หลักพื้นฐานยุทธศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
การกำหนดตำแหน่งการพัฒนาของอำเภอ (Positioning)
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
FTA.
Governance, Risk and Compliance
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของผู้ว่าราชการจังหวัดและ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทบาทขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การจัดการความรู้ Knowledge Management
การวางแผนกำลังการผลิต
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
บทที่ ๓ การวางแผนการพัฒนา Development Planning
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
เอกสารประกอบการบรรยาย การประชุมเชิงปฎิบัติการ การจัดทำแผนฯ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักพื้นฐานยุทธศาสตร์ ผลประโยชน์แห่งชาติและความมั่นคงแห่งชาติ โครงสร้างและกระบวนการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ โดย โดย พลเรือเอก ชาตร์ นาวาวิจิต 086-3444133 24 , 25 และ 26 ธันวาคม 2555 วิทยาลัยเสนาธิการทหาร

ขอบเขต ผลประโยชน์แห่งชาติและความมั่นคงแห่งชาติ หลักพื้นฐานสำคัญที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ความหมายและความสัมพันธ์ระหว่างความมุ่งประสงค์ของชาติ ผลประโยชน์ของชาติ วัตถุประสงค์ของชาติ และนโยบายของชาติ การใช้พลังอำนาจแห่งชาติเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์แห่งชาติ และความสัมพันธ์ระหว่างความมั่นคงแห่งชาติกับยุทธศาสตร์ชาติ โครงสร้างและการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติ การแบ่งระดับยุทธศาสตร์ชาติ และยุทธศาสตร์ทหาร ยุทธการและยุทธวิธี วิธีการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติ ตามกระบวนการวิเคราะห์ผลประโยชน์ของชาติกำหนดวัตถุประสงค์ การตรวจสอบสภาวะแวดล้อม การพิจารณากำลังอำนาจแห่งชาติจนถึง การกำหนดเป็นยุทธศาสตร์ชาติ

นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ขอบเขต นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ หน้าที่ความรับผิดชอบ และการจัดองค์กรของสภาความมั่นคงแห่งชาติ วิสัยทัศน์ แนวคิดและกระบวนการกำหนดนโยบายความมั่นคงแห่งชาติในทุกๆด้านซึ่งนำไปสู่การพัฒนาแบบบุรณาการในทุกมิติ และสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์โลกและภูมิภาค

หลักการและกรอบแนวคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์และกำลังรบ หัวข้อการบรรยาย 1 กล่าวนำ 2 ความมั่นคงแห่งชาติ 3 หลักการและกรอบแนวคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์และกำลังรบ กรอบแนวคิดที่ 1 BARTLETT MODEL 1 สภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคง 2 ผลประโยชน์แห่งชาติ วัตถุประสงค์แห่งชาติ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ 3 พลัง/กำลังอำนาจแห่งชาติ 4 ข้อจำกัดด้านทรัพยากร 5 ยุทธศาสตร์ 6 ความเสี่ยง กรอบแนวคิดที่ 2 DIXON FRAMEWORK กรอบแนวคิดที่ 3 LIOTTA AND LLOYD’S STRATEGIC THINKING AND CONCEPTUAL FRAME WORK

โครงสร้างและกระบวนการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติของไทย 4 MINI - CASE STUDY 4.1 การมองสถานการณ์โลกและภูมิภาคโดยการศึกษายุทธศาสตร์ชาติและยุทธศาสตร์ทหารของสหรัฐอเมริกาในศตวรรษที่ 20 US COLD WAR STRATEGY US ENGAGEMENT AND ENLARGEMENT STRATEGY US TRANSITIONAL STRATEGY (1992) 4.2 การมองสถานการณ์โลกและภูมิภาคโดยการศึกษายุทธศาสตร์ชาติและยุทธศาสตร์ทหารของสหรัฐอเมริกาในศตวรรษที่ 21 US PRIMACY STRATEGY 4.3 ผลกระทบต่อยุทธศาสตร์ชาติและยุทธศาสตร์ทหารของไทย 5 งานมอบ 6 โครงสร้างและกระบวนการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติของไทย 7 ฝึกทำ MINI – CASE STUDY ร่วมกับผู้บรรยาย

1 กล่าวนำ “ความรู้ก็คือความรู้ เป็นของกลาง ไม่เข้าใครออกใคร ไม่ขึ้นต่อความชอบหรือไม่ชอบใจ ข้อสำคัญอยู่ที่การวางจิตใจต่อความรู้ให้ถูกต้อง โดยตระหนักว่าไม่ว่าเรื่องร้ายหรือเรื่องดี เป็นข้อมูลที่พึงรู้หรือต้องรู้ไว้ เพื่อให้มองสถานการณ์ออก หยั่งถึงเหตุปัจจัย จะได้แก้ปัญหาด้วยความรู้ เข้าใจใช้ปัญญา...ยิ่งรู้ละเอียดลึกลงไปเท่าไรก็ยิ่งดี มีแต่ช่วยให้แก้ปัญหาได้ถูกจุด ถูกทาง ได้ผล...” พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) 13 กุมภาพันธ์ 2554

กล่าวนำ (ต่อ) สัมมนา บรรยาย อ่านบทความ หนังสือ ตำรา วิธีการเรียน Mini case study War game (Active Learning) สัมมนา ทัศนศึกษา บรรยาย (Passive Learning) อ่านบทความ หนังสือ ตำรา

ภาวะอนาธิปไตย (ANACHY) 2 ความมั่นคงแห่งชาติ ภาวะอนาธิปไตย (ANACHY) โลกมีประมาณ 207 ประเทศ แก่งแย่งกันกินกันอยู่ เอารัดเอาเปรียบกันตลอดเวลา โดยไม่มีการควบคุมที่ดีพอ ไม่มีรัฐบาลโลก ไม่มีกฎหมายโลก ไม่มีตำรวจโลก ภาวะอนาธิปไตยหรือการขาดอำนาจเหนือรัฐชาติ ก่อให้เกิดปัญหาด้านความมั่นคงแก่ทุกประเทศเสมอเหมือนกันหมด เกิด POWER PROBLEMS เพราะทุกประเทศแข่งกันเสริมสร้างกำลังอำนาจกันทุกวิถีทาง SECURITY DILEMMA

FIVE POSSIBLE SOLUTIONS TO POWER PROBLEM 1. UNILATERAL - ISOLATION (สหรัฐฯ สมัยก่อน สคล.๒) - NEUTRAL (สวิสฯ) - GO IT ALONE (สหรัฐฯ สมัยบุช) 2. BALANCE OF POWER/ALLIANCE 3. COLLECTIVE SECURITY / COOPERATIVE SECURITY - LEAGUE OF NATIONS - ANGLO - SAXON ALLIANCE/BAC SECURITY - UNITED NATIONS - ADHOC COALITION (สงครามอ่าวฯ ครั้งที่ ๑) 4. WORLD EMPIRE THROUGH WORLD CONQUEST 5. VOLUNTARY WORLD FEDERATION

SECURITY OF THE NATION VERY OLD CONCEPT - OLDER THAN CONCEPT OF NATION - STATE SERIOUS DISCUSSION ABOUT SECURITY PROBLEMS AND INTERESTS IN NATIONAL SECURITY STUDIES DEVELOPED AFTER WW II

DEFINITION IN CONVENTIONAL TERMS , NATIONAL SECURITY MEANS PROTECTION OF TERRITORIAL INTEGRITY IN REAL TERMS , NATIONAL SECURITY INCLUDES PRESERVATION OF ALL KINDS OF OPERATIONAL SYSTEMS WITHIN A POLITICAL COMMUNITY INSIDE A STATE LEXICAL MEANING OF SECURITY REFERS TO PROTECTION FROM DANGER , FEELING SAFE AND FREE FROM DOUBT

JOHN HERTZ ( IDEA OF SECURITY DILEMMA ) : SELF – HELP ATTEMPTS OF NATIONS TO LOOK AFTER THEIR SECURITY LEADS TO RISING INSECURITY FOR OTHER NATIONS NATIONS INTERPRET THEIR OWN ACTIONS AS DEFENSIVE AND ACTIONS OF OTHERS AS POTENTIALLY THREATENING

WALTER LIPPMANN : A NATION HAS SECURITY WHEN IT DOES NOT HAVE TO SACRIFICE ITS LEGITIMATE INTERESTS TO AVOID WAR AND IS ABLE IF CHALLENGED TO MAINTAIN THEM BY WAR MICHAEL LOUW : NATIONAL SECURITY IS THE CONDITION OF FREEDOM FROM EXTERNAL PHYSICAL THREAT ……THE REAL AND TANGIBLE DANGER TO ITS SURVIVAL

SECURITY PROBLEMS OF BIG AND SMALL POWERS SURVIALS OF A NATION AS A TERRITORIAL, POLITICAL, SOCIO-ECONOMIC AND CULTURAL ENTITY IS PRIMARY AIM OF BIG AND SMALL NATIONS. BUT THEIR NATIONAL SECURITY PROBLEMS ARE DIFFERENT IN NATURE AND INTENSITY.

BIG POWERS SECURITY PROBLEMS OF BIG POWERS ESPECIALLY NUCLEAR-HAVES, WHICH SELDOM FACE DANGER OF VIOLATION OF TERRITORIAL INTEGRITY ARE 1. THREATS TO POSITION OF DOMINATION AND HEGEMONY THEY ENJOY IN INTERNATIONAL SYSTEM. 2. THREATS TO CONTROL AND INFLUENCE THEY WIELD, OVER DECISION MAKING PROCESSES OF REGIONAL POWERS AND SMALL POWERS.

3. THREATS TO IDEOLOGY/VALUE SYSTEM THEY BELIEVE IN AND WANT TO SPREAD AMONG NATIONS IN INTERNATIONAL DOMAIN. 4. THREAT TO THEIR TECHNOLOGICAL OFFENCE AND STANDARDS OF LIVING. 5. SECURITY PROBLEMS OF THEIR ALLIES AND ALLIANCE PARTNERS ARE ALSO TAKEN AS THREATS TO THEIR OWN SECURITY.

SMALL POWERS SMALL NATIONS GENERALLY FACE PROBLEMS OF SURVIVAL AS INDEPENDENT ENTITIES IN INTERNATIONAL SYSTEM. THEIR SHORTCOMING ARE SIZE, POLITICAL INSTABLILTY, ECONOMIC DEPENDENCE ON BIG POWERS, LINGUISTIC AND ETHNO-CULTURAL DIVERSITIES ETC. SMALL NATION ESPECIALLY NEWLY INDEPENDENT NATIONS AFTER WW II, FACED SECURITY THREATS WHICH WHERE MOSTLY INTERNAL.

SMALL NATIONS ARE SUSCEPTIBLE TO MANIPULATION IN INTERNATIONAL AFFAIRS BY BIG POWERS TO ENSURE THAT FRIENDLY OR NOMINEE GOVERNMENTS ARE INSTALLED.

ความมั่นคง . อาจนิยามในรูปของคำถามสำคัญ 1. ความมั่นคงสำหรับใคร . อาจนิยามในรูปของคำถามสำคัญ 1. ความมั่นคงสำหรับใคร 2. ความมั่นคงสำหรับค่านิยมอะไร 3. ความมั่นคงเท่าใดจึงพอ 4. อะไรเป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคง 5. ด้วยเครื่องมืออะไร 6. ค่าใช้จ่ายเท่าใด 7. ช่วงระยะเวลาใด . ความอยู่รอดของชาติ และการดำรงอยู่โดยปราศจากการคุกคามอัน ร้ายแรงจากภายนอกประเทศต่อค่านิยมหรือผลประโยชน์แห่งชาติ

ภัยคุกคามภายใน การถดถอยของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ผลผลิตคงที่ / ลดลง การสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ การแตกแยกสามัคคีของคนในชาติ การเสื่อมความศรัทธาในสถาบันครอบครัว ชาติ ศาสนา

การเสื่อมประสิทธิภาพของระบบการศึกษา จรรยาบรรณในการทำงานลดลง ความรู้สึกว่าถูกทอดทิ้งของคนจน ผู้สูงวัย และชนกลุ่มน้อย นักการเมืองขาดความรู้ด้านยุทธศาสตร์ ประชาชนขาดความไว้วางใจในตัวผู้นำ ทางการเมือง

INTERNAL THREAT WITH EXTERNAL LINKAGE เป็นภัยคุกคามภายนอกที่ใช้ภัยคุกคามภายในเป็นเครื่องมือ (MEANS)

ภัยคุกคามภายนอก Political Warfare : the offensive or defensive use ภัยคุกคามทางการเมือง : การใช้มาตรการทางการทูต การเจรจาตกลง และเครื่องมืออื่นๆ ที่ใช้ในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในทางรุก หรือทางรับเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ด้านความมั่นคงแห่งชาติโดยการเพิ่มขีดความสามารถของฝ่ายเดียวกันและลดหรือทำลายขีดความสามารถและศักยภาพของข้าศึก Regime Change ถ้าขัดกับผลประโยชน์แห่งชาติของมหาอำนาจ Political Warfare : the offensive or defensive use of diplomacy, negotiations, and other tools of international relations to achieve national security objectives by augmenting friendly capabilities and diminishing or neutralizing enemy capabilities and potential.

ภัยคุกคามทางเศรษฐกิจ : การใช้มาตรการทางการค้า โครงการช่วยเหลือประเทศต่างๆ การโอน /โยกย้ายเงิน และเรื่องอื่นๆเพื่อส่งผลกระทบต่อการผลิต การจำหน่าย และการบริโภคสินค้าและการบริการในทางรุกหรือทางรับ โดยมีเป้าหมายเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ด้านความมั่นคงของชาติ ด้วยการเพิ่มขีดความสามารถของฝ่ายเดียวกันและบั่นทอนหรือทำลายขีดความสามารถและศักยภาพของข้าศึก Economic Warfare : the offensive or defensive use of trade, foreign aid programs, financial transactions, and other matters that influence the production, distribution, and consumption of goods/services. Seek to achieve national security objectives by augmenting friendly capabilities and diminishing or neutralizing enemy capabilities and potential.

ภัยคุกคามทางทหาร : การใช้กำลังทหารกดดัน ข่มขู่ บีบบังคับประเทศเราให้ทำในสิ่งที่เขาต้องการ หรือให้หยุดการกระทำในสิ่งที่เขาไม่ต้องการ หากประเทศเราไม่ยินยอมก็ใช้กำลังทหารโจมตีรุกรานเพื่อลงโทษหรือยึดครอง เป็นเครื่องมือเด็ดขาด ที่ใช้ในขั้นสุดท้ายเมื่อ Means อื่นๆใช้แล้วไม่ได้ผล สร้างความเสียหายร้ายแรงที่สุด ปัจจุบันมีโอกาสใช้น้อยลง เพราะถูกจำกัดด้วยบทบัญญัติของ UN มติประชาคมโลกและอื่นฯ

ภัยคุกคามทางจิตวิทยา : การใช้การโฆษณาชวนเชื่อ และเครื่องมือที่เกี่ยวข้องเพื่อโน้มน้าวความคิดเห็นของข้าศึกในลักษณะที่ช่วยให้เราสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ด้านความมั่นคงแห่งชาติ บิดเบือนทั้งความคิดเห็น (Opinion) ความรู้สึก (Emotion) ท่าที (Attitude) และพฤติกรรม (Behavior) Psychological Warfare : The planned use of propaganda and related tools to influence enemy thought patterns in ways that further national security objectives.

ภัยคุกคามด้านสาธารณสุข ภัยคุกคามทางวัฒนธรรม (Cultural Warfare) : การวางแผนเปลี่ยนวัฒนธรรมของประเทศหนึ่งให้เหมือนวัฒนธรรมของอีกประเทศหนึ่ง คือให้เป็นพวกเดียวกัน นิยมวัฒนธรรมต้นแบบเหมือนกัน เพื่อให้สามารถโน้มน้าว จูงจมูกได้ง่าย โดยใช้ภาพยนตร์ โทรทัศน์ เพลง วิทยุ หนังสือพิมพ์ วารสาร อินเตอร์เน็ต อี-เมล แฟชั่น อาหารจานด่วน และ อื่นๆ ซึ้งสหรัฐฯชำนาญมากและเกาหลีกำลังรุกหนักด้วย แดจังกึม และอื่นๆ ภัยคุกคามด้านสาธารณสุข ยาเสพติดให้โทษ โรคระบาดต่างๆ เช่น Sars ไข้หวัดนก และอื่นๆ ที่อาจตามมาอีกในอนาคต

ภัยคุกคามจากการดำเนินการทางลับของประเทศอื่น การจารกรรม การสนับสนุนจัดตั้งรัฐบาลนอมินีหรือรัฐบาลที่เป็นฝ่ายเดียวกัน -เดิมสนับสนุนรัฐบาลเผด็จการที่มักมาจากการปฏิวัติ ปัจจุบันใช้วิธี ลงทุน ตั้งพรรคการเมือง ซื้อตัวนักการเมือง ซื้อเสียงการเลือกตั้งให้ นอมินีของตนได้รับชัยชนะได้จัดตั้งรัฐบาล ลงทุนจัดตั้ง NGO และสนับสนุน/ว่าจ้าง NGO อื่นๆต่อต้านการพัฒนาประเทศ -เช่นลงทุนสร้างกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมต่อต้านการสร้างเขื่อนกักเก็บน้ำสำหรับเพิ่มผลิตผลทางการเกษตร กับเพื่อป้องกันน้ำท่วม และผลิตไฟฟ้า การสร้างโรงงานไฟฟ้าถ่านหิน ฯลฯ เพื่อให้ต้องพึ่งพาน้ำมันของมหาอำนาจรวมทั้งการลงทุนสร้าง พระ ชี สมาคม ชมรม วัด ฯลฯเพื่อเป็นพลังอำนาจสำหรับใช้ในการดำเนินการให้สอดคล้องผลประโยชน์แห่งชาติของมหาอำนาจ

สนับสนุนการแบ่งแยกดินแดน อาชญากรรมข้ามชาติประเภท ORGANISED CRIMES โดยเฉพาะการค้ายาเสพติด การก่อวินาศกรรมโดยเฉพาะการโมตีด้วยอาวุธทำลายล้างสูงประเภทCBRNEการทำลายCRITICAL INFRASTRUCTURE เช่น สนามบิน ท่าเรือ รถไฟ ระบบสื่อสาร คมนาคม ระบบพลังงาน เขื่อนกักเก็บน้ำ อาหาร น้ำดื่ม รวมทั้งการก่อภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ฯลฯ

International Security Threats undermine the security of ……… Individual Society / State International System National Security International Security Personal Security Transnational organized crime Illegal entry Armed conflict Global pandemic Arms proliferation Failed/falling states Border security Aviation security Marine security Cyber security Terrorism Conflict not impacting directly on national security Environmental degradation Global poverty Domestic extremism Espionage Defense of nation and its sovereignty Critical Infrastructure CBRNE attack Crime/policing Economic Security (product/consumer protection) Health (e.g. food and water safety) Boating/highway safety Workplace safety Organized crime Identity theft Natural/man-made disasters and emergencies - Contamination of food/water supply - Domestic health Responsibility for Action Individual Community Provincial National Government Individual Community

CLASSICAL APPROACH TO SECURITY แนวคิดดั้งเดิมด้านความมั่นคงแยกเป็น 2 แนวทาง คือ -REALISM - IDEALISM

ความแตกต่างระหว่าง REALISM กับ IDEALISM การมองโลก(Perspective) National Global ความสนใจ(Attention) Role of National Interests Impact of Ideology = Global Interest เน้นการแสวงหา(Preoccupation) Security Liberty , Equality , Justice หลักประกัน ความสงบสุข(Peace Guarantor) Balance of Power Transnational Body eg UN เน้น(Focus) Pragmatic Demand of Long Term Trends Contributing Security Today to World Order Tomorrow. สรุป มองโลกตามความเป็นจริง มองโลกตามความเพ้อฝันอยากให้ ว่าโลกนี้โหดร้าย เป็นโลกที่ดี สายเหยี่ยว สายพิราบ - แก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี อนาคตปรับตัวตามโลก+ข้อกล่าวหา - กรรมการสมานฉันท์กรณี ของ Idealist เป็น Neo-Realist ปัญหา 3 จว.ชายแดนภาคใต้

RATIONAL APPROACH TO SECURITY DETERRENCE DISARMAMENT ARMS CONTROL

CONCEPT OF SECURITY THE PRESENT PHASE สหรัฐ ฯ บัญญัติศัพท์ความมั่นคงแห่งชาติก่อนจัดตั้งสภาความมั่นคงแห่งชาติ ( NATIONAL SECURITY COUNCIL-NSC) เมื่อ พ.ศ.2490 (ค.ศ.1947) แนวคิดดั้งเดิมเน้นการป้องกันประเทศจากการรุกรานทางทหารเป็นหลักในอดีตรัฐมักใช้สงครามเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ดังนั้นการมีกองทัพขนาดใหญ่อย่างเดียวก็สามารถรักษาความมั่นคงได้ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 องค์กรสหประชาชาติ มีบทบัญญัติห้ามใช้สงครามในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างรัฐ

CONCEPT OF SECURITY THE PRESENT PHASE ตั้งแต่ พ.ศ.2523 เป็นต้นมาแนวคิดใหม่ด้านความมั่นคงหันมาเน้นมิติด้านนโยบายต่างประเทศ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม Humanitarian Security, Security Community และ Human Security, จนกล่าวได้ว่า ความมั่นคง ในยุคปัจจุบันเป็น Comprehensive Security สหประชาชาติ แบ่งเป็น Traditional Security: War between States, Violence within States Non-Traditional Security: Economic and Social Threats, Proliferation of NRBC Weapons, Terrorism, Transnational Crimes

การสร้างความมั่นคง นโยบายด้านความมั่นคงของรัฐต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของ การตัดสิน(JUDGEMENT)และ การเลือก (CHOICES) 1 รัฐต้องตัดสินว่าอะไรเป็นผลประโยชน์ระดับ VITAL แล้วเตรียมตัวรักษาผลประโยชน์ดังกล่าว 2 SECURITY-JUDGEMENT ต้องคำนึงถึงสภาวะที่เปลี่ยนแปลงของรัฐ ความสัมพันธ์กับรัฐอื่นๆรวมทั้ง ความตั้งใจและ ขีดความสามารถของรัฐเหล่านั้น 3 ระดับของภัยคุกคามที่รัฐเผชิญต้องมีการพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนเลือกว่าจะลงทุนด้านความมั่นคงมากหรือน้อยเพียงใด 4 วิธีการรักษาความมั่นคงของแต่ละรัฐแตกต่างกันบางรัฐเลือกที่หลีกเลี่ยงอันตรายด้วยการเจรจาและการร่วมมือกันอย่างสันติแต่บางรัฐเลือกเผชิญหน้ากับอันตรายด้วยการทำสงครามและการแสวงหาพันธมิตร

การสร้างความมั่นคง การสร้างความมั่นคงในมิติต่าง ๆ ต้องมองไปในอนาคตซึ่งไม่มีความแน่นอนว่าอาจจะมีอะไรมาคุกคามความอยู่รอด ฯลฯ ที่เราตั้งไว้เป็น จุดมุ่งหมาย (ENDS) แล้วจัดเตรียม เครื่องมือ (MEANS) และคิดหา วิธีการ ( WAYS) ใช้เครื่องมือที่จะมี เพื่อเอาชนะภัยคุกคามดังกล่าว ซึ่งก็คือ การกำหนดยุทธศาสตร์

หลักการและกรอบแนวคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ 3 หลักการและกรอบแนวคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และกำลังรบ การกำหนดยุทธศาสตร์ ฯ ต้องนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก มาพิจารณาอย่างรอบคอบ ไม่มีวิธีการ แบบฟอร์มมาตรฐานแบบตายตัว มีแต่แบบที่สถาบันการศึกษาบางแห่งเสนอแนะเท่านั้น

สถาบันการศึกษาส่วนใหญ่นำเสนอเพียงกรอบแนวคิด (FRAMEWORK) ในการกำหนดยุทธศาสตร์และกำลังรบ ซึ่งให้แนวทางในการนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องมาพิจารณาตามขั้นตอนอย่างมีเหตุผลโดยไม่มีการปิดกั้นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงลำดับขั้นตอน การเพิ่มเติมและตัดทอนปัจจัยสำคัญที่เกี่ยวข้องแต่อย่างใด ตลอดระยะเวลากว่า 50 ปีที่ผ่านมา กรอบแนวคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ ฯ ส่วนใหญ่ได้รับการปรับปรุงแก้ไขมาโดยตลอด

Bartlett Model กรอบแนวคิดที่ 1 Strategy(Ways) Goals (Ends) Resource Constraint Strategy(Ways) Goals (Ends) Tools (Means) Security Environment Risk

SECURITY ENVIRONMENT FORCE , TREND : WHAT FACTORS ARE SHAPING THE SECURITY ENVIRONMENT ? THREAT , CHALLENGE : WHAT ARE WE UP AGAINST ? VULNERABILITY : WHAT ARE OUR SEVERE WEAKNESSES ? OPPORTUNITY : WHAT HELP US ?

ENDS NATIONAL PURPOSE / POSITIONING / ROLE / VISION : WHAT DO WE WANT TO BE? NATIONAL INTEREST : WHAT DO WE NEED/WANT ? NATIONAL OBJECTIVE : WHAT DO WE HAVE TO DO TO GET WHAT WE NEED/WANT ? NATIONAL POLICY : WHAT WE WANT TO DO , BOARD GUIDANCE AND RESTRICTION ?

MEANS (วิธีการ/เครื่องมือ : ในที่นี้หมายถึงเครื่องมือ) NATIONAL STRATEGY : HOW DO WE PLAN TO DO IT ? NATIONAL POWER : WHAT IS / WILL BE AVAILABLE TO DO IT ? RESOURCE CONSTRAINT : WHAT LIMIT THE BUILD-UP OF OUR TOOLS ? RISK : WHAT ARE THE MISMATCHES ? WAYS MEANS (วิธีการ/เครื่องมือ : ในที่นี้หมายถึงเครื่องมือ) RESOURCE CONSTRAINT RISK

Bartlett Model Strategy(Ways) Goals (Ends) Tools (Means) Risk Resource Constraint Strategy(Ways) Goals (Ends) Tools (Means) Security Environment Risk ตัวแปรตัวที่ 1

การพิจารณาสภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคง 3.1 การพิจารณาสภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคง การพิจารณาสภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคงต้องมองโลกและมองภูมิภาคตามความเป็นจริงเพื่อหา 1. แรงบังคับ (FORCE) 2. แนวโน้ม (TREND) 3. สิ่งท้าทาย (CHALLENGE) 4. ภัยคุกคาม (THREAT) จุดล่อแหลม (VULNERABILITY) 6. โอกาส (OPPORTUNITY) สถานการณ์โลกในปัจจุบัน สถานการณ์โลกในอนาคต ประเทศไทย

Bartlett Model Strategy(Ways) Goals (Ends) Tools (Means) Risk Resource Constraint Strategy(Ways) ตัวแปรตัวที่ 2 Goals (Ends) Tools (Means) Security Environment Risk

ENDS 3.2 วัตถุประสงค์แห่งชาติ NATIONAL OBJECTIVE (NO) ผลประโยชน์แห่งชาติ วัตถุประสงค์แห่งชาติและนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ผลประโยชน์แห่งชาติ NATIONAL INTEREST (NI) วัตถุประสงค์แห่งชาติ NATIONAL OBJECTIVE (NO) ENDS นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ NATIONAL POLICY (NP/NSP) ยุทธศาสตร์ชาติ NATIONAL STRATEGY (NS/NSS) NATIONAL POLITICAL STRATEGY NATIONAL ECONOMIC STRATEGY NATIONAL MILITARY STRATEGY (NMS)

3.2.1 ผลประโยชน์แห่งชาติ (NATIONAL INTERESTS)

CONCEPT OF NATIONAL INTEREST 15TH CENTURY – MACHIAVELLI AGAINST HELLENIC IDEALISM, JUDEO - CHRISTIAN BIBLICAL MORALITY AND TEACHINGS OF MEDIEVAL CHURCHMEN NOTHING CAN BE MORE MORAL THAN INTEREST OF STATE IMMORAL ENDS CAN BE EMPLOYED FOR ITS ATTAINMENT POWER RATHER THAN MORALITY IS THE CRUX.

HUMANS HAVE SOULS WHICH ARE JUDGED IN AN AFTERLIFE. ACCORDINGLY, HUMANS CAN BE HELD TO EXACTING STANDARDS OF BEHAVIOR WITH CURBS ON BEASTLY IMPULSES. - STATES, BEING ARTIFICIAL CREATIONS, HAVE NO SOULS. THEY HAVE LIFE ONLY IN THIS WORLD. IF STATE IS DESTROYED, IT HAS NO HEAVENLY AFTERLIFE. STATES CAN THUS TAKE HARSH MEASURES TO PROTECT THEMSELVES AND ENSURE SURVIVAL.

CLAUSEWITZ - ALL STATE BEHAVIOR IS MOTIVATED BY ITS NEED TO SURVIVE AND PROSPER. - TO SAFEGUARD ITS INTERESTS, STATE MUST RATIONALLY DECIDE TO GO TO WAR. - THERE SHOULD BE NO OTHER REASON FOR GOING TO WAR.

19TH CENTURY EARLY 20TH CENTURY - USA PURSUED ITS NATIONAL INTERESTS BY MEANS OF CASH AND FORCE IN RIDDING ITS CONTINENT OF NON-HEMISPHERIC POWERS. EARLY 20TH CENTURY - NATIONAL INTEREST IN USA TOOK BACK SEAT TO ETHICAL AND NORMATIVE APPROACHES TO INTERNATIONAL RELATIONS.

1930s REALISM ARRIVED IN USA - GERMAN ÉMIGRÉ HANS MORGENTHAU TOLD US THAT THEY MUST ARM AND OPPOSE FIRST THE AXIS AND THEN THE SOVIET UNION BECAUSE US PROFOUND NATIONAL INTERESTS WERE THREATENED. - AGAINST PRESIDENT WOODROW WILSON’S IDEALISM (LEGALISTIC - MORALISTIC APPROACH)

- IF STATES PURSUE ONLY THEIR RATIONAL SELF-INTERESTS, WITHOUT DEFINING THEM TOO GRANDLY, THEY WILL COLLIDE WITH OTHER STATES ONLY MINIMALLY. - IN MOST CASES, THEIR COLLISIONS WILL BE COMPROMISABLE, THAT IS THE FUNCTION OF DIPLOMACY.

1960s REALISM CAUGHT ON IN USA EARLY 1950s - A GREAT DEBATE RAGED IN ACADEMIC CIRCLES BETWEEN REALIST SCHOOL (POWER) AND IDEALIST SCHOOL (ETHICS AND MORALS) 1960s REALISM CAUGHT ON IN USA -1963 PAUL SEABURY 1973 DONALD E. NUECHTERLEIN 1970s JAMES N. ROSENAU

NATIONAL INTEREST : WHAT IS GOOD FOR THE NATION AS A WHOLE IN INTERNATIONAL AFFAIRS. PUBLIC/DOMESTIC INTEREST : WHAT IS GOOD FOR THE NATION AS A WHOLE IN DOMESTIC

STRATEGIC INTERESTS ARE SECOND-ORDER INTERESTS. THEY ARE CONCERNED WITH POLITICAL, ECONOMIC, AND MILITARY MEANS OF PROTECTING THE COUNTRY AGAINST MILITARY THREATS. PRIVATE INTERESTS ARE THOSE PURSUED BY BUSINESS AND OTHER ORGANIZATIONS OPERATING ABROAD AND NEEDING OUR GOVERNMENT SUPPORT.

NATIONAL INTEREST - PERCEIVED NEEDS AND ASPIRATIONS IN RELATION TO EXTERNAL ENVIRONMENT - NI DETERMINE OUR INVOLVEMENT WITH THE REST OF THE WORLD, PROVIDE FOCUS OF OUR ACTIONS TO ASSURE THEIR PROTECTION, AND ARE STARTING POINT FOR DEFINING NATIONAL SECURITY OBJECTIVES AND THEN FORMULATING NATIONAL SECURITY POLICY AND STRATEGY.

CATEGORIES OF NATIONAL INTEREST 1. DEFENSE OF HOMELAND 2. ECONOMIC WELL - BEING 3. FAVORABLE WORLD ORDER 4. PROMOTION OF VALUES

AS A RULE OF THUMB, INTERESTS ARE STATED AS FUNDAMENTAL CONCERNS OF NATION, AND WRITTEN AS DESIRABLE CONDITIONS WITHOUT VERBS, ACTION MODIFIERS, OR INTENDED ACTIONS EG ACCESS TO RAW MATERIALS UNRESTRICTED PASSAGE THROUGH INTERNATIONAL WATERS

SMART RULE SMART WAR COLLEGES IN USA SPECIFIC EXPLICIT,CLEAR AND PRECISE,FOCUSSED MEASURABLE BE A MEASURE OF SUCCESS, A WAY OF KNOWING WHEN OBJECTIVE HAS BEEN REACHED. ACCEPTABLE OR IN HARMONY WITH THE CONTEXT IN ACHIEVABLE WHICH THEY EXIST.BEST SOLUTION FOR SHORT AND LONG TERMS.ACHIEVABLE. REASONABLE OR COHERENT WITH/RELATE DIRECTLY TO RATIONAL OR INTEREST. APPROPRIATE. REALISTIC TIME FRAME FINITE

INTENSITY OF INTERESTS MORGENTHAU 1. VITAL INTERESTS - CONCERNS LIFE OF STATE - NO COMPROMISE - NO HESITATION ABOUT USING FORCE 2. SECONDARY INTERESTS - NO THREAT TO SOVEREIGNTY - CAN NEGOTIATE AND COMPROMISE

NUECHTERLEIN 1. SURVIVAL INTERESTS IMMINENT, CREDIBLE THREAT OF MASSIVE DESTRUCTIONS TO HOMELAND IF AN ENEMY STATE’S DEMANDS ARE NOT COUNTERED QUICKLY. (CRITICAL) 2. VITAL INTERESTS ARE POTENTIAL,EVEN PBOBABLE, BUT NOT IMMINENT DANGERS. NO COMPROMISE BEYOND THE POINT CONSIDERED TOLERABLE. (DANGEROUS)

3. MAJOR INTERESTS ARE IMPORTANT BUT NOT CRUCIAL TO WELL - BEING. NEGOTIATION AND COMPROMISE, RATHER THAN CONFRONTATION, ARE DESIRABLE. (SERIOUS) 4. PERIPHERAL INTERESTS DO NOT SERIOUSLY AFFECT WELL - BEING OF STATE AS A WHOLE. (BOTHERSOME)

USAWC 1. VITAL INTERESTS - IF UNFULFILLED, WILL HAVE IMMEDIATE CONSEQUENCE FOR CORE NATIONAL INTERESTS. 2. IMPORTANT INTERESTS - IF UNFULFILLED, WILL RESULT IN DAMAGE THAT WILL EVENTUALLY AFFECT CORE NATIONAL INTERESTS. 3. PERIPHERAL INTERESTS - IF UNFULFILLED, WILL RESULT IN DAMAGE THAT IS UNLIKELY TO AFFECT CORE NATIONAL INTERESTS

PERRY AND CARTER 1. “ A LIST “ THREATS LIKE THAT THE USSR ONCE PRESENTED TO U.S. SURVIVAL. 2. “ B LIST “ THREATS FEATURE IMMINENT THREATS TO US. INTERESTS, BUT NOT SURVIVAL SUCH AS NORTH KOREA OR IRAQ. 3. “ C LIST “ THREATS INCLUDE IMPORTANT CONTINGENCIES THAT INDIRECTLY AFFECT U.S. SECURITY BUT DO NOT DIRECTLY THREATEN U.S. INTERESTS. EG. KOSOVOS, BOSNIA, SOMALIAS, RWANDAS, AND HAITIS.

เลือกใช้วิธีแบ่ง INTENSITY แบบใดแบบหนึ่ง แล้วตีตาราง สรุป เลือกใช้วิธีแบ่ง INTENSITY แบบใดแบบหนึ่ง แล้วตีตาราง วิเคราะห์ผลประโยชน์แห่งชาติทุกข้อ National Interest หมายเหตุ Intensity SURVIVAL รบทันที VITAL รบถ้าล้ำเส้นที่กำหนด MAJOR เจรจา ,ประนีประนอม PHERIPHERAL อาจยอมกันได้

3.2.2 วัตถุประสงค์แห่งชาติ (NATIONAL OBJECTIVES) 3.2.2 วัตถุประสงค์แห่งชาติ (NATIONAL OBJECTIVES) NATIONAL OBJECTIVES ARE SPECIFIC GOALS A NATION SEEKS TO ADVANCE , SUPPORT , OR DEFEND NATIONAL INTERESTS. OBJECTIVE IS WHAT STRATEGY IS DESIGNED TO ACHIEVE NATIONAL OBJECTIVES:WHAT DO WE HAVE TO DO TO GET WHAT WE WANT / NEED ?

TO WIN MAY MEAN MANY THINGS 1. TO STOP ENEMY OBJECTIVES MUST BE “SMART” TO WIN MAY MEAN MANY THINGS 1. TO STOP ENEMY 2. TO CAUSE HIM TO WANT TO NEGOTIATE 3. TO DRIVE HIM FROM BATTLEFIELD 4. TO DESTROY HIS ARMY OR SINK HIS NAVY 5. MERELY TO PREVENT HIM FROM USING HIS FORCES

GOOD EXAMPLE IS JAPANESE ORDER “ INVADE AND OCCUPY MIDWAY ISLAND AND KEY POINTS IN THE WESTERN ALEUTIANS IN COOPERATION WITH THE ARMY IN ORDER TO PREVENT ENEMY TASK FORCES FROM MAKING ATTACKS AGAINST THE HOMELAND. DESTROY ALL ENEMY FORCES THAT MAY OPPOSE THE INVASION”

AN EFFECTIVE FIRST STEP IN ARTICULATING AN OBJECTIVE IS TO ATTACH AN APPROPRIATE VERB TO EACH PREVIOUSLY IDENTIFIED INTEREST INTEREST OBJECTIVE ACCESS TO RAW MATERIAL SECURE ACCESS TO RAW MATERIAL A REGION FREE OF CONFLICT DETER INTRAREGIONAL CONFLICT SURVIVAL OF COUNTRY X DEFEND COUNTRY X

3.2.3 นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ 3.2.3 นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (NATIONAL POLICY/NATIONAL SECURITY POLICY) National Policy = Selected National Objectives + Board Guidance + Restriction

Bartlett Model Strategy(Ways) Goals (Ends) Tools (Means) Risk Resource Constraint Strategy(Ways) Goals (Ends) Tools (Means) ตัวแปรตัวที่ 3 Security Environment Risk

3.3 พลัง/กำลังอำนาจแห่งชาติ พลัง/กำลังอำนาจแห่งชาติ 3.3 พลัง/กำลังอำนาจแห่งชาติ (NATIONAL POWER) พลัง/กำลังอำนาจแห่งชาติ (NATIONAL POWER) หรือ MEANS

3.3.1 CONCEPT OF POWER NATIONAL POWER NATIONAL INTEREST - STRENGTH/CAPACITY TO ACHIEVE NATIONAL INTEREST - FOCUS ON HOW STATE INFLUENCES OTHERS

A. TECHNIQUES OF INFLUENCE INFLUENCE = MONEY TO BE USED FOR ACHIEVING/ DEFENDING ENDS

B. PATTERN OF INFLUENCE - DEPEND ON FRIENDSHIP/ HOSTILITY, ENDS COMPATABILITY - ALLIES : PERSUASION AND REWARDS - HOSTILE : THREATS AND PUNISHMENTS

C. DYNAMIC ASPECT OF POWER - TECHNOLOGY, WAR, ECONOMIC GROWTH, DISCOVERY/DEPLETION OF RESOURCES ETC. KEEP POWER IN FLUX D. CONTEXTUAL ASPECT OF POWER - CAN BE MEASURED ONLY IN RELATION TO ADVERSARY/SITUATION BEING EXERCISED

A. NATURAL DETERMINANTS OF POWER 3.3.2 ELEMENTS OF POWER A. NATURAL DETERMINANTS OF POWER 1. GEOGRAPHY - INFLUENCES OUTLOOK AND CAPABILITY POPULATION - NUMBER, QUALITY NATURAL RESOURCES - FOOD, ENERGY, MINERALS

B. SOCIAL DETERMINANTS OF POWER 1. ECONOMY - INDUSTRIAL STRENGTH, TECHNOLOGICAL INNOVATION - MONEY, LAW - KNOWLEDGE MILITARY - PRIMARY MANIFESTATION OF NATIONAL POWER IN THE PAST

POLITICAL PSYCHOLOGICAL - CAN GOVERNMENT BRING POTENTIAL POWER OF THE NATION TO BEAR UPON A PROGRAM PSYCHOLOGICAL - NATIONAL WILL AND MORALE

3.3.3 ASSESSMENT OF POWER Pp = ( C + E + M ) x ( S + W )

คะแนนเต็ม Pp = Perceived Power 1,000 C = Critical Mass : Population,Territory 100 E = Economic Capacity : GNP etc 200 M = Military Capability 200 S = Strategic Purpose 1 W = Will to pursue National Strategy 1

C,E,M เป็นปัจจัยที่จับต้องได้ (TANGIBLE) จึงพอกำหนดค่าตัว เลขได้อย่างมีหลักเกณฑ์บ้าง แต่ S และ W เป็นปัจจัยที่จับต้องไม่ได้ (INTANGIBLE) ต้องใช้ความรู้สึกเป็นหลัก ค่าตัวเลขของปัจจัยส่วนใหญ่เปลี่ยนทุกวินาที แต่พออาศัยเป็นเกณฑ์เปรียบเทียบอย่างหยาบๆได้

3.3.4 INSTRUMENTS OF STATE POWER 1. PERSUASIVE INSTRUMENTS 2. COOPERATIVE INSTRUMENTS 3. COERCIVE INSTRUMENTS

PERSUASIVE INSTRUMENTS - PRIMARILY USED IN PURE DIPLOMATIC PERSUASION INTERNATIONAL ORGANIZATION INTERNATIONAL LAWS PUBLIC DIPLOMACY IN INFORMATION AGE

COOPERATIVE INSTRUMENTS - PRIMARILY USED IN NEGOTIATING WITH POSITIVE INCENTIVES (PROMISES / REWARDS) ALLIANCES FOREIGN ASSISTANCE TRADE POLICY

COERCIVE INSTRUMENTS - PRIMARILY USED IN BARGAINING WITH PRESSURE OF THREATS OR ACTUAL PUNISHMENTS (COERCIVE DIPLOMACY) SANCTIONS COVERT ACTIONS FORCE AND DIPLOMACY ECONOMIC WAR EMPLOYMENT OF MILITARY FORCE (ULTIMATE COERCIVE INSTRUMENT)

“BY ALL NECESSARY MEANS” WHY PRIMARILY ? ALTHOUGH INTERNATIONAL ORGANIZATIONS ARE USUALLY USED IN PURELY PERSUASIVE MULTILATERAL DIPLOMACY, ON OCCASION THEY CAN AND DO ACT IN VERY COERCIVE WAYS, AS UN DID WHEN IT AUTHORIZED REMOVAL OF IRAQI FORCES FROM KUWAIT “BY ALL NECESSARY MEANS”

STRATIGISTS MUST UNDERSTAND CHARACTERISTICS, STRENGTHS AND WEAKNESS OF ALL INSTRUMENTS OF STATE POWER DISTINCTION BETWEEN LATENT / POTENTIAL POWER (INHERENT IN NATION’S NATURAL RESOUCES, TALENTS OF PEOPLE, ITS ECONOMY’S PRODUCTIVE CAPACITY, ETC.) AND ACTUAL / MOBILIZED POWER (DEPEND ON GOVERNMENT’S CAPACITY TO EXTRACT RESOURCES FROM ECONOMY AND USE THEM TO PRODUCE USABLE INSTRUMENTS OF STATECRAFT) - REAL POWER & PERCEIVED POWER - ABSOLUTE POWER & RELATIVE POWER

STRATEGISTS MUST MAKE CRITICAL DECISIONS ABOUT POWER ON THREE LEVELS 1. ON PROPER BALANCE BETWEEN POTENTIAL AND MOBILIZED POWER 2. ON WHICH TOOLS OF STATECRAFT THE STATE OUGHT TO BUY 3. ON HOW TO USE THOSE TOOLS EFFECTIVELY TO ADVANCE OR DEFEND THE NATION’S INTERESTS

INSTRUMENTS OF STATE POWER ARE OFTEN CATEGORIZED AS 1. POLICICAL / DIPLOMATIC 2. ECONOMIC 3. MILITARY 4. INFORMATION - SOMETIMES ADDED AS A FOURTH GROUPING

Bartlett Model Strategy(Ways) Goals (Ends) Tools (Means) Risk Resource Constraint Strategy(Ways) ตัวแปรตัวที่ 4 Goals (Ends) Tools (Means) Security Environment Risk

3.4 ข้อจำกัดด้านทรัพยากร (RESOURCE CONSTRAINT) งบประมาณ วัสดุ เทคโนโลยี คน เวลา ความรับผิดชอบและอำนาจหน้าที่ อิสรภาพในการดำเนินการและการสนับสนุนที่ได้รับจากการเมือง

Bartlett Model Strategy(Ways) Goals (Ends) Tools (Means) Risk Resource Constraint Strategy(Ways) ตัวแปลตัวที่ 5 Goals (Ends) Tools (Means) Security Environment Risk

3.5 ยุทธศาสตร์ What is Strategy? corporate etc. 1. Strategy is about shaping the future for your nation, armed forces, corporate etc. Strategy is used to figure out how to achieve your purpose , imagination, ambition etc. Strategy is about thinking your way to new possibilities from where you are now. 2. Strategy is about seeing the bigger picture Understanding the various parts of the world system and how they work. Take them apart and putting them back together again in a more powerful way.

Otherwise all National Interests and Threats will be equal and 3. Strategy relates Ends to Limited Means available to achieve ends Strategy is like Economy , but Strategy has adversary actively opposes the achievement of ends. 4. Strategy helps Clarify Ends by establishing Priorities Otherwise all National Interests and Threats will be equal and Ends will far outstrip Means. Without Strategy we will defend everything.

6. Creating Strategy is about Finding advantages. 5. Strategy conceptualizes Resources as Means in support of Policy Resources are not Means until Strategy provides some understanding of how they will be organized and employed for example Defence Budget and Manpower are Resources which Strategy organizes them into Divisions, Fleets and Air Wings. 6. Creating Strategy is about Finding advantages. Not to win battles but lose the war Strategy is never complete : need to react to events and adapt to opponents What to do about the bigger picture : not todays objective but making strategic decisions that leave you ready to do new great things in the future.

Origin and Evolution of Strategy Ancient Strategy The words Strategy has its origins in the Greek word Strategos which means General or someone who has an Army (stratos) to lead. 2. It was first used in Athens (508 BC / BE 35) to describe the art of Leadership used by the ten generals on the war council. They developed principles of effective leadership and achieving objectives. This included approaches to war and motivating soldiers. 3. Similar concepts about Strategy emerged in Asia most famously in Sun Tzu’s Art of War (written 200 BC / BE 343) which is still bought by people today. Sun Tzu listed different principles that leaders may follow to win and achieve their goals.

การศึกษาเรื่องยุทธศาสตร์ เดิมการศึกษาเรื่องยุทธศาสตร์เป็นการศึกษาบทเรียนจากประวัติศาสตร์ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐฯสนับสนุนให้องค์กรภาครัฐบาลและองค์กรภาคธุรกิจเอกชนรวมทั้งมหาวิทยาลัยทำการศึกษาเรื่องยุทธศาสตร์แล้วจัดทำเป็นวิชาการอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างหลักสูตรการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ทั้งด้านการบริหารงานขององค์กรภาครัฐบาลและองค์กรภาคธุรกิจเอกชน และด้านความมั่นคงแห่งชาติ

ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารงาน การศึกษาเรื่องยุทธศาสตร์ทั้งในองค์กรภาครัฐบาลและองค์กรภาคธุรกิจเอกชนมีการพัฒนาคู่ขนานกันมาตั้งแต่ช่วงปี 1950-1960 โดยตั้งแต่ปี 1970 เป็นต้นมาก็ได้รับความสนใจมากขึ้นเรื่อยๆในองค์กรภาครัฐบาลและกลายเป็นหลักสูตรหนึ่งด้านการบริหารธุรกิจของสถาบันระดับอุดมศึกษาในสหรัฐฯ ต่อมาเนื้อหาในหลักสูตรนี้ได้ขยายกว้างขึ้นอีกทั้งในสหรัฐฯและยุโรปจนเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในปัจจุบันในชื่อ วิชาการจัดการเชิงยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ ( STRATEGIC MANAGEMENT )

หมายเหตุ ในยุทธศาสตร์ด้านการบริหารงาน Strategy มาก่อน Policy แต่ในยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงแห่งชาติPolicy ซึ่งกำหนดโดยฝ่ายการเมือง ต้องมาก่อน Strategy

กระบวนการจัดการเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Management Process) การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน การทบทวนสถานภาพขององค์กร การจัดวางทิศทางขององค์กร ภารกิจขององค์กร วัตถุประสงค์ขององค์กร การทบทวนภารกิจและวัตถุประสงค์ขององค์กร การกำหนดยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ระดับแผนงาน ยุทธศาสตร์ระดับโครงการ ยุทธศาสตร์ระดับกิจกรรม การประเมินผลแผนงาน การประเมินผลงาน/โครงการ การประเมินผลกระบวนการ การปฏิบัติงานตามยุทธศาสตร์ โครงสร้างขององค์กร วัฒนธรรมองค์กร การติดตามผลการปฏิบัติงาน การควบคุมยุทธศาสตร์ การติดตามผลการปฏิบัติงาน การประเมินผล การทบทวน

แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) Blue Ocean Strategy Red Ocean Competition Blue Ocean No Competition

ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงแห่งชาติ ในช่วงแรก Concepts , Definitions และ Process ของการกำหนดยุทธศาสตร์ของชาติ ของสหรัฐฯ ถูกเก็บเป็นความลับ หน่วยศึกษาทั้งหลายล้วนต่างใช้โครงสร้างยุทธศาสตร์ของตนเป็นหลัก ในช่วงนั้นการศึกษา Concepts ต่างๆยังไม่ละเอียดลึกซึ้ง Definitions ก็ยังคลุมเครือไม่ชัดเจนโดยเฉพาะ ENDS ไม่เข้าข่าย Smart ซึ่งผิดหลักการตั้งแต่ต้น ต่อมา Concepts , Definitions และ Process และโครงสร้างยุทธศาสตร์ชาติของสภาความมั่นคงแห่งชาติสหรัฐฯ เป็นที่เปิดเผยมากขึ้นในทศวรรษที่ 1980 สถาบันการศึกษาและประเทศต่างๆ ได้เปลี่ยนตามสภาความมั่นคงแห่งชาติสหรัฐฯ กันเป็นส่วนใหญ่ รวมทั้งประเทศอังกฤษซึ่งเพิ่งจัดทำยุทธศาสตร์ชาติฉบับเปิดเป็นครั้งแรกในปี 2012

2. POLIITICAL/ECONOMIC/MILITARY STRATEGY ระดับของยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ หมายถึง วิธีการ(WAYS) ที่จะนำ เครื่องมือ (MEANS) ที่มีอยู่อย่างจำกัด มาใช้อย่างดีที่สุดให้บรรลุจุดมุ่งหมาย (ENDS) ที่ตั้งไว้ ยุทธศาสตร์มีหลายระดับ 1. GRAND/NATIONAL/NATIONAL SECURITY STRATEGY 2. POLIITICAL/ECONOMIC/MILITARY STRATEGY 3. THEATER/OPERATIONAL STRATEGY

ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ชาติ ควรมีความคิดในทางปฏิบัติที่ชัดเจนว่าจะใช้ กำลังอำนาจของชาติด้านเศรษฐกิจ การเมืองระหว่างประเทศ และ การทหารอย่างไร เพื่อให้บรรลุผลประโยชน์ และวัตถุประสงค์แห่งชาติ

ยุทธศาสตร์ในระดับรองลงมาจากยุทธศาสตร์ชาติ คือ ยุทธศาสตร์ของแต่ละสาขากำลังอำนาจแห่งชาติ (NATIONAL POWER) ซึ่งต้องมีรายละเอียดมากขึ้น 1. ยุทธศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศ (NATIONAL POLITICAL STRATEGY) ควรบ่งบอกว่าประเทศเรา หวังจะบรรลุเป้าหมายสูงสุดโดยการติดต่อสื่อสารกับรัฐบาล ประเทศต่าง ๆ ทั้งโดยตรงและในเวทีการเมืองระหว่าง ประเทศอย่างไร

2. ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ (NATIONAL ECONOMIC STRATEGY) ควรชี้ให้เห็นว่าประเทศเรา ตั้งใจจะปรับอัตราการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ หรือปรับบทบาทในเวทีการค้าโลกอย่างไร จะใช้กำลังอำนาจแห่งชาติด้านเศรษฐกิจอย่างไร เช่นข้อตกลง ด้านการค้า การให้ความช่วยเหลือ แหล่งเงินกู้/เงินยืม ภาษี การใช้จ่ายของรัฐบาล การให้เงินอุดหนุน SANCTION ฯลฯ

3. ยุทธศาสตร์ทหาร (NATIONAL MILITARY STRATEGY) ควรสนับสนุนยุทธศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศ ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ ฯลฯ และควรชี้ให้เห็นว่าประเทศเรา จะใช้ กำลังทหารเพื่อป้องปราม ป้องกัน โน้มน้าว หรือบีบบังคับ ประเทศอื่นอย่างไร และภายใต้เงื่อนไขอะไร

ยุทธศาสตร์ทหาร ศิลป์และศาสตร์ในการใช้กำลังกองทัพเพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์แห่งชาติ โดยการใช้กำลังหรือคุกคามด้วยกำลัง เป็นการใช้กำลังทหารใน ยามสงบ และ ยามสงคราม

ในยามสงบ PROGRAM DECISIONS – STRENGTH OF MILITARY FORCES, PEACETIME PLANS AND POLICIES DESIGNED TO ENHANCE NATIONAL POWER IN ORDER TO PREVENT OR WIN WAR. MILITARY STRATEGY PROVIDES A GUIDE TO PROGRAM DECISIONS – STRENGTH OF MILITARY FORCES, THEIR COMPOSITION AND READINESS, NUMBER, TYPE, AND RATE OF DEVELOPMENT OF WEAPONS ; AND POSTURING – HOW MILLITARY FORCES ARE DEPLOYED DURING PEACETIME TO DETER WAR

การใช้ยุทธศาสตร์ทหารเป็นพื้นฐาน ในการกำหนดโครงสร้างกำลังรบ การวิเคราะห์โครงสร้างกำลังรบเพื่อให้ได้กำลังรบรวมถึงจำนวน ลักษณะ ขนาด และเป้าหมายการเสริมสร้างกำลังรบในระยะปานกลาง ใช้ยุทธศาสตร์ ทหารระยะปานกลางที่ได้พัฒนามาแล้วเป็นหลัก แบ่งเป็น 4 ขั้นตอน 1. วิเคราะห์ลักษณะของภัยคุกคามทางทหารอย่างละเอียด 2. ประมาณความต้องการกำลังรบหลัก เพื่อต่อสู้ภัยคุกคามในขั้นที่ 1 โดย กำหนดขีดความสามารถของกำลังรบและอาวุธก่อน แล้วจึง กำหนด ลักษณะ ขนาด จำนวนของกำลังรบและอาวุธ 3. วิเคราะห์โครงสร้างกำลังรบต่าง ๆ เพื่อเลือก – ซึ่งจำเป็นสำหรับการ ดำเนินการตามยุทธศาสตร์ทหารที่กำหนด 4. กำหนดเป้าหมายการเสริมสร้างกำลังรบ – กำหนดว่าในอนาคตจะมี กำลังรบอะไรบ้าง (กำลังรบเดิมยังคงประจำการอยู่ กำลังรบที่ปรับปรุงใหม่ และกำลังรบที่จัดสร้างหรือจัดหาใหม่)

THE LOGIC OF FORCE PLANNING

Strategic Thinking and Conceptual Frameworks Liotta and Lloyd’s Strategic Thinking and Conceptual Frameworks

ในยามสงคราม APPLICATION OF FORCE IN WARTIME TO ACHIEVE GOALS OF NATIONAL POLICY. MILITARY STRATEGY GUIDES THE EMPLOYMENT OF MILITARY FORCE IN PURSUIT OF VICTORY

COHERENT STRATEGY ยุทธศาสตร์ที่ถูกต้อง สอดคล้องต้องกันอย่างต่อเนื่อง และชัดเจนเข้าใจง่าย ไม่วกวนเรื่อยเปื่อย ได้สาระสำคัญ จับต้นชนปลายลำบาก (COHERENT STRATEGY) เป็นกุญแจสำคัญต่อความสำเร็จของทุกสถาบันไม่ว่าจะเป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจ มหาวิทยาลัย กองทัพ หรือประเทศชาติ

FIVE TRAPS IN DEVELOPING AND IMPLEMENTING ALL STRATEGIES. 1. CONTEXT 2. OBJECTIVE : ต้องตรวจสอบ SMART ASSUMPTIONS - แทรกในทุกอนูของ ยศ. - ต้องแยกข้อเท็จจริงกับสมมุติฐาน 4. CAPABILITIES 5. COSTS : คุ้มค่าหรือไม่

CONTEXT ENVIRONMENT IN WHICH STRATEGY IS EXPECTED TO WORK EXTERNAL FORCES WHICH WILL INFLUENCE SUCCESS OR FAILURE OF MILITARY STRATEGY AN APPRECIATION OF WHAT IS POSSIBLE. STRATEGY INSENSITIVE TO THESE FACTORS IS OUT OF STEP WITH REALITY 1. MOOD OF COUNTRY

2. ITS REACTION TO RECENT PAST 3. ITS WILL TO INITIATE AND SEE MILITARY INITIATIVES THROUGH 4. ITS PERCEPTION THAT VITAL INTERESTS ARE AT STAKE 5. ESTEEM IN WHICH MILITARY IS HELD 6. PREVALENCE OF OVERRIDING MILITARY IDEAS OR FADS 6.1 EARLY 1900s MAHAN 6.2 AFTER WORLD WAR I DOUHET

OBJECTIVE OBJECTIVE IS WHAT STRATEGY IS DESIGNED TO ACHIEVE IT SHOULD BE A MEASURE OF SUCCESS, A WAY OF KNOWING WHEN OBJECTIVE HAS BEEN REACHED MUST BE CLEAR AND PRECISE

AFTER OBJECTIVE IS CLEARLY LAID OUT, IT MUST BE ASSESSED AGAINST PROBLEM IT IS DESIGNED TO SOLVE 1. WILL IT BE THE BEST SOLUTION FOR THE SHORT AND LONG TERMS ? 2. DOES THE MILITARY OBJECTIVE RELATE DIRECTLY TO A POLICY OBJECTIVE ? 3. ARE BOTH IN HARMONY WITH THE CONTEXT IN WHICH THEY EXIST ?

ASSUMPTIONS ASSUMPTIONS MUST BE UNCOVERED IN EVERY PART OF STRATEGY. RISK IS TAKEN FOR EVERY ASSUMPTION MADE. TRULY DANGEROUS ASSUMPTION ARE THE ONES EVERYONE ACCEPTS AS TRUTHS AND SO ARE OFTEN NOT EXPLICITLY CONSIDERED.

PRECISION IS VITAL . WHAT ASSUMPTIONS HAVE BEEN MADE ABOUT PUBLIC REACTION OR SUPPORT ? WEATHER ? TRAINING ? WILL? THE CONDITION OF THE ENEMY ? HIS DISPOSITION ? ENDURANCE ? FRICTION ? THE FOG OF WAR ?

ASSUMPTIONS ARE INTERWOVENED THROUGHOUT STRATEGY, SOMETIMES DIFFICULT TO ISOLATE AND OFTEN UNSPECIFIED. ASSUMPTIONS ON WHICH KEY ELEMENTS OF STRATEGY REST MUST BE IDENTIFIED AND TESTED

AT JUTLAND IN WWI, IT WAS ASSUMED A MAJOR BATTLE FLEET ENGAGEMENT WOULD BE DECISIVE. BECAUSE STAKES SEEMED SO HIGH, NEITHER BRITISH NOR GERMAN FLEETS WERE WILLING TO FULLY ENGAGE AND RISK SUBSTANTIAL LOSS OR DEFEAT.

AT SALAMIS IN 480 BC, PERSIA ASSUMED SHIP NUMBERS WERE PARAMOUNT. ITS FLEET, WHICH IS THREE TIMES LARGER, SHOULD EASILY DEFEAT GREEK FLEET. HOWEVER, GREEK LURED PERSIA INTO NARROW SEA OF SALAMIS WHERE GEOGRAPHY EQUALIZED THE SIZE OF THEIR FLEET AND THE GREEK WON THE BATTLE.

CAPABILITIES PHYSICAL CAPABILITIES ARE NOT AS STRAIGHT FORWARD AS THEY SEEM 1. SIZE OF LIKE FORCES MUST BE ASSESSED 2. BALANCE OF OPPOSING FORCES MUST BE ASSESSED 3. ABILITY TO USE EQUIPMENT EFFECTIVELY NEEDS TO BE ASSESSED - BECAUSE POTENTIAL EFFECTIVENESS IS DIFFICULT TO QUANTIFY AND MUCH MUST BE ASSUMED, IT IS ESPECIALLY IMPORTANT TO CONSIDER EXPLICITLY

CAPABILITIES - IT RELATES TO FACTORS LIKE ADEQUATE PERSONNEL STATE OF TRAINING WILL INITIATIVE UPKEEP READINESS AVAILABILITY SUPPORT SUSTAINABILITY

CAPABILITIES HOW PROBABLE IS IT THAT FORCES EARMARKED FOR ONE THEATER WILL BE RELEASED FOR USE IN ANOTHER THEATER ? WHAT IS THE PROBABILITY ADEQUATE SEALIFT CAN BE ASSEMBLED IN A PORT OF EMBARKATION WITHIN A CERTAIN PERIOD OF TIME ? HOW REALISTIC IS THE ASSESSMENT OF INTENSITY OF CONFLICT AND OUR ABILITY TO SUSTAIN THAT INTENSITY

COSTS STRATEGY MUST INDICATE WHAT COSTS A NATION WILL AND IS ABLE TO BEAR TO ACHIEVE THE OBJECTIVE IS THERE A LIMIT TO AMOUNT OF MONEY GOVERNMENT WILL SPEND, THE AMOUNT OF EQUIPMENT IT WILL LOSE, AND THE NUMBER OF CASUALTIES IT IS WILLING TO SUSTAIN ?

AT WHAT POINT WILL THE MEANS BECOME EXCESSIVE TO THE ENDS ? IF THIS IS NOT EXPLICITLY STATED, THEN STRATEGY IS OPEN – ENDED AND SETS THE STAGE FOR PROGRESSIVELY GREATER INVOLVEMENT THAN THE ORIGINAL OBJECTIVES JUSTIFIES COST ALREADY INCURRED OFTEN BECOME THE REASON FOR CONTINUING AND MAY WELL BE INADEQUATE GROUNDS FOR PROLONGING A CONFLICT

IT MAKE SENSE TO DENY COST INFORMATION TO ENEMY BUT IT MAKES NO SENSE NOT TO ASSESS ONE’S OWN COSTS AND LIMITS EXPLICITLY IN PLANNING IF A REASONABLE OBJECTIVE IS TO BE PROPOSED. VIETNAM IS THE OBVIOUS EXAMPLE OF ENDS BEING OVERTAKEN BY MEANS AND THEN BEING DRIVEN BY THEM

Bartlett Model Strategy(Ways) Goals (Ends) Tools (Means) Risk Resource Constraint Strategy(Ways) Goals (Ends) Tools (Means) Security Environment ตัวแปรตัวที่ 6 Risk

ความเสี่ยง (RISK) STRATEGISTS : ENDS-MEANS MISMATCH POLICY-STRATEGY MISMATCH FORCE PLANNERS : FORCE-RESOURCE MISMATCH STRATEGY – FORCE MISMATCH MODIFY ENDS CHANGE MEANS REVISE RESOURCE REVISE STRATEGY REEVALUATE RISKS

กรอบแนวคิดที่ 2 DIXON’S FRAMEWORK FOR STRATEGY FORMULATION PROCESS

กรอบแนวคิดที่ 3 Liotta and Lloyd’s Strategic Thinking and Conceptual Frameworks

4 MINI – CASE STUDY

US EMPIRE/US HEGEMONY/NEW WORLD ORDER IMPERIALIST AND COLONIAL SYSTEM (BRITISH EMPIRE) BALANCE OF POWER (MULTIPOLAR WORLD WAR ONE COLLECTIVE SECURITY (LEAGUE OF NATIONS) WORLD WAR TWO COLLECTIVE SECURITY (UNITED NATIONS) COLD WAR (BIPOLAR) US EMPIRE/US HEGEMONY/NEW WORLD ORDER (US PRIMACY STRATEGY)

สรุปสถานการณ์ในภาพรวมในช่วงสงครามเย็น 4.1 การมองสถานการณ์การโลกและภูมิภาคโดยการศึกษายุทธศาสตร์ชาติและยุทธศาสตร์ทหารของสหรัฐฯในศตวรรษที่ 20 สรุปสถานการณ์ในภาพรวมในช่วงสงครามเย็น ผลประโยชน์แห่งชาติ สหภาพโซเวียต โลกที่เป็นคอมมิวนิสต์ (UNIVERSAL COMMUNISM) สหรัฐอเมริกา โลกที่เป็นประชาธิปไตยและมีระบบการค้าเสรี(UNIVERSALDEMOCRACY AND FREE TRADE)

วัตถุประสงค์แห่งชาติ สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา ครอบครองโลก (WORLD DOMINATION) สหรัฐอเมริกา ป้องกันไม่ให้โซเวียตครอบครองโลก (PREVENT WORLD DOMINATION BY THE SOVIET UNION) 142

นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ สหภาพโซเวียต ขยายอำนาจอย่างต่อเนื่อง (PROGRESSIVE EXPANSION) สหรัฐอเมริกา ยับยั้งการขยายอำนาจของโซเวียต (STOP SOVIET EXPANSION) ยุทธศาสตร์ชาติ สหภาพโซเวียต ปฏิวัติโลก (WORLD REVOLUTION) สหรัฐอเมริกา ปิดล้อมโซเวียต (CONTAINMENT OF THE SOVIET UNION) 143

U.S. COLD WAR STRATEGY Security Environment Soviet seeked world dominance by expanding communist revolutions worldwide National Policy Prevent Soviet expansion without having going to war with the USSR. No first use of Chemical, Biological, Nuclear and Radiological Weapons. Geographic Focus Global National Strategy Containment Strategy

Military Strategy Descriptors : 1. “Flexible Response” (Nuclear/Conventional Integration) 2. Collective Defense /Alliances 3. Forward Defense 4. Rapid Reinforcement 5. Mobilization Potential 6. Technological superiority Required Capabilities 1. Deter/Defeat Soviet Nuclear/Conventional Attack 2. Control “ Lesser Included Cases ” (Contingencies)

Force Implications Nuclear Triad : Robust / High Readiness Countervalne / Counterforce Land Forces : Forward Based “Heavy” European Emphasis Maritime Forces : Deterrence Sea Control Deep Strike Aerospace Forces : Surveillance/Counterstrike of USSR Air Superiority Air Land Battle Follow-on Echelons

U.S. TRANSITIONAL STRATEGY (1992) Security Environment U.S. as sole world power after USSR collapsed. No peer rival. National Policy Maintain Regional Stability/ Deter Regional Aggression with superior military forces. No first use of Chemical, Biological, Nuclear and Radiological Weapons. Geographic Focus Critical Regions – Middle East, NE Asia, SE Asia National Strategy Selective Engagement Military Strategy Descriptors : 1. Strategic Deterrence/Defense 2. Forward Presence (Vice Forward Defense) 3. Crisis Response 4. Reconstitution

Required Capabilities 1. Project Power Against Regional Threats 2. Fight / Win Multiple Regional Crisis 3. Joint Littoral Operations Force Implications “ Base Force ” Nuclear Triad : Smaller Lower Readiness Declining Priority Slower Modernization Land Forces : “ Expeditionary ” Global Flexibility Maritime Forces : Littoral Expeditionary Presence/Crisis Response Aerospace Forces : “ Recon / Strike ” System Information Warfare Air Superiority

ENGAGEMENT AND ENLARGEMENT STRATEGY Security Environment U.S. as sole world power with no peer rival. National Policy Maintain Regional Stability/ Deter Regional Aggression with superior military forces. No first use of Chemical, Biological, Nuclear and Radiological Weapons. Geographic Focus Critical Regions – Middle East, NE Asia National Strategy Melded Selective Engagement and Cooperative Security into Engagement and Enlargement Strategy Military Strategy Descriptors : 1. Peacetime Engagement 2. Conflict Prevention 3. War Fighting – Fight and Win Promote Stability Thwart Aggression

Required Capabilities 1. Project Power Against Regional Aggressors 2. Fight / Win 2 nearly simultaneous Major Regional Conflicts (MRC) 3. Conduct Multilateral / Unilateral MOOTW 4. Maintain Overseas Presence 5. Joint Littoral Operations Force Implications Nuclear Triad : Much Smaller Low Readiness Delayed Modernization Land Forces : All Components : Maintain Forces Maritime Forces : for power projection plus conduct Aerospace Forces : of MOOTW

การมองสถานการณ์การโลกและภูมิภาคโดยการศึกษายุทธศาสตร์ชาติ และยุทธศาสตร์ทหารของสหรัฐฯในศตวรรษที่ 21 U.S. PRIMACY STRATEGY

US ENDS The sole superpower after Cold War Options 1. Isolation 2. Collective Security / Selective Engagement 3. Hegemony USA selected Hegemony as its ENDS = Survival as sole world power

US WAYS PRIMACY STRATEGY Western Europe and Japan under US defense umbrella USA as BENIGN world power But ensure that no PEER RIVALS develop Preemptive strike if necessary NEW WORLD ORDER

ระเบียบโลกใหม่(NEW WORLD ORDER) ระเบียบโลกใหม่ หมายถึง ปรัชญาการปกครองที่มีหลักการโดยสังเขปว่า “โลกจะประสบความสันติสุขปราศจากการทำสงครามแก่งแย่งทรัพยากร และแต่ละประเทศจะต้องสละอำนาจอธิปไตยเอกราช แล้วยอมถูกลดสถานะลงเป็นเพียงรัฐฯหนึ่ง โดยรวมกันเข้าอยู่ภายใต้รัฐบาลเพียงหนึ่งเดียวของโลก ผู้จะทำการจัดระบบใหม่ให้แก่ประชาชนไม่ว่าจะเป็นด้านการปกครอง เศรษฐกิจ น้ำ อากาศ ให้เหมาะสมต่อความเป็นอยู่ของประชาชน” “ในด้านการรักษาความสงบ จะทำการรวบรวมกองกำลังทหารจากประเทศใหญ่ๆเข้าไปเป็นกองกำลังตำรวจของโลก เพื่อควบคุมรักษาความสงบทั้งระหว่างประเทศ และภายในประเทศรวมทั้งทำการบรรเทาสาธารณภัยอันอาจเกิดจากน้ำท่วม แผ่นดินไหว พายุ”

US MEANS Political Economic Military Ideological Information Covert Actions etc.

US DECLINE Public debt 15.33 Trillion USD Automatic cut across the board on 1 January 2013 Trade deficit 634.9 billion USD in 2010 cf Chinese trade surplus of 262.7 billion USD = Gap in reserve of China widens around 1 Trillion USD each year Other areas of decline include Education, Health, Technology.etc

US NATIONAL DEBT

ประเทศมหาอำนาจภูมิภาคที่อาจกลายเป็นคู่แข่งระดับเดียวกัน ANTI - US HEGEMONY EURASIA = WORLD HEARTLAND 3. ROGUE STATES (NORTH KOREA , IRAN) 4. ISLAMIC EMPIRE , EXTREME ISLAMIC GROUPS 1. EUROPEAN UNION FEDERATION U.S.EUROPE 2. CHINA + RUSSIA + INDIA

FUTURE STUDY MEGATREND 2000 AND MEGATREND ASIA ASIAN CENTURY (CHINA ETC.) WORLD BANK FORECASTED THAT IN 2025 CHINA WILL BECOME THE WORLD LARGEST ECONOMY, FOLLOWED BY USA , INDIA AND GERMANY

ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ 10 เศรษฐกิจใหญ่สุดในโลกปี พ.ศ. 2553(2010) เทียบคาดการณ์ปี พ.ศ.2573(2030) อันดับ ปี 2553 มูลค่าเศรษฐกิจ ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ปี 2573 1 สหรัฐฯ 14.6 จีน (2) 73.5 2 จีน 5.9 สหรัฐฯ (1) 38.2 3 ญี่ปุ่น 5.6 อินเดีย 30.3 4 เยอรมนี 3.3 บราซิล (8) 12.2 5 ฝรั่งเศส 2.6 อินโดนิเซีย 9.3 6 อังกฤษ 2.3 ญี่ปุ่น (3) 8.4 7 อิตาลี 2.0 เยอรมนี (4) 8.2 8 บราซิล เม็กซิโก 6.6 9 แคนนาดา 1.6 ฝรั่งเศส (5) 6.4 10 รัสเซีย 1.5 อังกฤษ (6) Implication For Thailand

หมายเหตุ 1. ที่มา : รายงานของทีมนักเศรษฐศาสตร์จากสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด ธนาคารชั้นนำของอังกฤษ เรื่อง “ The Super–Cycle Report ” 2. ถ้าคิดในแง่สหภาพยุโรปในปี2553 มูลค่าเศรษฐกิจของ EU เท่ากับ 1.5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งเป็นอันดับ 1 ของโลก 3. ขนาดเศรษฐกิจโลกปี 2553 อยู่ที่ 62 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ภายในปี 2573 จะเพิ่มมากกว่า 2 เท่าเป็น 129 ล้านล้าน เหรียญสหรัฐฯ ในปี 2543 สัดส่วนของ GDP สหรัฐฯ สหภาพยุโรปและ ญี่ปุ่น รวมกัน เท่ากับ 72 % โดยกำลังลดลง เรื่อยๆและจะเหลือเพียง 29 % ในปี 2573

การดำเนินการกับคู่แข่งระดับเดียวกัน

EUROPEAN UNION

CHINA

US-CHINA DEFENCE SPENDING

US-CHINA DEFENCE ASSETS

China US D-E Submarines 65+ 0

ทะเลจีนใต้

RUSSIA

INDIA

ตัวแปรสำคัญในอนาคต

ตัวแปรสำคัญในอนาคต

UNDISCOVERED DEPOSITS

ธงประเทศรัสเซีย

POSSIBLE SHIPPING ROUTES

HAARP HAARP คือการดัดแปลงลักษณะอากาศซึ่งเป็นอาวุธใหม่ของสหรัฐฯที่เกิด ตัวแปรสำคัญในอนาคต HAARP HAARP คือการดัดแปลงลักษณะอากาศซึ่งเป็นอาวุธใหม่ของสหรัฐฯที่เกิด จากโครงการ Star War สหรัฐฯจะกลายเป็นผู้ผลิตพลังงานธรรมชาติรายใหญ่ของโลก NEW ENERGY EXTRACTION TECHNOLOGIES

US REBALANCING STRATEGY 6 CV และ 60 เปอร์เซ็นต์ ของกำลังทางเรือในแปซิฟิกภายในปี 2020

ตัวแปรสำคัญในอนาคต FRENCH BANK NATIXIS คาดการณ์ว่า ค่าแรงในจีน จะขยับตัวขึ้นมาเทียบเท่ากับค่าแรงในสหรัฐอเมริกาภายใน 4 ปี(2016) และตามทันประเทศในยุโรปภายใน 5 ปี (2017) และจะไล่ทันญี่ปุ่นภายใน 7 ปี (2019) การลงทุนจากต่างประเทศและรายได้ของจีนจะลดลง

4.3 ผลกระทบต่อยุทธศาสตร์ชาติและยุทธศาสตร์ทหารของไทย

A New Asian Security Architecture for the Decades Ahead ผลกระทบของสถานการณ์โลกและภูมิภาคต่อการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติและยุทธศาสตร์ทหารของไทย A New Asian Security Architecture for the Decades Ahead THERE ARE AT LEAST 4 POSSIBLE ASIAN SECURITY SCENARIOS 1. RISE OF SINO – CENTRIC ASIA - China seeks a Multipolar World but a Unipolar Asia - US seeks a Unipolar World but a Multipolar Asia - China now includes South China Sea as its core national interests on par with Taiwan and Tibet Conflicting National Interests.

2. US REMAINS ASIA’S PRINCIPAL SECURITY ANCHOR - In terms of force capabilities or the range of military bases and security allies in Asia, no power or combination of powers is likely to match the US in the next quarter – century. - China’s overly assertive policies in promoting its national interest and playing balance - of – power geopolitics have proven a diplomatic boon for the US in strengthening and expanding US security arrangements in Asia. - South Korea has tightened its military alliance with the US. Japan has backed away from a move to get the US to move its base out of Okinawa . India ,Vietnam Philippines and Indonesia have drawn closer to the US just like Australia , New Zealand , Singapore.

3. EMERGENCE OF A CONSTELLATION OF ASIAN STATES WITH COMMON NATIONAL INTERESTS WORKING TOGETHER TO ENSURE THAT ASIA IS NOT UNIPOLAR -A number of Asian countries have already started building mutually beneficial security cooperation on a bilateral basis, thereby laying the groundwork for a potential web of interlocking strategic partnerships eg. Australia – Japan , India – South Korea Strategic Partnerships + Five Powers Defence Arrangement and ANZUS. China accused the US of setting up Asian NATO to contain China

4. ASIA HAS SEVERAL RESURGENT POWERS INCLUDING JAPAN , INDIA , VIETNAM , INDONESIA AND A REUNIFIED KOREA - US and the West are helping these countries to increase their economies and hence their military powers to help the US in enveloping and containing China IMPLICATION FOR THAILAND

ทางเลือกของไทย Isolation / Neutral + Sufficient Economy Balance of Power Bend with the wind Side with US and the West Side with China Side with US + เสรีไทย กับ China Side with CHINA + เสรีไทย กับ US

Cut And Bleed To Death Strategy รัสเซีย ไทย จีน 0.5 0.5

สถานการณ์ในปัจจุบันเหมือนยุคล่าอาณานิคมที่ อังกฤษและฝรั่งเศสเผชิญหน้ากันที่ประเทศไทย น่าจะเปิดโอกาสให้ไทยสามารถใช้ Bend With The Wind Strategy ได้

ยุทธศาสตร์ทหารของไทย ANTI – ACCESS (A2) STRATEGY AREA DENIAL (AD) STRATEGY HYBRID WAR

งานมอบ 5 บ่งการ : จากตัวอย่างยุทธศาสตร์ชาติฉบับเปิดของสหรัฐอเมริกา ในยุคสงครามเย็นและจากการบรรยายในหัวข้อวิชานี้ ให้นักศึกษา ฝึกทำ MINI-CASE STUDY 1. ยุทธศาสตร์ชาติของสหรัฐฯ ค.ศ.2000 - 2020 2. ยุทธศาสตร์ชาติของจีน ค.ศ.2000 - 2020

NATIONAL STRATEGY (WAYS) NATIONAL POWER (MEANS) SECURITY ENVIRONMENT NATIONAL PURPOSE / POSITIONING / ROLE / VISION NATIONAL INTEREST NATIONAL OBJECTIVE NATIONAL POLICY ENDS NATIONAL STRATEGY (WAYS) NATIONAL POWER (MEANS) RESOURCE CONSTRAINT RISK

ตัวอย่างยุทธศาสตร์ชาติ CONTAINMENT STRATEGYของสหรัฐฯ ในช่วงสงครามเย็นยุคประธานาธิบดีโรนัลด์ รีแกน ผลประโยชน์แห่งชาติ 1. การดำรงความอยู่รอดของสหรัฐฯ ในลักษณะของประเทศที่มีเอกราชและเสรีภาพโดยสามารถรักษาค่านิยมพื้นฐานไว้ได้และสถาบันต่างๆรวมทั้งประชาชนอยู่ในสภาพมั่นคง วัตถุประสงค์แห่งชาติ 1.1 ป้องปรามภัยคุกคามต่อความมั่นคง 1.2 จัดการกับภัยคุกคามต่อความมั่นคงของสหรัฐฯ 1.3 เสริมสร้างเสถียรภาพทางยุทธศาสตร์ 1.4 สนับสนุนให้มีการยอมรับหลักการเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน 1.5 ป้องกันการถ่ายทอดเทคโนโลยี และวัตถุดิบทางทหารที่สำคัญไปยังประเทศ หรือกลุ่มประเทศที่เป็นศัตรู 1.6 ลดการลักลอบนำยาเสพติดให้โทษเข้าประเทศ 190

ผลประโยชน์แห่งชาติ 2. การมีเศรษฐกิจที่เข้มแข็งและเติบโตเพื่อเป็นหลักประกันว่าประชาชนมีโอกาศสร้างฐานะและมีแหล่งวัตถุดิบสำหรับการผลิตทั้งในและนอกประเทศ วัตถุประสงค์แห่งชาติ 2.1 ส่งเสริมระบบเศรษฐกิจของสหรัฐฯให้แข็งแรง 2.2 ดำเนินการให้มีหลักประกันในการเข้าถึงตลาดต่างประเทศ 2.3 ส่งเสริมระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่เป็นระบบเปิดและมีการขยายตัว ตลอดเวลา 191

ผลประโยชน์แห่งชาติ 3. โลกที่มั่นคงและมีเสถียรภาพ ส่งเสริมเสรีภาพทางการเมือง สิทธิมนุษยชน และมีสถาบันทางการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย วัตถุประสงค์แห่งชาติ 3.1 ส่งเสริมการเคารพกฎหมายและมาตรการทางการทูตในการแก้ปัญหาความ ขัดแย้งในภูมิภาค 3.2 รักษาความสมดุลทางทหารในภูมิภาค เพื่อป้องปรามมหาอำนาจที่ต้องการมี อำนาจเหนือประเทศอื่นในภูมิภาค 3.3 สนับสนุนนโยบายการให้ความช่วยเหลือ การค้าและการลงทุนที่ส่งเสริม พัฒนาการทางเศรษฐกิจ 3.4 ส่งเสริมการเจริญเติบโตของสถาบันทางการเมืองที่มีเสรีภาพและเป็น ประชาธิปไตย 3.5 ให้ความช่วยเหลือด้านการต่อต้านภัยคุกคามต่อสถาบันประชาธิปไตย 192

ผลประโยชน์แห่งชาติ 4. การมีความสัมพันธ์กับพันธมิตรและมิตรประเทศที่มีการร่วมมือกันดีและมีบทบาทแข็งขันทางการเมือง วัตถุประสงค์แห่งชาติ 4.1 เสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มจำนวนประเทศเสรีที่ยึดมั่นใน ประชาธิปไตย 4.2 สร้างระบบหุ้นส่วนที่มีความสมดุลมากขึ้นกับพันธมิตร 4.3 สนับสนุนการรวมตัวกับยุโรปตะวันตกให้มากขึ้นในด้านเศรษฐกิจ 4.4 ร่วมงานกับพันธมิตรนาโต้ และใช้ประโยชน์จากการประชุมด้านความ มั่นคง 4.5 ทำให้องค์กรระหว่างประเทศมีประสิทธิภาพมากขึ้นในการส่งเสริมความ สงบ 193

โครงสร้างและการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติของไทย 6 โครงสร้างและการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติของไทย

สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ รวมทั้งสิ้น 116 อัตรา เลขาธิการฯ 11 (1) ศูนย์บริหารวิกฤติระดับชาติ รองเลขาธิการฯ 10 (3) ที่ปรึกษา 10 (1) ผู้เชี่ยวชาญ 9 (5) ศูนย์ประสานความร่วมมือด้านการต่อต้านการก่อการร้ายสากลและอาชญากรรมข้ามชาติแห่งชาติ (3) กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (4) จนท. ตรวจสอบภายใน (1) สำนักความมั่นคงกิจการภายในประเทศ (11) สำนักงาน เลขานุการกรม (24) สำนักความมั่นคงกิจการภายนอกประเทศ (12) สำนักความมั่นคงกิจการชายแดนและการป้องกันประเทศ (13) กองอำนวยการ ข่าวกรอง (7) สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคง (10) สำนักความมั่นคงจังหวัดชายแดนภาคใต้ (2) สำนักนโยบายและแผน (7) ศูนย์เทคโนโลยีและสารสนเทศ (3)

โครงสร้างยุทธศาสตร์ชาติของไทย ผลประโยชน์แห่งชาติ วัตถุประสงค์แห่งชาติ วัตถุประสงค์มูลฐานแห่งชาติ วัตถุประสงค์เฉพาะแห่งชาติ การประเมินยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ยุทธศาสตร์

ผลประโยชน์แห่งชาติ หมายถึง ความต้องการหรือความปรารถนาอันสำคัญยิ่งของประชาชนส่วนรวม ความต้องการนั้นจึงมีลักษณะกว้างและค่อนข้างถาวร และเมื่อได้พิจารณากำหนดขึ้นแล้วก็จะต้องมุ่งกระทำโดยต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุผล คำว่า “ความต้องการ” มีความหมายรวมถึงทั้งความต้องการ (Want) โดยทั่วไป และความจำเป็น (Need) ที่ขาดไม่ได้ ส่วนคำว่า “ประชาชนส่วนรวม” มีความหมายในนัยที่ถือว่า ชาติคือประชาชนส่วนรวม ไม่ใช่บุคคลใดโดยเฉพาะ ผลประโยชน์ของชาติโดยทั่วไปจึงมักจะกำหนดขึ้นโดยมีหลักการคล้ายคลึงกัน คือกล่าวถึงความต้องการพื้นฐานของประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศในอันที่จะก่อนให้เกิดความมั่นคงแห่งชาติทุกๆด้าน ผลประโยชน์ของชาติจึงมีลักษณะกว้างๆ ไม่เจาะจง เป็นความคิดหวังหรือใฝ่ฝันที่จะได้ในทางนามธรรม แต่ดำรงอยู่อย่างต่อเนื่อง และเปลี่ยนแปลงได้ยาก การกำหนดผลประโยชน์ชองชาติจะต้องประเมินจากผลประโยชน์ของกลุ่มต่างๆ เพื่อทราบผลประโยชน์ส่วนรวมของชาติ อันเป็นความต้องการส่วนรวมของปวงชนชาวไทย ในคณะเดียวกันต้องประเมินผลประโยชน์ของชาติอื่น ทั้งประเทศรอบบ้านและประเทศมหาอำนาจเพื่อศึกษาเปรียบเทียบ พร้อมทั้งประเมินภัยคุกคามทั้งจากภายนอกประเทศ และประเมินขีดความสามารถของชาติในอันที่จะต่อต้านภัยคุกคามนั้นๆ

ผลประโยชน์แห่งชาติ (National Interests)

วัตถุประสงค์แห่งชาติ คือ จุดหมายหรือเป้าหมายสำคัญซึ่งชาติต้องมุ่งไปถึง ด้วยการใช้ความพยายามอย่างสูงสุดจากขุมกำลังทั้งปวงของชาติ หรือกล่าวอีกนัยอนึ่ง วัตถุประสงค์ของชาติก็คือ การนำเอาผลประโยชน์ของชาติที่ตั้งเอาไว้มาแจกแจงให้กระจ่างชัด และแน่นอนรัดกุมยิ่งขึ้น แสดงให้เห็นถึงความมุ่งประสงค์หรือเป้าหมายของชาติซึ้งจะต้องหาทางให้บรรลุถึง วัตถุประสงค์ของชาติ แบ่งออกได้เป็น ๒ อย่างคือ วัตถุประสงค์มูลฐานซึ่งกำหนดเป้าหมายไว้กว้างๆ และ วัตถุประสงค์เฉพาะซึ่งกำหนดเป้าหมายที่เจาะจง แต่มีลักษณะไม่ถาวร เปลี่ยนแปลงได้ตามสถานการณ์และมีระยะเวลา ที่กำหมดขึ้นไว้ การกำหนดวัตถุประสงค์ของชาติจะต้องศึกษาตรวจสอบสถานการณ์แวดล้อมทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ พร้อมทั้งวิเคราะห์กำลังอำนาจของชาติในด้านต่างๆ ที่มีอยู่ และตกลงใจกำหนดขึ้นเป็นวัตถุประสงค์ของชาติเพื่อแสดงจุดหมายปลายทางที่ต้องการจะบรรลุ

วัตถุประสงค์มูลฐานแห่งชาติ เป็นการแจกแจงผลประโยชน์ของชาติให้ชัดเจนยิ่งขึ้น มีลักษณะกว้างขวางและถาวร ดังนั้น วัตถุประสงค์มูลฐานของชาติมักจะไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลงเพราะมีสาระเกี่ยวกับการรักษาเอกราช บูรณภาพแห่งดินแดน ระบอบ การปกครอง และความเกษมสุขของประชาชน ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นพื้นฐานแห่งการดำรงอยู่ของประเทศชาติ

วัตถุประสงค์เฉพาะแห่งชาติ กำหนดขึ้นจากพื้นฐานแห่งวัตถุประสงค์มูลฐาน ของชาติ ดังนั้น การที่จะบรรลุวัตถุประสงค์เฉพาะของชาติจะต้องไม่ขัดต่อวัตถุประสงค์มูลฐานของชาติ มีแต่ส่งเสริมสนับสนุนหรือกล่าวได้ว่าวัตถุประสงค์เฉพาะของชาติ คือ การกำหนดแนวทางที่จะให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์มูลฐานนั่นเอง หากแนวทางใดที่ยังไม่เหมาะสมหรือขัดต่อกาลเวลาและสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปก็สามารถปรับปรุงแก้ไขได้ เป็นเหตุให้วัตถุประสงค์เฉพาะของชาติไม่มีลักษณะถาวรเหมือนวัตถุประสงค์มูลฐาน แต่สรุปได้ว่า วัตถุประสงค์เฉพาะของชาติต้องมีองประกอบกำลังอำนาจของชาติทุกๆด้านเป็นฐานรองรับ โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะก่อให้เกิดความมั่นคงแห่งชาติ

วัตถุประสงค์แห่งชาติ คือ จุดหมายหรือเป้าหมายสำคัญของชาติที่ต้องมุ่งไปถึงด้วยและใช้ความพยายามและขุมกำลังหรือกำลังอำนาจแห่งชาติทั้งปวง แบ่งออกเป็น ๒ อย่างคือ ๑. วัตถุประสงค์มูลฐานแห่งชาติ (Basic National Objectives) หมายถึงความมุ่งมั่นต่างๆ หรือเป้าหมายต่างๆ อันเป็นหลักมูลฐานของชาติซึ่งกว้างขวางมากมีลักษณะมั่นคงถาวรยิ่งขึ้น บางครั้งก็ยากที่จะดำเนินการให้บรรลุถึงได้ รัฐบาลจะต้องใช้ความพยายามอย่างต่อเนื่อง ในการพิจารณาเกี่ยวกับนโยบายของชาติทุกครั้ง จะยกเอาวัตถุประสงค์มูลฐานขึ้นมาเป็นหนักพิจารณาร่วมด้วยเสมอ ๒. วัตถุประสงค์เฉพาะแห่งชาติ (Specific National Objectives) หมายถึง เป้าหมายต่างๆของชาติ ซึ่งไม่จำเป็นต้องมั่นคงถาวรยั่งยืน และบางครั้งก็ไม่สามารถจะดำเนินการให้บรรลุถึงได้ทั้งหมด เป้าหมายเหล่านี้คงมีลักษณะเป็นการชั่วคราว ที่จะผ่านไปสนองวัตถุประสงค์มูลฐานแห่งชาติ แต่จะต้องถือเป็นข้อพิจารณาที่สำคัญยิ่งเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติควรสำนึกอยู่เสมอว่า เมื่อกำหนดขึ้นแล้วจะเป็นสะพานก้าวไปสู่หรือขัดอุปสรรคขัดขวางต่างๆในอันที่จะบรรลุถึงวัตถุประสงค์มูลฐานแห่งชาติ

นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ เป็นแนวทางหรือหนทางปฏิบัติอย่างกว้างๆ ที่มีความสำคัญต่อความอยู่รอดปลอดภัยและความเจริญก้าวหน้าของชาติซึ่งได้กำหนดขึ้น โดยพิจารณาแล้วว่าเหมาะสมภายใต้สถานการณ์ความจำเป็นและทรัพยากร หรือขีดความสามาระของชาติที่มีอยู่อันจะสามารถนำไปสู่จุดหมายปลายทางคือวัตถุประสงค์ของชาติที่กำหนดไว้ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายซึ่งประกอบด้วย นโยบายของรัฐบาล และนโยบายความมั่นคงแห่งชาติที่รัฐบาลกำหนดขึ้น โดยการเสนอแนะของสภาความมั่นคงแห่งชาติ นโยบายความมั่นคงฯ มีความสัมพันธ์กับนโยบายของรัฐบาล และมีส่วนส่งเสริมหรือสนับสนุนให้การปฏิบัติตามนโยบายต่างๆ ของรัฐบาลดำเนินไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ นอกจากนั้นยังเป็นตัวเชื่อมระหว่างวัตถุประสงค์เฉพาะของชาติกับยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติแบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภทคือ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติทั่วไป กับนโยบายความมั่นคงแห่งชาติเฉพาะเรื่อง

ยุทธศาสตร์ชาติ ในเรื่องความหมายยุทธศาสตร์ชาติ ได้มีผู้นิยามไว้หลายประการ ในความหมายที่น่าจะเหมาะสมในปัจจุบันน่าจะมีอยู่ ๒ ความหมายดังนี้ ศิลป์และศาสตร์ในการพัฒนา และการใช้การเมือง การเศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การทหารของชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ ทั้งในยามปกติและยามสงครามเพื่อส่งเสริมผลประโยชน์ของชาติ และเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของชาติ และอีกความหมายหนึ่งคือ ศิลป์และศาสตร์ในการพัฒนา และการใช้กำลังอำนาจของชาติทั้งในยามสงบและยามสงคราม ทำการสนับสนุนนโยบายของชาติให้ได้ผลดีที่สุด เพื่อเพิ่มพูน โอกาสและความได้เปรียบที่ได้มาซึ่งชัยชนะและลดโอกาสที่ประสบความพ่ายแพ้ให้น้อยลง

ลักษณะของยุทธศาสตร์ของชาติ. ๑ ลักษณะของยุทธศาสตร์ของชาติ ๑. เป็นมาตรการปฏิบัติของนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ กล่าวคือเป็นการนำเอานโยบายความมั่นคงของแห่งชาติที่กำหนดไว้มาแจกแจงออกไปให้ละเอียดและกระจ่างชัดยิ่งขึ้น จึงเป็นมาตรการปฏิบัติของนโยบายความมั่นคงแห่งชาตินั่นเอง ๒. แบ่งประเภทตามองค์ประกอบความมั่นคงแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ชาติพิจารณากำหนดและแบ่งออกไปตามองค์ประกอบความมั่นคงแห่งชาติ คือ ด้านการเมือง ด้านเศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา ด้านการทหาร และด้านวิทยาศาสตร์ฯ เมื่อนำเอาทุกด้านดังกล่าวมารวมกันเข้าก็เป็นยุทธศาสตร์ชาติ ๓. ต้องตอบสนองนโยบายความมั่นคงแห่งชาติต้องรองรับสอดคล้องกับวัตถุประสงค์เฉพาะของชาติ ยุทธศาสตร์จะต้องตอบสนองนโยบายความมั่นคงแห่งชาติกำหนดไว้ได้ทุกข้อ และนโยบายความมั่นคงแห่งชาติก็จะต้องรองรับสอดคล้องกับวัตถุประสงค์เฉพาะของชาติด้วย ดังนั้น ยุทธศาสตร์ชาติที่กำหนดขึ้นอย่างถูกต้องจะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ของชาติได้ทั้งหมดหรือได้เป็นส่วนใหญ่

๔. เป็นตัวเชื่อมโยงจากนโยบายความมั่นคงแห่งชาติไปสู่แผน และกำหนดการของชาติ ทั้งนี้ เพื่อให้ส่วนราชการต่างๆ สามารถนำแผนและกำหนดการของชาติไปจัดทำแผนย่อยของตนต่อไป อันจะนำไปสู่การปฏิบัติในที่สุด ๕. มีการปรับปรุงระยะๆตามสถานการณ์หรือสิ่งแวดล้อมที่แปรเปลี่ยน ยุทธศาสตร์จะต้องมีการกำหนดลำดับความเร่งด่วนเอาไว้ว่าจะต้องดำเนินการในเรื่องใดก่อนหลังตามความจำเป็น และจะต้องมีการปรับปรุงยุทธศาสตร์เป็นระยะๆ ไปตามสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมที่แปรเปลี่ยน หรือในกรณีที่พิจารณาเห็นว่ายุทธศาสตร์ชาติ ที่กำหนดไว้นั้นน่าจะมีข้อใดที่ยังไม่ถูกต้อง เช่น วิเคราะห์ระบบสังคมผิดพลาด เป็นต้น ก็จะต้องดำเนินการประเมินยุทธศาสตร์ชาติ เสียใหม่

การกำหนดยุทธศาสตร์ชาติ สิ่งที่จะต้องดำเนินการในการกำหนดยุทธศาสตร์คือ การนำเอานโยบายความมั่นคงแห่งชาติที่เสนอแนะมาตั้ง แล้ววิเคราะห์นโยบายแต่ละข้อเพื่อหามาตรการเฉพาะที่จะสนับสนุนนโยบาย หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งยุทธศาสตร์ที่พิงประสงค์โดยพิจารณาปัจจัยภายนอกและภายในประเทศ ทั้งปัจจัยที่เป็นอุปสรรค์และปัจจัยสนับสนุน อันจะมีอิทธิพลต่อนโยบายแล้วจึงกำหนดมาตรการเฉพาะ คือ ยุทธศาสตร์ที่จะสนับสนุนนโยบายหรือหนทางปฏิบัติที่จะสนับสนุนนโยบาย

โครงสร้างยุทธศาสตร์ชาติของไทย ความต้องการ (Ends) ผลประโยชน์แห่งชาติ การตรวจสอบสภาวะแวดล้อม พิจารณาแรงผลักดันและแนวโน้ม เพื่อทราบปัญหาและโอกาส วัตถุประสงค์มูลฐานแห่งชาติ กำหนดวัตถุประสงค์เฉพาะแห่งชาติเผื่อเลือก วิเคราะห์กำลังอำนาจแห่งชาติและแบบแผนของชาติเพื่อกรณีเกื้อกูลและอุปสรรค โดยพิจารณาความเป็นไปได้ ความยอมรับได้ เหมาะสม วัตถุประสงค์เฉพาะแห่งชาติ การสนองความต้องการ (Ways and Means) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติเผื่อเลือก นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ วิเคราะห์ผลดี ผลเสีย เกี่ยวกับความเสี่ยงและ/หรือข้อได้เปรียบกับทรัพยากรที่มีอยู่ มาตรการเฉพาะ การวิเคราะห์ปัจจัยสนับสนุนและอุปสรรค

โครงสร้างยุทธศาสตร์ชาติของไทย ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วน จุดมุ่งหมาย (Ends) แบ่งออกเป็น ผลประโยชน์แห่งชาติ (National Interest) วัตถุประสงค์มูลฐานแห่งชาติ (Basic National Objective) วัตถุประสงค์เฉพาะแห่งชาติ (Specific National Objective) 2. หนทางปฏิบัติ (Ways) คือนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ 3. วิธีการ (Means) คือมาตรการเฉพาะ (Specific Measure) ที่จะสนับสนุนหนทางปฏิบัติต่างๆ

ผลประโยชน์แห่งชาติของไทย การดำรงอยู่ของรัฐอย่างมีเอกราช อธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดน (ใช่ แต่ไม่ SMART) ความเกษมสุขสมบูรณ์ของประชาชน (ไม่ใช่ เป็น Internal Interest) ความเจริญก้าวหน้าโดยส่วนรวมของชาติทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม (ไม่ใช่เป็น wish) การมีสถาบันการปกครองที่เอื้ออำนวยประโยชน์แก่ประชาชน (ไม่ใช่เป็น wish) ความมีเกียรติและศักดิ์ศรีในสังคมระหว่างประเทศ (ใช่ แต่ไม่ SMART)

วัตถุประสงค์มูลฐานแห่งชาติของไทย (ครม.อนุมัติเมื่อ ๔ ม.ค.๒๕๐๙) ธำรงไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย เอกภาพและบูรณภาพแห่งราชอาณาจักร ธำรงไว้ซึ่ง การปกครองระบอบประชาธิปไตยและสถาบันพระมหากษัตริย์ ธำรงไว้ซึ่ง ศาสนาและวัฒนธรรมอันดีงามของชาติไทย เสริมสร้างสวัสดิภาพและความผาสุกของประชาชนให้ร่มเย็นเป็นสุขอย่างถาวร พัฒนากำลังอำนาจของชาติเพื่อความมั่นคงและก้าวหน้าทัดเทียมอารยะประเทศทั้งหลาย

วัตถุประสงค์เฉพาะแห่งชาติของไทย (ครม.อนุมัติเมื่อ ๔ ม.ค.๒๕๐๙) ปลูกฝังและส่งเสริมประชาชนพลเมืองให้ดำเนินชีวิตตามระบอบประชาธิปไตยและวิถีทางรัฐธรรมนูญกับยึดมั่นในวัฒธรรมของชาติและศาสนาอย่างแท้จริง ให้มีเสถียรภาพทางการเมืองและความสงบเรียบร้อยภายใน ให้ปลอดภัยจากอิทธิพลและการรุกรานใด ๆ รวมทั้งการแทรกซึมบ่อนทำลายจากคอมมิวนิสต์หรือฝ่ายที่เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ ป้องกันและปราบปรามการปฏิบัติมิชอบในการบริหารและดำเนินงานของชาติให้หมดสิ้นไปโดยเด็ดขาด

วัตถุประสงค์เฉพาะแห่งชาติของไทย (ครม.อนุมัติเมื่อ ๔ ม.ค.๒๕๐๙) 5. เร่งรัดพัฒนา เศรษฐกิจ การศึกษา สังคมและสวัสดิการของประชาชนให้บังเกิดผลแท้จริง เพื่อเพิ่มรายได้ประชาชาติและมาตรฐานการครองชีพของประชากรให้สูงขึ้นอยู่ถึงระดับอยู่ดีกินดี 6. ส่งเสริมให้คนไทยมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจและยึดหลักวิสาหกิจเสรี โดยมีขอบเขตที่เหมาะสม 7. ส่งเสริมสันติภาพ สัมพันธไมตรี และการร่วมมือระหว่างประเทศตามนัยแห่งกฎบัตรสหประชาชาติและยึดมั่นในสนธิสัญญาป้องกัน 8. พัฒนากิจการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทุกสาขาให้ก้าวหน้าเพื่อที่จะบรรลุถึงขีดความสามารถทางพลังนิวเคลียร์

นโยบายแห่งชาติของไทย เพื่อธำรงไว้ซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์รัฐบาลนี้ จักได้ดำเนินการตามนโยบายต่อไปนี้ ๑. รัฐบาลนี้ถือหลักประหยัดเป็นสำคัญและตระหนักว่า ความมั่นคงของประเทศเป็นรากฐานอันสำคัญในการเสริมสร้างการพัฒนาทางเศรษฐกิจและความเป็นธรรมในสังคม เพื่อให้บรรลุตามความมุ่งหมายในการปฏิรูปการปกครองแผ่นดินและเพื่อให้ประเทศไทยดำรงคงอยู่ด้วยความปลอดภัย ฉะนั้นรัฐบาลนี้จักได้ดำเนินการทุกประการเพื่อธำรงไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย ความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติ โดยจะตระเตรียมและเสริมสร้างกำลังที่ใช้ในการป้องกันชาติให้เข้มแข็งให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะป้องกันราชอาณาจักร โดยพยายามพึ่งตนเองให้มากที่สุด สำหรับในระยะ ๔ ปีนี้ จะดำเนินการทั้งปวงเพื่อให้กำลังทหารของชาติอยู่ในสภาพพร้อมรบและสามารถขยายได้ในยามฉุกเฉิน จะพัฒนาหลักวิชาการและระบบอาวุธให้สามารถเผชิญกับภัยคุกคามได้ทุกรูปแบบ จะปรับปรุงสวัสดิการบำรุงขวัญและกำลังใจของทหารให้สูงอยู่เสมอ รวมทั้งประสานความเข้าใจระหว่างทหารกับประชาชนให้ดียิ่งขึ้น และส่งเสริมให้ทหารมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศด้วย

นโยบายแห่งชาติของไทย ๒. จะป้องกันและปราบปรามคอมมิวนิสต์อย่างจริงจังและเด็ดขาดจะขจัดการฉ้อราษฎร์บังหลวง และการเบียดเบียนราษฎร จะป้องกันปราบปรามการผลิตและการค้ายาเสพติดให้โทษและแก้ไขบำบัดผู้ติดยาเสพติดดังกล่าวให้ได้ผลโดยด่วน จะดำเนินการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เหมาะสม เพื่อแก้ไขความยากจนของราษฎรส่วนใหญ่ ส่งเสริมให้ประชาชนทุกคนมีอาชีพและรายได้ที่แน่นอนเพิ่มขึ้นด้วยการพัฒนาการประกอบอาชีพประเภทต่าง ๆ และดำเนินการใช้แรงงานให้เต็มที่เพื่อขจัดปัญหาการว่างงานและส่งเสริมให้มีการฝึกอบรมช่างฝีมือหรือแรงงานที่ใช้ฝีมือในการทำงาน ทั้งจะเน้นหนักในการพัฒนาเมือง ชนบท และสาธารณูปโภคและจะปรับปรุงและพัฒนาการปกครองประเทศในทุกระดับ

นโยบายแห่งชาติของไทย ๓. จะรักษาไว้ซึ่งความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมาย ผดุงไว้ซึ่งความเป็นอิสระของผู้พิพากษาในการพิพากษาอรรถคดี จัดให้มีศาลในท้องถิ่นต่าง ๆ อย่างเพียงพอเพื่อความสะดวกแก่ประชาชนผู้มีอรรถคดี และปรับปรุงวิธีการ และการดำเนินกระบวนพิจารณาของศาลให้เป็นไปโดยเร็ว ทั้งนี้โดยการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับ ตลอดจนเพิ่มจำนวนและส่งเสริมประสิทธิภาพของผู้พิพากษาด้วยการฝึกอบรมทั้งภายในประเทศ ต่างประเทศ และบริการด้านสวัสดิการให้สมกับอัตภาพ ประมวลจรรยาบรรณของตุลาการขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษรกับจัดทำคู่มือตุลาการขึ้นด้วย นอกจากนั้น ในด้านกระบวนการยุติธรรมฝ่ายอัยการ จะได้ปฏิรูปด้วยการจัดให้มีพนักงานอัยการชั้นพิจารณาอุทธรณ์ ฎีกา และให้พนักงานอัยการได้ควบคุมการสอบสวนด้วยเป็นต้น

ผลประโยชน์แห่งชาติของไทย สภาความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๖-๒๕๔๙ (๑๓ ก.ย.๒๕๔๕) การมีเอกราช อธิปไตยและบูรณภาพแห่งอาณาเขต(ใช่ แต่ไม่ SMART) การดำรงอยู่อย่างมั่นคงของชาติและประชาชนจากการคุกคามทุกรูปแบบ (ไม่ใช่) ความปลอดภัย ความอยู่ดีมีสุข ความเป็นธรรมและการมีเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์(ไม่ใช่) การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขกับประเทศเพื่อนบ้าน(ไม่ใช่) การมีเกียรติและศักดิ์ศรีในประชาคมระหว่างประเทศ (ใช่ แต่ไม่ SMART)

วัตถุประสงค์แห่งชาติของไทย พ.ศ.๒๕๔๖-๔๙ 1. เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีของคนในชาติ 2. เพื่อให้ความขัดแย้งในสังคมได้รับการแก้ไขโดยไม่ใช้ความรุนแรง 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชนและสังคมให้เข้มแข็งในลักษณะเครือข่ายให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเอง และปกป้องวิถีชีวิตจากผลกระทบที่เกิดจากความเปลี่ยนแปลง

วัตถุประสงค์แห่งชาติของไทย เพื่อพัฒนาศักยภาพและคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์ทั้งในด้านฐานความรู้และเทคโนโลยีสมัยใหม่ รวมทั้งคุณค่าที่ดีงามทางจิตใจให้เข้มแข็งและสามารถเผชิญกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 5. เพื่อให้เกิดความเสมอภาคของประชาชนในการมีส่วนร่วม แก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการพัฒนา ทั้งในระดับประเทศและในระดับชุมชนที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น

วัตถุประสงค์แห่งชาติของไทย เพื่อให้การเมืองและระบบราชการมีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชน์ต่อประชาชน มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ --------------------------------------------------- --------------------------------- 14. ------------------------------------

ผลประโยชน์แห่งชาติของไทย สภาความมั่นคงแห่งชาติ พ. ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔ (ครม ผลประโยชน์แห่งชาติของไทย สภาความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๔ (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) การมีเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่งเขตอำนาจรัฐ การดำรงอยู่อย่างมั่นคง ยั่งยืน ของสถาบันหลักของชาติ ความปรองดอง ความสามัคคีของคนในชาติ การดำรงอยู่อย่างมั่นคงของชาติและประชาชนจากการคุกคามทุกรูปแบบ ความปลอดภัย ความเป็นธรรม และความอยู่ดีมีสุขของประชาชน การมีเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ การดำรงอยู่อย่างมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิทธิเหนือทรัพยากรชีวภาพของชาติ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขกับประเทศเพื่อนบ้าน การมีเกียรติและศักดิ์ศรีในประชาคมระหว่างประเทศ

วัตถุประสงค์แห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) วัตถุประสงค์แห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) เพื่อให้สถาบันพระมหากษัตริย์มีความมั่นคงในการเป็นศูนย์รวมจิตใจและความรักสามัคคีของคนในชาติ เพื่อให้ระบบการเมืองและระบบราชการดำเนินไปด้วยความโปร่งใส มีความเป็นธรรม ตรวจสอบได้ มีการบริหารจัดการประเทศตามหลักนิติธรรม และเอื้อต่อการพัฒนาประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมในทุกระดับ เพื่อเสริมสร้างสภาวะแวดล้อมให้คนภายในชาติสามารถอยู่ร่วมกันได้ภายใต้ความเห็นต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม เคารพศักดิ์ศรีความเท่าเทียมกันของความเป็นมนุษย์และมีความสามัคคี สามารถผนึกกำลังเพื่อจัดการกับความขัดแย้งในสังคมโดยสันติวิธี เพื่อให้เกิดความสมดุล ความมั่นคง และความยั่งยืนในการพัฒนาและบริหารประเทศ รวมทั้งลดความเสี่ยงจากแข่งขั้นในกระแสโลกาภิวัตน์ เพื่อให้การจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติมีความสมดุลกับการขยายตัวของการพัฒนาประเทศ และสามารถใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งคุ้มครองทรัพยากรชีวภาพจากการถูกแสวงประโยชน์โดยต่างประเทศ

วัตถุประสงค์แห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) (ต่อ) วัตถุประสงค์แห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) (ต่อ) เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของชาติในการป้องกันประเทศให้มีความเข้มแข็ง และสามารถผนึกกำลังทุกภาคส่วนเป็นพลังงานเสริมภารกิจของกองทัพในการเผชิญกับภาวะภัยคุกคามด้านการป้องกันประเทศได้ทุกรูปแบบ รวมทั้งให้กองทัพมีบทบาทในการรักษาสันติภาพของโลกในกรอบของสหประชาชาติ เพื่อส่งเสริมเกียรติภูมิของประเทศไทยในประชาคมโลก โดยไม่ก่อผลกระทบต่อปัญหาความมั่นคงภายในประเทศ ตลอดจนการร่วมบรรเทาภัยพิบัติทางธรรมชาติทั้งภายในประเทศและในภูมิภาคใกล้เคียง เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของระบบการเตรียมความพร้อมแห่งชาติในทุกขั้นตอนของการเผชิญภัยพิบัติขนาดใหญ่ สามารถนำทรัพยากรและเครื่องมือจากทุกภาคส่วนมาใช้ในการบริหารเหตุการณ์ภายใต้ภาวะวิกฤติได้อย่างมีเอกภาพ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำเนินงาน เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการกับปัญหาการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในการป้องกัน แก้ไขปัญหาและลดความเสี่ยงจากภัยคุกคาม รวมทั้งการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในการระวังป้องกันการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ

วัตถุประสงค์แห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) (ต่อ) วัตถุประสงค์แห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) (ต่อ) เพื่อให้เกิดสภาวะแวดล้อมในเชิงสร้างสรรค์ของการอยู่ร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านและประเทศในภูมิภาค บนพื้นฐานของความไว้วางใจ ความเข้าใจและการเคารพในความแตกต่างทางวัฒนธรรม มีความร่วมมือที่จริงใจเป็นพลังการพัฒนาร่วมกันและเพิ่มภูมิคุ้มกันจากอิทธิพลภายนอกภูมิภาค เพื่อรักษาภาพลักษณ์ความน่าเชื่อถือของประเทศไทยในประชาคมโลก และขยายการยอมรับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นทางเลือกใหม่ในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ก้าวทันโลกาภิวัตน์อย่างปราศจากความเสี่ยง เพื่อพัฒนาคุณภาพทรัพยากรมนุษย์ในมิติด้านความมั่นคงให้มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตสำนึกสาธารณะ รวมทั้งมีความพร้อมในการเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคงรูปแบบใหม่ มีความรู้ความเข้าใจมิติวัฒนธรรม วิถีชีวิต วิธีคิดของประเทศเพื่อนบ้าน และมีทักษะในการปรับตัวให้สอดคล้องกับพลวัตรของโลก

นโยบายความมั่นคงแห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) เสริมสร้างจิตสำนักของคนในชาติให้มีความจงรักภักดี เทิดทูนและปฏิบัติตนเพื่อปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์ให้เป็นศูนย์รวมจิตใจและความสามัคคีภายในชาติอย่างมั่นคงและยั่งยืน เสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศและรากฐานประชาธิปไตยที่ยั่งยืนในระดับชุมชน โดย... ๓. ฟื้นฟูความสมานฉันท์ เสริมสร้างความรักชาติและเอกภาพของคนในชาติ โดย... ๔. เสริมสร้างความสมดุล มั่นคง และยั่งยืนในระดับฐานราก โดย... สร้างดุลยภาพของการบริหารจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและคุ้มครองสิทธิเหนือทรัพยากรชีวภาพ โดย...

นโยบายความมั่นคงแห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) (ต่อ) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) (ต่อ) เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศ โดย ๖.๑ พัฒนากองทัพให้มีโครงสร้างกำลังกองทัพที่เหมาะสม... ๖.๒ สนับสนุนให้กองทัพมีระบบอาวุธและระบบการแจ้งเตือนภัยทางทหาร... ๖.๓ พัฒนาศักยภาพของชาติในการป้องกันประเทศ... ๖.๔ นำศักยภาพของกองทัพในยามปกติเข้ามาช่วยเสริมสร้างความสามัคคี... ๖.๕ พัฒนาความร่วมมือทางทหารและความเข้าใจอันดีกับกองทัพของประเทศ เพื่อบ้านและกลุ่มอาเซียนรวมทั้งมิตรประเทศอื่นๆ ... พัฒนาศักยภาพการเตรียมพร้อมแห่งชาติ ๗.๑ ปรับปรุง พัฒนานโยบาย และแผนรองรับให้สอดรับกับภัยด้านสาธารณภัยและภัยด้านความมั่นคงที่เปลี่ยนแปลงไป... ๗.๒ เสริมสร้าง บูรณาการ และพัฒนาประสิทธิภาพของ ระบบการบริหารจัดการข้อมูล... ๗.๓ เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทักษะของเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน ภาคประชาชน และองค์กรเครือข่ายต่าง ๆ ...

นโยบายความมั่นคงแห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) (ต่อ) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) (ต่อ) ๗.๔ ให้มีระบบการบริหารจัดการภัยอย่างมีเอกภาพ ประสิทธิภาพ และทันเหตุการณ์... ๗.๕ ส่งเสริมการสร้างจิตสำนึกและการมีส่วนร่วมของทุก ภาคส่วน เพื่อพร้อมเผชิญภัยกับประเภทของภัย... ๗.๖ ส่งเสริมและประสานความร่วมมือกับต่างประเทศ เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพของประเทศในการบริหารจัดการภัย... ๗.๗ เพิ่มประสิทธิภาพมาตรการต่าง ๆ เกี่ยวกับการช่วยเหลือ การบรรเทา และการฟื้นฟูภายหลังจากการเกิดภัย... เสริมสร้างศักยภาพและการจัดการปัญหาภัยคุกคามข้ามชาติ โดย ๘.๑ ให้ความสำคัญกับการมียุทธศาสตร์ป้องกันการก่อการร้าย... ๘.๒ ดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายทุกรูปแบบ... ๘.๓ ยึดมั่นในนโยบายไม่สะสมอาวุธ... ๘.๔ พัฒนาระบบและกลไกเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและความเป็นเอกภาพทางด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติ...

นโยบายความมั่นคงแห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) (ต่อ) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) (ต่อ) ๘.๕ เพิ่มประสิทธิภาพของระบบมาตรการการป้องกันและเตรียมความพร้อมในการเผชิญภาวะวิกฤติ... ๘.๖ พัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้องให้มีความทันสมัยและครอบคลุม ๘.๗ ส่งเสริมให้มีมาตรการทางการข่าวที่มีประสิทธิภาพทันต่อเหตุการณ์ ๘.๘ พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือกับนานาประเทศ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ๘.๙ ส่งเสริมการปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างประเทศภายใต้กรอบสหประชาชาติ... ๘.๑๐ ส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับปัญหาการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ... ๘.๑๑ เตรียมความพร้อมระยะยาวให้กับสังคมไทย...

นโยบายความมั่นคงแห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) (ต่อ) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) (ต่อ) ๙. เสริมสร้างศักยภาพและการจัดการปัญหาภัยคุกคามข้ามชาติ โดย ๙.๑ เสริมสร้างศักยภาพของคน ชุมชน และพื้นที่เป้าหมายในบริเวณชายแดน... ๙.๒ เสริมสร้างความมั่นใจในความปลอดภัยให้ประชาชนในพื้นที่ชายแดน... ๙.๓ ส่งเสริมบรรยากาศที่นำไปสู่การปักปันเขตแดนกับประเทศเพื่อนบ้านให้บรรลุผลโดยเร็ว ๙.๔ เตรียมความพร้อมของระบบและบุคลากร รวมทั้งมาตรการในการรองรับการขยายโครงข่ายเส้นทางคมนาคมกับประเทศเพื่อนบ้านและในภูมิภาค... ๙.๕ รักษาความสมดุลระหว่างผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจการค้าชายแดนกับผลประโยชน์ด้านความมั่นคง... ๙.๖ ติดตามพัฒนาการของสถานการณ์... ๙.๗ เสริมสร้างความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน... ๙.๘ ส่งเสริมให้ประเทศเพื่อนบ้านมีศักยภาพในการพัฒนาประเทศ...

นโยบายความมั่นคงแห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) (ต่อ) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติของไทย (ครม. เห็นชอบ ๑ ส.ค.๕๐) (ต่อ) ๙.๙ มุ่งสร้างความเข้าใจ ความไว้วางใจกับประเทศเพื่อนบ้าน... ๙.๑๐ เสริมสร้างการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความเป็นจริงทางประวัติศาสตร์ของภูมิภาค... เสริมสร้างความเชื่อมั่นและเกียรติภูมิของประเทศ รวมทั้งส่งเสริมคุ้มครองผลประโยชน์ของชาติในระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ โดย... พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในมิติด้านความมั่นคง โดย ๑๑.๑ เสริมสร้างปัญญา จินตนาการ และการเรียนรู้ควบคู่กับการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรม... ๑๑.๒ รณรงค์เสริมสร้างพลังและเพิ่มพูนจิตสำนึกด้านความมั่นคง... ๑๑.๓ ส่งเสริมกลุ่มเยาวชนให้เรียนรู้และเข้าใจต้นทุนสังคมไทยซึ่งเป็นสังคมพหุวัฒนธรรม... ๑๑.๔ ส่งเสริมให้ประชาชนรู้เท่าทันพัฒนาการของโลก ไร้พรมแดน... ๑๑.๕ ขยายการสนับสนุนการศึกษาเรียนรู้ประเทศเพื่อนบ้านและประเทศในภูมิภาค...

ไทยแบ่งกำลังอำนาจแห่งชาติออกเป็น 5 ด้าน การเมือง 2. เศรษฐกิจ 3. การทหาร 4. สังคมจิตวิทยา 5. วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อม

ยุทธศาสตร์ชาติของไทย ไม่ปรากฏในรูปแบบ NATIONAL SECURITY STRATEGY มีแต่นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ สภาความมั่นคงแห่งชาติจัดทำทุก 5 ปี ฉบับปัจจุบันคือช่วง พ.ศ.2555-2559 ทำโดยการประชุมสัมมนาบุคคลในสังคมไทยสาขาต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความมั่นคงและยุทธศาสตร์ตามหลักการและแนวคิดที่ใช้กันทั่วโลก

ยุทธศาสตร์การเมือง/การทูตของไทย ไม่ปรากฏในรูปแบบ NATIONAL POLITICAL STRATEGY ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจของไทย ไม่ปรากฏในรูปแบบ NATIONAL ECONOMIC STRATEGY มีแต่ “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สภาพัฒน์) จัดทำทุก 5 ปี ฉบับปัจจุบันคือฉบับที่ 10 สำหรับช่วง พ.ศ.2555-2559 เน้นการพัฒนาภายในประเทศเป็นสำคัญ ไม่ใช่ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจที่แท้จริง

ยุทธศาสตร์ทหารของไทย ไม่ปรากฏในรูปแบบ NATIONAL MILITARY STRATEGY Blue Ocean Strategy ? Red Ocean Competition Blue Ocean No Competition

ฝึกทำ MINI – CASE STUDY ร่วมกับผู้บรรยาย 7 ฝึกทำ MINI – CASE STUDY ร่วมกับผู้บรรยาย 7.1 ยุทธศาสตร์ชาติของสหรัฐฯ 7.2 ยุทธศาสตร์ชาติของจีน

ตอบคำถาม