแรงเสียดทานหรือไม่ อย่างไร

สรุปผลการทดลอง แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุเรียกว่า แรงเสียดทาน แรงเสียดทานเกิดขึ้น ระหว่างผิวถุงทรายกับพื้นซึ่งมีทิศ ทางตรงข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่ของ ถุงทราย เมื่อเพิ่มจำนวนถุงทรายจะมีผลทำให้แรงเสียดทานมีค่ามากขึ้น เนื่องจากเกิดแรงกดที่พื้นมากขึ้นจึงทำให้ขนาดของแรงเสียดทานมีค่าเพิ่มขึ้นด้วย แต่เมื่อหุ้มถุงทรายด้วย ถุงพลาสติกซึ่งทำให้ผิวสัมผัสเรียบและลื่นจึงส่งผลให้แรงเสียดทานมีขนาดลดลงสังเกตได้เมื่อเปรียบเทียบจากผลการทดลองในตอนที่ 1 และตอนที่ 2

แรงเสียดทาน (Friction Force)

ความหมายแรงเสียดทาน แรงเสียดทานคือ แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ที่เกิดระหว่างผิวสัมผัส วัตถุ 2 ชนิด คือ ผิวสัมผัสของวัตถุ กับ ผิวของพื้น

ปัจจัยที่มีผลต่อแรงเสียดทาน ปัจจัยที่มีผลต่อแรงเสียดทานมีดังนี้ 1. น้ำหนักของวัตถุ วัตถุที่มีน้ำหนักกดทับลงบนพื้นผิวมักจะมี แรงเสียดทานมากกว่าวัตถุที่มีน้ำหนักกดทับลงบนพื้นผิวน้อย 2. พื้นผิวสัมผัส ผิวสัมผัสที่เรียบจะเกิดแรงเสียดทานน้อยกว่าผิวสัมผัสที่ขรุขระ

2. พื้นผิวสัมผัส ผิวสัมผัสที่เรียบจะเกิดแรงเสียดทานน้อยกว่าผิวสัมผัสที่ขรุขระ

ประเภทของแรงเสียดทาน 1. แรงเสียดทานสถิต (Static friction) เป็นแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นตั้งแต่วัตถุอยู่นิ่งจนกระทั่งวัตถุเริ่มเคลื่อนที่ ใช้สัญลักษณ์ fs กรณีออกแรง F กระทำกับวัตถุแล้ววัตถุเคลื่อนที่ได้พอดี แรงเสียดทานสถิตพอดีเคลื่อนที่หรือแรงเสียดทานสถิต ณ ขีดจำกัด มีค่าเท่ากับแรงที่กระทำกับวัตถุในแนวราบซึ่งพอดีทำให้วัตถุเคลื่อนที่ดังรูป

2. แรงเสียดทานจลน์ (Kinetic friction) เป็นแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นขณะวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ใช้สัญลักษณ์ fk