ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

Computer Programming 1 6. โปรแกรมต่อไปนี้เป็นโปรแกรมสำหรับรับค่า N และรับจำนวนเต็มที่มีค่าระหว่าง 0 ถึง 9 จำนวน N ตัว นับจำนวนเต็มแต่ละค่าที่ป้อนแล้วแสดงผล.
Chapter 6: Sampling Distributions
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
CHAPTER 17 FOURIER SERIES
การเลือกจำนวน Hidden Node ที่เหมาะสมกับโครงข่ายประสาทเทียม
Merchant Marine Training Centre วิชาการเป็นเลิศ เชิดชู คุณธรรม ผู้นำ.
การวางแผน และควบคุมการตผลิต
แสนศักดิ์ นาคะวิสุทธิ์
ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 36 (พ. ศ
#include #define N 5 void main() { inti, X[N]; for (i=0; i < N; i++) { /* รับข้อมูล */ printf(“Enter number : ”); scanf(“%d”, &X[i] ); } for (i=0; i
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ปัญหาที่พบ คือ การขาดความรับผิดชอบ ของนักศึกษา สาเหตุของปัญหา 1. ลักษณะนิสัยส่วนตัวของนักศึกษา ซึ่งอยู่ในช่วงวัยรุ่น 2. การมีสัมพันธภาพระหว่างเพื่อน ร่วมงาน.
Basic Statistical Tools
ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 33 (พ. ศ
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
QUIZ ก่อนเรียน เขียน ชื่อ-นามสกุล, รหัสนักศึกษา และ section
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
Ch 12 AC Steady-State Power
Collecting / Grouping / Sorting Data. สถิติเริ่มต้นด้วยการ จัดเก็บ / จัดกลุ่ม / จัดเรียง Things carried with me ? Item จำนวน ปากกาลูกลื่นสี แดง ดินสอเหลา.
ชื่อผู้วิจัย นางศศิธร บุญภูมิ
กิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ e- meeting วันศุกร์ที่ 20 เมษายน 2555.
งานธุรการ ให้บริการผู้บริหาร ครู และบุคลากร เกี่ยวกับงานธุรการและ เอกสารสำคัญ บริการที่มีคุณภาพ ตอบสนองด้วยความเป็น มิตร รวดเร็ว มักจะเกิดปัญหาและอุปสรรคต่าง.
Collecting / Grouping / Sorting Data
กำหนดทิศทางของสถานศึกษา
การจัดการและวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
สถิติในชีวิตประจำวัน : Statistics in Everyday life
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
World Time อาจารย์สอง Satit UP
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
งบแสดงสถานะการเงิน รายการ ปีงบ 61 ณ 28 ก.พ. 61
การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ คือ ขั้นตอนทางสถิติโดยใช้ผังควบคุมช่วยเพื่อดูว่าส่วนใดส่วนหนึ่งของกระบวนการผลิตทำงานไม่ถูกต้องและเป็นสาเหตุทำให้สินค้าไม่มีคุณภาพ.
เภสัชกรหญิงหทัยรัตน์ โคตรสมพงษ์ ภบ., วท.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร)
แนวทางการคัดกรองภาวะซีดในเด็ก และการให้ยาเสริมธาตุเหล็ก ในคลินิกเด็กดี
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและโจทย์วิจัย Cluster SALTH
การนำผลการประเมิน ไปพัฒนาคุณภาพการศึกษา
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
การวิเคราะห์อนุกรมเวลา และการพยากรณ์
ผู้ดำเนินการวิจัย นางสาว นิลุบล สุวลักษณ์ รหัสนักศึกษา
คะแนนและความหมายของคะแนน
การมีส่วนร่วมในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากร
บทที่ 10 การบริหารระบบเครือข่าย
ดัชนีชี้วัดทัศนคติผู้ลงทุน (Investor Sentiment Index: ISI)
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
Probability and Statistics for Computing
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
National Coverage กพ.62 รายจังหวัด
ความรู้พื้นฐานด้านระบาดวิทยา
หลักการคำนวณค่าทางสถิติพื้นฐาน
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
“Online Article Service & Tracking System”
สถานการณ์ วิกฤติ 7 ระดับ
บทที่ 3 การพยากรณ์ยอดขาย การบริหารงานอุตสาหกรรม.
ดัชนีชี้วัดทัศนคติผู้ลงทุน (Investor Sentiment Index: ISI)
Information Retrieval
จำนวนรายการยาเฉลี่ยต่อผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก แยกตามภาควิชา (ไม่รวม ER) สูตรการคำนวณ = จำนวนรายการยาทั้งหมดที่สั่งจ่ายให้แก่ผู้ป่วยนอก.
ประจำปีการศึกษา พุทธศักราช 2555
Kernels Usman Roshan.
Predicting declines in perceived relationship continuity using practice deprivation scores: a longitudinal study in primary care by Louis S Levene, Richard.
Speedy Stones Match terms to definitions TEACHER NOTES:
DISTRIBUTIONS DERIVED FROM THE NORMAL DISTRIBUTION
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยี บางละมุงอินเตอร์-เทค ชื่อผู้วิจัย ประทุมทิพย์ แก้วทองคำ

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารการศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีบางละมุงอินเตอร์-เทค ชลบุรี

กรอบแนวคิด/ตัวแปรการวิจัย ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติงานในวิทยาลัยเทคโนโลยีบางละมุงอินเตอร์-เทค ชลบุรี จำนวน 28 คน (ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้กลุ่มประชากรทั้งหมดในการวิจัย)

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษานี้เป็นแบบสอบถาม มี 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของครูผู้สอน เป็นแบบตรวจสอบรายการ มีจำนวน 4 ข้อ ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจในการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีบางละมุงอินเตอร์-เทค ชลบุรี จำนวน 19 ข้อ จำแนกได้ 4 ด้านดังนี้ ด้านการบริหารวิชาการ 7 ข้อ ด้านการบริหารงานงบประมาณ 5 ข้อ ด้านการบริหารงานบุคคล 3 ข้อ ด้านการบริหารงานทั่วไป 4 ข้อ

สถิติที่ใช้ในการวิจัย การประเมินความพึงพอใจของครูผู้สอนการบริหารการศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีบางละมุงอินเตอร์-เทค ชลบุรี ว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับใด โดยยึดเอาค่าเฉลี่ย (Mean) ของคะแนนเป็นตัวชี้วัดโดยกำหนดเกณฑ์ในการประเมินไว้ดังนี้ (ดร.ชัยวิชิต เชียรชนะ :2554:หน้า 41) 4.51-5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด 3.51-4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก 2.51-3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง 1.51-2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย 1.00-1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด

ผลการวิเคราะห์

สรุปผลการวิจัย 1. การวิเคราะห์การประเมินความพึงพอใจของครูที่มีต่อการบริหารงานของวิทยาลัยเทคโนโลยีบางละมุงอินเตอร์-เทค ชลบุรี พบว่า ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการบริหารงานของวิทยาลัยเทคโนโลยีบางละมุงอินเตอร์-เทค ชลบุรีโดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก (μ=4.01,σ=0.332)เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าระดับความพึงพอใจด้านที่มีค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการบริหารงานทั่วไป ด้านบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารงานงบประมาณ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านบริหารงานบริหารงานทั่วไป

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 2. การวิเคราะห์การประเมินความพึงพอใจของครูผู้สอนที่มีต่อการบริหารงานของวิทยาลัยเทคโนโลยีบางละมุงอินเตอร์-เทค ชลบุรี เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านการบริหารงานวิชาการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก(μ=3.89, σ=0.358)เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ส่งเสริมให้มีการวิจัยทางการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของนักเรียน รองลงมาคือ จัดให้มีการวัดผล ประเมินผล โดยเทียบโอนความรู้ ทักษะประสบการณ์ ผลงานจากสถานศึกษาอื่นตามแนวทางที่กระทรวงกำหนด และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูพัฒนาแหล่งการเรียนทั้งในวิทยาลัย และชุมชน ตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่น

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) ด้านการบริหารด้านงบประมาณ โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก (μ=3.97 σ=0.402)เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ จัดทำระบบการบริหารการเงินเป็นไปตามขั้นตอนและเปิดเผยต่อชุมชน รองลงมาคือ จัดทำแผนพัฒนาเพื่อหาความเหมาะสมในการเสนองบประมาณ และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ มีระบบการบริหารจัดการพัสดุ และสินทรัพย์ที่ดีและตรวจสอบได้

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) ด้านการบริหารงานบุคคล โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก(μ=4.07, σ=0.522)เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ส่งเสริมการมีวินัยและการรักษาวินัยของบุคลากรทางการศึกษา เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ชุมชน รองลงมาคือ มีการสร้างขวัญและกำลังใจเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ มีการวางแผนอัตรากำลังคนและบุคลากรในสถานศึกษาเหมาะสมและเพียงพอต่อนักเรียน

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) ด้านการบริหารงานทั่วไป โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก (μ=4.12, σ=0.470)เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ มีการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยฯ เพื่อให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการประจำปีของวิทยาลัย รองลงมาคือ ส่งเสริมประสานงานให้มีการจัดการศึกษาทั้งระบบ และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ มีระบบบริหารงานธุรการที่ทันสมัยโดยยึดหลักความถูกต้องรวดเร็ว ประหยัดและคุ้มค่า

ข้อเสนอแนะ 1. ควรศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ปกครองที่มีต่อการบริหารสถานศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีบางละมุงอินเตอร์-เทค ชลบุรี 2. ควรศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจของครู ผู้ปกครองและนักเรียนต่อการบริหารสถานศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีบางละมุงอินเตอร์-เทค ชลบุรี

จบการนำเสนอ