กองทุนเงินทดแทน (พรบ.เงินทดแทน พ.ศ.2537) โดย ร.อ. มานพ ทุสาวุธ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ. ศ
อย่าลืมปิดเสียง เครื่องมือสื่อสาร นะ จ๊ะ. ภูมิใจเสนอ “ สิทธิประโยชน์ประกันสังคม ” โดย น. ส. นภัสกร นาคอินทร์ น. ส. สุพัตรา นามผล.
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดลักษณะและคุณภาพของน้ำมันเบนซิน พ. ศ
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
หลักเกณฑ์การจ่ายเงินช่วยเหลือเพื่อการชดเชย กรณีผู้ให้บริการได้รับความเสียหาย จากการให้บริการสาธารณสุข (มาตรา 18 (4))
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
1.
การอุดหนุน งบประมาณ ให้แก่ สถานศึกษาใน สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้น พื้นฐาน.
การบริหารจัดเก็บภาษีสินค้ายาสูบ
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ความรู้เกี่ยวกับกองทุนเงินทดแทน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 11 มิถุนายน 2561
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง ระบบดับเพลิง และการตั้งกระป๋องน้ำมัน ถังน้ำมัน และถังเก็บน้ำมันขนาดเล็ก ไว้ในอาคารเก็บน้ำมันโดยเฉพาะที่มีระบบดับเพลิง พ.ศ.
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 19 ธันวาคม 2560
การกระทำอันไม่เป็นธรรม (Unfair Labour Practice)
พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
โดย... นางสาวปวีณ์ริศา เกณิกานนท์ นักวิชาการแรงงานชำนาญการ
ประพนธ์ อางตระกูล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
กลุ่มเกษตรกร.
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
สำนักงานประกันสังคม จังหวัดปัตตานี
งานทะเบียนและประสานการแพทย์
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์เกื้อกูลลูกจ้างชั่วคราว พ.ศ. 2545
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายสำหรับการท่องเที่ยวและการโรงแรม
แจ้งเข้า – ออก ที่ถูกต้องได้ประโยชน์อย่างไร และงานสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
ประกาศกระทรวงพลังงาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 22 ตุลาคม 2561
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรถจักรยานยนต์พ่วงข้าง(ซาเล้ง)ฯ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กองทุนเงินทดแทน (พรบ.เงินทดแทน พ.ศ.2537) โดย ร.อ. มานพ ทุสาวุธ กองทุนเงินทดแทน (พรบ.เงินทดแทน พ.ศ.2537) โดย ร.อ. มานพ ทุสาวุธ

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ความคุ้มครองลูกจ้างที่เจ็บป่วยหรือประสบอันตราย ทุพพลภาพ สูญหาย หรือ ตาย อันเนื่องมาจากการทำงานให้แก่นายจ้างหรือป้องกันรักษาผลประโยชน์ให้นายจ้าง ซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงาน (ใช้บังคับเมื่อวันที่ 1 กรกฏาคม 2537 ก่อนหน้านั้น ใช้ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2515 )

กองทุนเงินทดแทน คืออะไร กองทุนเงินทดแทน คือกองทุนที่จ่ายเงินทดแทนให้แก่ลูกจ้างแทนนายจ้าง เมื่อลูกจ้างประสบอันตราย เจ็บป่วย ถึงแก่ความตายหรือสูญหาย เนื่องจากการทำงานให้นายจ้าง โดยมิคำนึงถึงวัน เวลา และสถานที่ แต่จะดูสาเหตุที่ทำให้ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย (นายจ้างเป็นผู้จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนเงินทดแทนฝ่ายเดียว)

ขอบเขตการใช้บังคับ มาตรา 4 ขอบเขตการใช้บังคับ มาตรา 4 นายจ้างทุกท้องที่ทั่วราชอาณาจักรที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไปยกเว้น - ราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น - รัฐวิสาหกิจ - โรงเรียนเอกชนเฉพาะครู หรือครูใหญ่ -กิจการที่มิได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร -นายจ้างอื่นที่กำหนดในกระทรวง

นายจ้างอื่นที่ไม่ใช้บังคับ 1. นายจ้างที่ประกอบกิจการเพาะปลูก ประมง ป่าไม้ และ เลี้ยงสัตว์ ซึ่งมิได้ใช้ลูกจ้างตลอดปี และไม่มีงานลักษณะอื่นรวมอยู่ด้วย 2. นายจ้างที่เป็นบุคคลธรรมดา ซึ่งงานที่ลูกจ้างทำนั้น มิได้มีการประกอบธุรกิจรวมอยู่ด้วย 3. นายจ้างที่ประกอบการค้าเร่ การค้าแผงลอย

เมื่อใดที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับความคุ้มครอง **สิทธิเกิดขึ้นทันทีนับตั้งแต่วันแรกที่เข้าทำงานให้นายจ้าง**

- ตายหรือสูญหาย ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 120 วัน นับแต่วันที่เกิดเหตุ การให้ประโยชน์ทดแทนตาม พ.ร.บ.เงินทดแทนพ.ศ.2537คุ้มครองกรณีเนื่องจากการทำงาน - ประสบอันตราย - เจ็บป่วย - ทุพพลภาพ - ตายหรือสูญหาย ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 120 วัน นับแต่วันที่เกิดเหตุ - อันเนื่องมาจากการทำงาน

การเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน หมายความว่า? การประสบอันตรายเนื่องจากการทำงานหมายความว่าอย่างไร หมายความว่า การที่ลูกจ้างได้รับอันตรายแก่กายหรือผลกระทบแก่จิตใจหรือถึงแก่ความตายเนื่องจากการทำงานหรือป้องกันรักษาประโยชน์ให้นายจ้างหรือตามคำสั่งของนายจ้าง การเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน หมายความว่า? การที่ลูกจ้างเจ็บป่วยหรือถึงแก่ความตายด้วยโรค ซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงาน หรือเนื่องจากการทำงาน

สิทธิประโยชน์จากกองทุนทดแทน 1.ค่ารักษาพยาบาล วงเงิน 1,000,000.บาท 2.ค่าทดแทน 60% ของค่าจ้างรายเดือน -กรณีหยุดงานติดต่อกันเกิน 3 วัน แต่ไม่เกิน 1 ปี -กรณีสูญเสียอวัยวะ ได้รับค่าทดแทนไม่เกิน 10 ปี -กรณีทุพพลภาพ ได้รับค่าทดแทน ไม่เกิน 15 ปี -กรณีตาย ได้รับค่าทดแทนไม่เกิน 8 ปี 3.ค่าทำศพ(ค่าจัดการศพ 100 เท่าของค่าจ้างขั้นต่ำ) 4.ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้รับค่าทดแทนไม่เกิน 15 ปี (คำนวณจากฐานเงินเดือน 20,000บ.)

ไม่จ่ายเงินทดแทน ในกรณี -เสพเครื่องดองของเมาจนไม่สามารถครองสติได้ -จงใจให้ตนเองหรือยินยอมให้ผู้อื่นทำให้ตนประสบอันตราย

กรณีเข้ารักษาตัว ณ สถานพยาบาลที่ตกลงไว้ เอกสารที่นายจ้างต้องนำส่งให้โรงพยาบาลเพื่อให้โรงพยาบาลเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาลจากกองทุนทดแทน -แบบส่งตัวลูกจ้างเข้ารับการรักษา กท.44 (กรอกข้อมูลครบถ้วน) -นายจ้างต้องนำส่งแบบแจ้งการประสบอันตรายเจ็บป่วย กท.16 และสำเนา กท.44 ไปสำนักงานประกันสังคม ที่รับผิดชอบภายใน 15 วัน -โรงพยาบาลแนบใบรับรองแพทย์ กท.16/1 ประกอบใช้สิทธิ -หากบริษัทไม่ยื่นเอกสารต้องชำระเงินแล้วยื่นเบิกกองทุน ทดแทนเองภายหลัง

ระยะเวลาในการแจ้งการประสบอันตราย -ส่งเอกสารแจ้ง สปส.พื้นที่ เพื่อวินิจฉัยภายใน 15 วัน -สปส.พิจารณาวินิจฉัยแจ้งผลต่อรพ.ใช้เวลาประมาณ 30 วัน(กรณีข้อมูลของบริษัทสมบูรณ์) -ส่งเอกสารเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาลภายใน 90 วัน หลังจากได้รับผลวินิจฉัยจาก สปส.

ค่ารักษาพยาบาล ได้รับเงินเท่าใด ค่ารักษาพยาบาล ได้รับเงินเท่าใด ค่ารักษาพยาบาลจ่ายได้ตามกฎกระทรวง พ.ศ.2558 ลงวันที่ 30 มกราคม2558 1) กรณีลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการทำงาน จ่าย 50,000 บ. 2) กรณีค่ารักษา 50,000บ.ไม่เพียงพอ จ่ายตามจริงได้อีกไม่เกิน100,000 บ. สำหรับการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยของลูกจ้างที่มีลักษณะ ดังนี้ 2.1 บาดเจ็บรุนแรงของอวัยวะภายในหลายส่วนต้องผ่าตัดแก้ไข 2.2)บาดเจ็บรุนแรงกระดูกหลายแห่งต้องผ่าตัดแก้ไข 2.3)บาดเจ็บรุนแรงของศีรษะต้องผ่าตัดเปิดกะโหลก 2.4)บาดเจ็บรุนแรงกระดูกสันหลัง ไขสันหลัง หรือรากประสาท 2.5) ภาวะต้องผ่าตัดอวัยวะที่ยุ่งยากใช้วิธีจุลศัลยกรรม 2.6)แผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกสูญเสียผิวหนัง ตั้งแต่25%ของผิวร่างกาย 2.7)ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยรุนแรง เรื้อรัง ตามประกาศกระทรวงกำหนด

3)กรณีค่ารักษาพยาบาลจ่ายเพิ่มอีกตามข้อ2 ไม่เพียงพอ ให้จ่ายเพิ่มจริงตามความ จำเป็น โดยรวมทั้งข้อ1 และข้อ 2 ต้องไม่เกิน 300,000บ. ภาวะเจ็บป่วยต้องมีลักษณะ ดังนี้ 3.1) ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ตามข้อ1 ถึง 6 ตั้งแต่ 2 รายการขึ้นไป 3.2) จำเป็นต้องใช้เครื่องช่วยหายใจหรือพักรักษาในห้องผู้ป่วยวิกฤต หรือห้องผู้ป่วยไฟไหม้ตั้งแต่ 20 วันขึ้นไป 3.3)บาดเจ็บรุนแรงของระบบสมองและไขสันหลังต้องรักษาตัว 30 วัน 4) กรณีค่ารักษาพยาบาลตามข้อ1-3ไม่เพียงพอให้จ่ายเพิ่มตามความจำเป็นได้ไม่เกิน 500,000บ. 5) กรณีค่ารักษาพยาบาลทุกกรณีไม่เพียงพอ จ่ายเพิ่มได้ตามความจำเป็นและคณะกรรมการแพทย์พิจารณาและคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนเห็นชอบรวมทั้งสิ้นต้องไม่เกิน 1,000,000 บ. 6) ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่าบริการทางการพยาบาล จ่ายตามจริงไม่เกินวันละ1,300บ.

ความแตกต่างระหว่าง กองทุนเงินทดแทน กองทุนประกันสังคม 1.วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นทุนให้มีการจ่ายเงินทดแทนแก่ลูกจ้างแทนนายจ้าง 1.วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างหลักประกันให้แก่ลูกจ้างผู้ประกันตน

กองทุนเงินทดแทน กองทุนประกันสังคม 3.1 เจ็บป่วย 2. หน้าที่การจ่ายเงินสมทบ ลูกจ้าง, นายจ้าง รัฐบาล 2. หน้าที่การจ่ายเงินสมทบ นายจ้างมีหน้าที่จ่าย 3.อัตราเงินสมทบ ตามความเสี่ยงภัย ของกิจการนายจ้าง 3.1 อัตราเงินสมทบหลัก 0.2 – 1% 3.2 อัตราเงินสมทบค่าประสบการณ์ 3.อัตราเงินสมทบ 3.1 เจ็บป่วย 3.2 ตาย 3.3 ทุพพลภาพ 3.4 คลอดบุตร 3.5 สงเคราะห์บุตร 3.6 ชราภาพ 3.7 ว่างงาน 1.5% 3% 5%

กองทุนเงินทดแทน กองทุนประกันสังคม 4. วิธีจ่าย รายปี รายงวด 4. วิธีจ่าย จ่ายเป็นรายเดือนทุกเดือน 5. เงินเพิ่มตามกฎหมาย ร้อยละ 3 ต่อเดือน 5. เงินเพิ่มตามกฎหมาย ร้อยละ 2 ต่อเดือน

กองทุนเงินทดแทน กองทุนประกันสังคม 6. สิทธิประโยชน์ ค่ารักษาพยาบาล ค่าทดแทน 6.1 กรณีหยุดงาน 6.2 กรณีสูญเสียอวัยวะ 6.3 กรณีทุพพลภาพ 6.4 กรณีเสียชีวิต ค่าทำศพ ค่าฟื้นฟู 6. สิทธิประโยชน์ กรณีเจ็บป่วย กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย กรณีคลอดบุตร กรณีสงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ กรณีว่างงาน

กองทุนเงินทดแทน กองทุนประกันสังคม 7. ข้อยกเว้น ลูกจ้างเสพของมึนเมา หรือสิ่งเสพติดอื่น จนไม่ สามารถครองสติได้ ลูกจ้างจงใจให้ตนเอง ประสบอันตราย หรือยอม ให้ผู้อื่นทำให้ตนประสบอันตราย (ม. 22) 7. ข้อยกเว้น ตาม พรบ. ประกันสังคม 14 ข้อ

กฎกระทรวง (ใช้บังคับตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ.2559) กฎกระทรวง    (ใช้บังคับตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ.2559) กำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่าย พ.ศ.2560       ก.แรงงาน ออกกฎกระทรวงฉบับใหม่ “กำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่ายแทนลูกจ้าง” เข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐ ตั้งแต่เริ่มแรกจนสิ้นสุดการรักษาไม่เกิน 2 ล้านบาท                วันนี้ (24 ก.ค.) มีรายงานว่า ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่กฎกระทรวงกำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่าย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ลงนาม โดย พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ให้ไว้ ณ วันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ.2560 โดยที่การกำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาล ที่ให้นายจ้างจ่ายตามกฎกระทรวงกำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่าย พ.ศ. 2558 ไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป                ทั้งนี้ เป็นการกำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลให้แก่ลูกจ้าง กรณีเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลของรัฐ ให้สอดคล้องกับลักษณะของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยของลูกจ้างที่จะได้รับค่ารักษาพยาบาลตามความจำเป็นจนสิ้นสุดการรักษา แต่ไม่เกินสองล้านบาท เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพความเป็นจริง และสถานการณ์ทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป                      

    ทั้งนี้ กฎกระทรวงฉบับนี้ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 6 วรรคหนึ่ง และมาตรา 13 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ตามที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ออกกฎกระทรวงไว้ โดยให้ยกเลิกความในข้อ 6 แห่งกฎกระทรวงกำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่าย พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน               “ข้อ 6 ในกรณีค่ารักษาพยาบาลที่จ่ายตามข้อ 5 สำหรับลูกจ้างรายใดไม่เพียงพอ ให้นายจ้างจ่ายค่ารักษาพยาบาลเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นเพิ่มขึ้น โดยเมื่อรวมกับค่ารักษาพยาบาล ตามข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 และข้อ 5 แล้ว ต้องไม่เกินหนึ่งล้านบาท เว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี้ ให้นายจ้างจ่ายค่ารักษาพยาบาลเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นที่เพิ่มขึ้นจนสิ้นสุดการรักษา แต่ไม่เกินสองล้านบาท (1) ลูกจ้างเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐตั้งแต่เริ่มแรกจนสิ้นสุดการรักษา (2) ลูกจ้างมีความจำเป็นหรือมีเหตุสมควรที่ไม่สามารถเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐตั้งแต่เริ่มแรก แต่ภายหลังได้เข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐ การจ่ายค่ารักษาพยาบาลตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามความเห็นของคณะกรรมการการแพทย์ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ”              ท้ายกฎกระทรวงฉบับนี้ ระบุด้วยว่า ให้ใช้บังคับรวมถึงลูกจ้างที่ประสบอันตราย หรือเจ็บป่วยอยู่ก่อนวันที่กฎกระทรวงนี้ใช้บังคับ และยังคงรักษาพยาบาลอยู่จนถึงวันที่กฎกระทรวงนี้ใช้บังคับ                          

มีรายงานจากสำนักงานประกันสังคม (สปส    มีรายงานจากสำนักงานประกันสังคม (สปส.) ว่า กฎกระทรวงดังกล่าวจะปลดล็อกปัญหา เรื่อง อัตราค่ารักษาพยาบาลกรณีลูกจ้างประสบอุบัติเหตุในระหว่างทำงาน ซึ่งหลายรายได้รับบาดเจ็บรุนแรงและประสบปัญหาค่ารักษาพยาบาล เนื่องจากเดิมทีกำหนดให้นายจ้างจ่ายค่ารักษาตามความเป็นจริง แต่ไม่เกิน 1 ล้านบาท แต่ในรายที่อาการรุนแรงมากๆ วงเงิน 1 ล้านบาทไม่เพียงพอ ยิ่งรักษาในโรงพยาบาลเอกชน ยิ่งมีราคาแพง จึงเห็นชอบในหลักการให้เพิ่มขึ้นเกิน 1 ล้านบาท กฎกระทรวงดังกล่าวจะช่วยกรณีลูกจ้างที่มีอาการรุนแรงมากๆ และจำเป็นต้องรักษาเพิ่มเติมด้วยวงเงินเกิน 1 ล้านบาทนั้น หากนายจ้างที่เป็นบริษัทใหญ่ๆ ก็จะสามารถดูแลต่อเนื่องได้ แต่หากนายจ้างที่เป็นบริษัทเล็กๆ จะไม่สามารถดูแลได้ตรงจุดนี้ สปส. ก็จะเข้าไปดูแลโดยให้รักษาต่อในสถานพยาบาลของรัฐเท่านั้น โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานได้มอบหมายว่า ควรปรับเพิ่มขึ้นเกิน 2 ล้านบาทด้วย เพื่อให้ลูกจ้างที่ได้รับผลกระทบรุนแรงได้รับการรักษาพยาบาลอย่างเต็มที่” 

สวัสดี