กลยุทธ์องค์การ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการเชิงกลยุทธ์
Advertisements

Strategy Information System
นำเสนอโดย ดร.อรัญ โสตถิพันธุ์และคณะ พฤษภาคม 2549
Health Strategic Management and Planning “การนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ”
นโยบายองค์การ Organisation Policy.
Strategic management กลยุทธ์ปฏิบัติการ กรณีศึกษา
การบริหารเชิงกลยุทธ์
Strategic management กลยุทธ์ปฏิบัติการ กรณีศึกษา
Strategic management MBA Rajaphat Chiangmai University
Strategic management Corporate Strategy
Strategic management Corporate Strategy
Strategic management MBA Rajaphat Chiangmai University
strategy Formulation Structure Architecture Strategy deployment
Strategic management Business Concept Business Model
รศ.ชัยยศ สันติวงษ์ 28 มิถุนายน 2554
Lesson learned 3 มีนาคม 2556.
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจและการวิเคราะห์
16. กลยุทธิ์ที่มุ่งเน้น ความสำเร็จ. Background การเปลี่ยนทัศนคติ จาก แรงงาน เป็นผลการปฏิบัติงาน แรงจูงใจบนพื้นฐานความเข้าใจ เพื่อบรรลุสู่ความสำเร็จ แบบญี่ป่น.
STRATEGIC MANAGEMENT การจัดการเชิงกลยุทธ์
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Planning)
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
หลักการตลาด บทที่ 14 การโฆษณา.
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ
บทที่ 3 การกำหนดกลยุทธ์ระดับบริษัทและกลยุทธ์ระดับธุรกิจ
Knowledge Audit and Analysis
ส่วนประสมการตลาด ( Marketing Mix )
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การวิเคราะห์งบการเงิน
การจัดการการผลิตและการปฎิบัติการ
Information System Development
วิทยากร : ธรรศ ทองเจริญ
ลำดับชั้นของกลยุทธ์ 3 ระดับ ขององค์กรธุรกิจ
บทที่ 3 ระบบสารสนเทศกับการบริหารองค์กร
วิชา การบริหารทางการตลาด (MKT 3202)
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
แนวทางการสร้าง Innovation Ecosystem ในมหาวิทยาลัย
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
Training & Development
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
ระบบการปลูกพืช และการส่งเสริมอาชีพในพื้นที่ลุ่มต่ำ
Line Manager is Leader.
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
สัมมนาเชิงปฏิบัติการเกษตรสมัยใหม่ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (New Product Development or NPD)
บทที่ 6 การแบ่งส่วนตลาด การตลาด เป้าหมาย และการวางตำแหน่ง ผลิตภัณฑ์
การกำหนด STP Segmentation Target Positioning
บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่ายและการตั้งราคา
บทที่ 3 การบริหารการตลาด
Origin Group Present.
ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ. ศ
การบริหารการผลิต.
1. ภารกิจด้านการเรียนการสอน
Health Literacy การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
บทที่ 14 ระบบสารสนเทศ กับการเปลี่ยนแปลงองค์การ
กลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place Strategy)
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
กลยุทธ์ธุรกิจ.
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
บทที่ 2 ขอบเขตของการจัดการเชิงกลยุทธ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลยุทธ์องค์การ

กลยุทธ์ระดับบริษัทหรือองค์การ ระดับของกลยุทธ์ กลยุทธ์ระดับบริษัทหรือองค์การ กลยุทธ์ระดับธุรกิจ กลยุทธ์ระดับหน้าที่

ระดับของกลยุทธ์ 1) กลยุทธ์ระดับบริษัท (Corporate-Level Strategy) เช่น กลยุทธ์การเติบโต กลยุทธ์คงตัว และกลยุทธ์ปรับเปลี่ยน 2) กลยุทธ์ระดับธุรกิจ (Business-Level Strategy) เช่น กลยุทธ์ผู้นำด้านต้นทุน กลยุทธ์ความแตกต่างและกลยุทธ์การมุ่งเน้น 3) กลยุทธ์ระดับหน้าที่ (Functional-Level Strategy) เป็นการนำกลยุทธ์สู่ระเบียบปฎิบัติจะต้องครอบคลุมหน่วย งานระดับปฎิบัติการขององค์กรอย่างน้อย 4 หน่วยงาน ได้แก่ กลยุทธ์ด้านการผลิต กลยุทธ์ด้านการเงิน กลยุทธ์ด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ และกลยุทธ์ด้านการตลาด เป็นต้น ที่มา : ดร.เอกชัย อภิศักดิ์กุล

กลยุทธ์ระดับองค์การ 1) กลยุทธ์ระดับบริษัท (Corporate-Level Strategy) กลยุทธ์หลักหรือกลยุทธ์ของกลุ่มบริษัท (Grand Strategy or Corporate Strategy) เป็นกลยุทธ์ที่แสดงทิศทางของบริษัท (เติบโต, คงตัว, ปรับเปลี่ยน) ด้วยการพิจารณา วงจรอุตสาหกรรม สภาวะการแข่งขัน และสภาพแวดล้อมภายนอกที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานของบริษัทสามารถใช้ร่วมกับกลยุทธ์พื้นฐานในระดับบริษัท (Business-Level Strategy) ที่มา : ดร.เอกชัย อภิศักดิ์กุล

กลยุทธ์ระดับองค์การ กลยุทธ์การเติบโต (Growth Strategy) กลยุทธ์การเติบโต มุ่งสร้างอัตราการเติบโตที่มากกว่าเมื่อเทียบกับตลาด มักใช้การพัฒนาตลาดใหม่ (Market Development - ตลาดใหม่ สินค้าใหม่) พัฒนาสินค้า (Product Development) วิธีการใหม่ (New Process) หรือเจาะตลาดเพิ่ม (Market Penetration - ตลาดใหม่ สินค้าเก่า) กลยุทธ์การเติบโตเป็นกลยุทธ์ที่นิยมมากที่สุด เนื่องจากการเติบโต หมายถึง รายได้ที่มากขึ้น ราคาหุ้นที่สูงขึ้น และประสิทธิภาพของผู้นำ แต่การเติบโตที่เร็วเกินไปอาจจะนำไปสู่ความไม่มีประสิทธิภาพ ที่มา : ดร.เอกชัย อภิศักดิ์กุล

กลยุทธ์ระดับองค์การ - การมุ่งในสินค้าหรือบริการเพียงอย่างเดียว (Concentration on a Single Product or Services) เป็นการสร้างการเติบโตด้วยสินค้าหรือบริการเพียงอย่างเดียว เช่น McDonald ที่มีสินค้าหลักเพียงอย่างเดียว คือ แฮมเบอร์เกอร์ และใช้การเจาะตลาดเพิ่มไปยังพื้นที่ใหม่ๆ ด้วยการรักษามาตรฐาน/คุณภาพ/ความสะอาด สาเหตุที่บริษัทเลือกกลยุทธ์นี้เนื่องจากการที่มีทรัพยากรไม่เพียงพอ ที่อาจนำมาซึ่งความเสี่ยงหากมีการตกต่ำของสินค้าหรือบริการนั้น - การกระจายธุรกิจไปสู่ธุรกิจที่มีความสัมพันธ์กับธุรกิจเดิม (Concentric Diversification) ที่มา : ดร.เอกชัย อภิศักดิ์กุล

กลยุทธ์ระดับองค์การ - เป็นการสร้างการเติบโตด้วยการเพิ่มสินค้าหรือบริการใหม่ที่สอดคล้องกับสินค้าหรือบริการที่มีอยู่แล้ว ซึ่งอาจสอดคล้องในเรื่องเทคโนโลยี Know-How สายผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจำหน่ายหรือ ฐานลูกค้า กลยุทธ์นี้จะสร้างตำแหน่งการแข่งขันที่แข็งแกร่งได้ - การรวมธุรกิจในแนวดิ่ง (Vertical Integration) เป็นการสร้าง การเติบโตด้วยการขยายธุรกิจที่มีอยู่ 2 ทิศทาง คือ 1) การรวมตัวไปข้างหน้า (Forward Integration) เป็นการขยายการลงทุนไปยังช่องทางการจัดจำหน่ายของสินค้าหรือบริการปัจจุบัน ทำให้ขยายตลาดได้ง่ายขึ้น และสามารถควบคุมต้นทุนขายได้ ที่มา : ดร.เอกชัย อภิศักดิ์กุล

กลยุทธ์ระดับองค์การ 2) การรวมตัวไปข้างหลัง (Backward Integration) เป็นการขยายการลงทุนไปยังธุรกิจที่ขายสินค้าหรือให้บริการกับธุรกิจในปัจจุบัน ทำให้บริษัทสามารถควบคุมต้นทุน และ คุณภาพของปัจจัยนำเข้า นอกจากนี้การใช้กลยุทธ์การรวมตัวในแนวดิ่ง ยังทำให้มีอำนาจทางการตลาด( Market Power) และเป็นการสร้างอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาดแก่คู่แข่ง (Barrier to Entry) แต่จะมีความเสี่ยงจากการที่ธุรกิจมีความเกี่ยวเนื่องกันใกล้ชิด ที่มา : ดร.เอกชัย อภิศักดิ์กุล

กลยุทธ์ระดับองค์การ - การรวมตัวในแนวนอน (Horizontal Diversification) เป็นการสร้างการเติบโตจากการซื้อ การควบรวมกิจการของคู่แข่ง กลยุทธ์นี้คล้ายกับ การกระจายธุรกิจไปสู่ธุรกิจที่มีความสัมพันธ์กับธุรกิจเดิม (Concentric Diversification) แต่มีความแตกต่างคือ การรวมตัวในแนวนอน (Horizontal Diversification) จะมุ่งเน้นการเพิ่มสินค้าหรือบริการจากการซื้อบริษัทคู่แข่งเท่านั้น - การกระจายธุรกิจในลักษณะที่ไม่สัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกับธุรกิจเดิม (Conglomerate Diversification) เป็นการสร้างการเติบโตจากการมีสินค้าหรือบริการใหม่ที่ไม่เกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่มีอยู่ ซึ่งจะสร้างความได้เปรียบในลักษณะของกลุ่มบริษัทที่ไม่มีความสัมพันธ์กัน ที่มา : ดร.เอกชัย อภิศักดิ์กุล

กลยุทธ์ระดับองค์การ กลยุทธ์คงตัว (Stability Strategy) กลยุทธ์ที่มุ่งรักษาอัตราการเติบโต ส่วนแบ่งการตลาด หรือตำแหน่งทางการแข่งขันของบริษัทไว้ เนื่องจากสภาพของอุตสาหกรรมที่เริ่มตกต่ำ หรือมีคู่แข่งรายใหม่ที่เข้มแข็งเข้ามาในตลาด หรือสภาวการณ์ผันผวน - Leadership กลยุทธ์การมุ่งเป็นผู้นำตลาดด้วยการดึงดูดลูกค้าจากคู่แข่งที่อ่อนแอ เนื่องจากในสภาวะการตกต่ำของอุตสาหกรรมจะทำให้เฉพาะบริษัทที่เป็นผู้นำตลาดเท่านั้นที่สามารถทำกำไรและอยู่รอดได้ - Niche กลยุทธ์การมุ่งสร้างความแข็งแกร่งในบางตลาดที่มีความชำนาญและมีตำแหน่งการแข่งขันที่เข้มแข็ง ที่มา : ดร.เอกชัย อภิศักดิ์กุล

กลยุทธ์ระดับองค์การ - Harvest กลยุทธ์การมุ่งทำกำไรระยะสั้น ไม่ลงทุนเพิ่ม ลดค่าใช้จ่ายต่างๆลง จะช่วยลดปัญหาการมียอดขายที่ลดลง และในอนาคตอาจต้องขายธุรกิจหรือออกจากอุตสาหกรรมนี้ - Quick Divest กลยุทธ์การขายธุรกิจทิ้งอย่างรวดเร็วในช่วงต้นเริ่มตกต่ำของอุตสาหกรรม ที่มา : ดร.เอกชัย อภิศักดิ์กุล

กลยุทธ์ระดับองค์การ กลยุทธ์ปรับเปลี่ยน (Renewal Strategy) กลยุทธ์การปรับตัวด้วยการเปลี่ยนแปลงขนาดองค์กร ลดต้นทุน ปรับโครงสร้าง ขายธุรกิจ หรือล้มละลายเป็นกลยุทธ์ที่ใช้ในสถานการณ์ที่ไม่ดี เช่น การไม่สามารถบรรลุเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ เศรษฐกิจตกต่ำ และบริษัทก็มีฐานะทางการเงินไม่ดี - Retrenchment กลยุทธ์เพื่อปรับเปลี่ยนเนื่องจากไม่สามารถบรรลุเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ หรือประสิทธิภาพ/คุณภาพตกต่ำ เป็นการปรับเปลี่ยนเพื่อเตรียมตัวแข่งขันอีกครั้งหนึ่ง เช่น การปรับรื้อระบบองค์กร (Reengineering) หรือการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ที่มา : ดร.เอกชัย อภิศักดิ์กุล

กลยุทธ์ระดับองค์การ - Turnaround กลยุทธ์เพื่อพลิกสถานการณ์เลวร้ายของบริษัท โดยเฉพาะทางด้านการเงิน จึงเป็นการปรับเปลี่ยนจำนวนมาก มีความรุนแรง ด้วยการควบรวมกิจการ ปรับโครงสร้างหนี้ ขายสินทรัพย์ ลดขนาดองค์กร หรือเปลี่ยนผู้นำองค์กร - Divest กลยุทธ์การขายบางส่วนของบริษัท กรณีที่กลยุทธ์ Harvest หรือ Turnaround ไม่ประสบความสำเร็จ - Liquidation กลยุทธ์การเลิกกิจการด้วยการขายสินทรัพย์ทั้งหมด หรือหยุดการดำเนินงานทั้งหมด เพื่อหยุดการขาดทุนก่อนที่จะล้มละลาย ที่มา : ดร.เอกชัย อภิศักดิ์กุล

จบการบรรยาย