สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลจัดการสุขภาพ5กลุ่มวัยแบบบูรณาการ
Advertisements

แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
ทำงานให้สำเร็จและมีความสุข
การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดสตูล
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
กลุ่มที่ 3 : Scenario 3.
รวบรวมข้อมูลโดย กลุ่มแผนงานงบประมาณอุดมศึกษา สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
HDC CVD Risk.
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
สรุปผลงาน การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี จังหวัดเชียงใหม่
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
สิ่งที่พูดถึง การดำเนินงานกลุ่มวัยทำงาน DM HT DPAC องค์กรไร้พุง
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การประเมิน RF 4.1 โรคไม่ติดต่อรอบ 2
Update data NCD มีนาคม 2560 Update data NCD เดือน มีนาคม 2559.
ชี้แจงตัวชี้วัด/โครงการNCD ปี 2561
โครงการสานพลังเครือข่ายและพัฒนาต้นแบบ การลด ละ เลิกสุรา
สถานการณ์โรคเรื้อรัง
สรุปผลการตรวจราชการฯ
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
สถานการณ์ วิกฤติ 7 ระดับ
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
สร้างเครือข่ายในชุมชน
พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
รายงานความก้าวหน้าคณะอนุกรรมการด้านการสนับสนุนทรัพยากร (Chiang Mai Provincial Resource Supportive Board) 31 สิงหาคม 2560.
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2562 ตุลาคม 2561 – มิถุนายน 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงาน กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค

ร่วมกับ I60 – I69 ในทุกประเภทการวินิจฉัย (Dx type) ตัวชี้วัดที่ : ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของแผนงานควบคุมโรคระดับเขต ปี ๒๕๕๙ เป้าหมายปี 2561 :  ร้อยละ 82.5 คำอธิบายตัวชี้วัด 1. ผู้ที่ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) หมายถึง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน(E10 - E14) ความดันโลหิตสูง(I10 - I15) อายุ 35-60 ปีที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) ใน 10 ปีข้างหน้า 2. จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ที่ขึ้นทะเบียนในสถานบริการในเขตรับผิดชอบ (Type area 1และ 3) 3. กลุ่มเสี่ยงสูงมาก หมายถึง ผู้ป่วย DM HT ได้รับการประเมิน CVD Risk แล้วมีระดับความเสี่ยง≥ 30% 4. กลุ่มเสี่ยงสูงมากมีระดับความเสี่ยงลดลง หมายถึง กลุ่มเสี่ยงสูงมาก (≥30%) ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้นและรีบด่วน และประเมินซ้ำแล้วมีระดับความเสี่ยง < 30% 5. การประเมินโอกาสเสี่ยง(CVD Risk)ซ้ำ หมายถึง การมีผลประเมินCVD Risk ครั้งแรกรอบ 6 เดือนแรก(ต.ค.-มี.ค.) และครั้งที่ 2 รอบ 6 เดือนหลัง (เม.ย.-ก.ย.) โดยมีระยะห่างกันไม่น้อยกว่า 3 เดือน หรือ 90 วัน หมายเหตุ : ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน Type area 1 และ 3 - รหัสโรคเบาหวาน E10. - E14. (นับทุกจุดที่ตามหลังรหัส) ยกเว้น รหัส E10. - E14. ร่วมกับ I60 – I69 ในทุกประเภทการวินิจฉัย (Dx type) - รหัสโรคความดันโลหิตสูง I10 – I15 ยกเว้นรหัส I11.0, I11.9, I13.0,I13.1,I13.2 ,I13.9 และ รหัส I10 – I15 ร่วมกับ I60 – I69 ในทุกประเภทการวินิจฉัย (Dx type)

สูตรการคำนวณ : (A / B) x 100 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด 1.ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) A = จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) ความดันโลหิตสูง (I10-I15) อายุ 35-60 ปีที่ขึ้นทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ใน 10 ปีข้างหน้า B = จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) ความดันโลหิตสูง (I10-I15) อายุ 35-60 ปี ที่ขึ้นทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ 2. ผลการดำเนินงานในกลุ่มเสี่ยงสูงมาก (ระดับความเสี่ยง≥30%) ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง(CVD Risk)ซ้ำแล้วจำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงมากมีระดับความเสี่ยงลดลง (ระดับความเสี่ยง< 30% ) A = จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงมาก (≥30%) ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง (CVD Risk) ซ้ำแล้วมีระดับความเสี่ยงลดลง(ระดับความเสี่ยง<30% ) B = จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงมาก (≥30%) ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง (CVD Risk) ซ้ำ ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด ตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2558 2559 2560 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ใน 10 ปีข้างหน้า ร้อยละ - 77.89 (ข้อมูล ณ 19 ก.ย. 59 จากการติดตามผลการดำเนินงานของ สคร1-12)  81.19 (ข้อมูล ณ 24 ส.ค.60 จากระบบ HDC) ผลการดำเนินงานในกลุ่มเสี่ยงสูงมาก(ระดับความเสี่ยง≥30%) ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง(CVD Risk)ซ้ำแล้วจำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงมากมีระดับความเสี่ยงลดลง (ระดับความเสี่ยง< 30% ) 75.72 อยู่ระหว่างการพัฒนาการรายงานในระบบ HDC

รายละเอียดการดำเนินงาน เอกสารประกอบการประเมิน ขั้น ตอน รายละเอียด คะแนน เอกสารประกอบการประเมิน และเกณฑ์การให้คะแนน 1 1.1วิเคราะห์ข้อมูลและสถานการณ์โรคหัวใจและหลอดเลือด (0.5 คะแนน) 1.2 จัดทำแผนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคหัวใจและหลอดเลือด (0.5 คะแนน) 1.3 การชี้แจง เพื่อถ่ายทอดนโยบาย/ตัวชี้วัด/ผลลัพธ์ การดำเนินงานเพื่อลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (0.5 คะแนน) (รอบ 3 เดือน) 1.5 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์โรคโรคหัวใจและหลอดเลือด (0.5 คะแนน) 2. แผนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคหัวใจและหลอดเลือด (0.5คะแนน) 3. มาตรการ/แนวทางการดำเนินงานที่ถ่ายทอดให้กับพื้นที่ ที่รับผิดชอบ (0.25 คะแนน) 4. เอกสารที่แสดงถึงการดำเนินงาน (หนังสือเชิญประชุม / เอกสารประกอบการประชุม/ภาพกิจกรรม)(0.25 คะแนน)

รายละเอียดการดำเนินงาน เอกสารประกอบการประเมิน ขั้น ตอน รายละเอียด คะแนน เอกสารประกอบการประเมิน และเกณฑ์การให้คะแนน 2 ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคหัวใจและหลอดเลือด เกณฑ์การให้คะแนน หมายเหตุ : ให้มีการเร่งรัดการดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัด [กรณีที่บรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดแล้วให้มีการเร่งรัด/ติดตามให้เกิดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้นและรีบด่วนในกลุ่มเสี่ยงสูงมาก (≥30%)] อยู่ในแผนรอบ 6 เดือนแรกด้วย) (รอบ 6 เดือน) 1 1. สรุปผลการดำเนินงานรอบ 6เดือนพร้อมปัญหา แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ ร้อยละ 100 ของรอบ 6 เดือนแรก (สิ้นสุด 25 มี.ค.61) (0. 5 คะแนน) (หากไม่มีการนำเสนอผู้บริหารรับทราบหัก 0.05 คะแนน) 2. หนังสือติดตาม เร่งรัดการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ในกรณีที่ยังไม่บรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัด หรือ หนังสือเร่งรัด/ติดตามให้เกิดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงสูงมาก (≥30%) ในกรณีที่การประเมินโอกาสเสี่ยงบรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดแล้ว(0.5 คะแนน) กิจกรรม หน่วยวัด ระดับการให้คะแนน ร้อยละการดำเนินงานตามแผนฯ รอบ 6 เดือน คะแนน 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 ร้อยละ 60 70 80 90 100

รายละเอียดการดำเนินงาน ขั้น ตอน รายละเอียด คะแนน เอกสารประกอบการประเมิน และเกณฑ์การให้คะแนน 3 ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคหัวใจและหลอดเลือด เกณฑ์การให้คะแนน (รอบ 9 เดือน) 0.5 สรุปผลการดำเนินงานรอบ 9 เดือน พร้อมปัญหา แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ ร้อยละ 100 ของรอบ 9 เดือน (0.5 คะแนน)(สิ้นสุด 25 มิ.ย.61) (หากไม่มีการนำเสนอผู้บริหารรับทราบหัก 0.05 คะแนน) กิจกรรม หน่วยวัด ระดับการให้คะแนน ร้อยละการดำเนินงานตามแผนฯ รอบ 9 เดือน คะแนน 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 ร้อยละ 60 70 80 90 100

รายละเอียดการดำเนินงาน ขั้น ตอน รายละเอียด คะแนน เอกสารประกอบการประเมิน และเกณฑ์การให้คะแนน 4 4.1 ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ≥82.5% (รอบ 12 เดือน) 1.5 1.ผลการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ (1 คะแนน) 2.ผลการดำเนินงานในกลุ่มเสี่ยงสูงมาก(ระดับความเสี่ยง≥30%) ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง (CVD Risk)ซ้ำแล้วจำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงมากมีระดับความเสี่ยงลดลง(ระดับความเสี่ยง<30%) ≥35% (0.5 คะแนน) 4.2 กลุ่มเสี่ยงสูงมาก(ระดับความเสี่ยง≥30%) ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง(CVD Risk)ซ้ำแล้วจำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงมากมีระดับความเสี่ยงลดลง(ระดับความเสี่ยง<30%)≥35% คะแนน 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 ร้อยละ 72.5 75 77.5 80 82.5

รายละเอียดการดำเนินงาน เอกสารประกอบการประเมิน ขั้น ตอน รายละเอียด คะแนน เอกสารประกอบการประเมิน และเกณฑ์การให้คะแนน 5 ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคหัวใจและหลอดเลือด เกณฑ์การให้คะแนน (รอบ 12 เดือน) 0.5 รายงานผลการดำเนินงานเพื่อลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) พร้อมทั้งมีการระบุปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแก้ไข (0.5 คะแนน)(หากไม่มีการนำเสนอผู้บริหารรับทราบหัก 0.05 คะแนน) กิจกรรม หน่วยวัด ระดับการให้คะแนน ร้อยละการดำเนินงานตามแผนฯ รอบ 12 เดือน คะแนน 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 ร้อยละ 60 70 80 90 100