นักวิชาการกับงานวิชาการเพื่อสังคม (และตำแหน่งทางวิชาการ)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความฝันเกี่ยวกับ นศ. มหิดล
Advertisements

การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและความสำคัญของ Learning Outcome Assessment
เทคนิคการตั้งชื่อวิทยานิพนธ์ # 2
ผศ.ดร.อังสนา บุญธรรม ภาควิชาอนามัยชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล
นายนพรุจ ธนาทิพยางกูร
การฝึกอบรมคืออะไร.
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
บทที่ 2 การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
การเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน (Project based Learning : PBL)
Prof.Emeritus Dr.ANURAK PANYANUWAT CAMT, CHIANG MAI UNIVERSITY
การเขียนเอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัย การเขียนเอกสารโครงเรื่องวิจัย
การเขียน Concept Paper & Full Proposal
Knowledge Audit and Analysis
Action Research รศ. ดร. วิโรจน์ สารรัตนะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
นโยบายด้านกิจการนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Project based Learning
แนวคิดการวิจัย เชิงคุณภาพ รศ
“แนวทางการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ”
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย
เกริ่นนำงานวิจัยเบื้องต้น
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา ชุมชนศึกษาและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
Research of Performing Arts
งานสนับสนุนบริการ สู่การบริการที่เป็นเลิศ
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
กฎหมายการศึกษาไทย.
การเขียนเอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัย การเขียนเอกสารแนวความคิดในการวิจัย
วิจัยทางการพยาบาล ดร.อัญชลี จันทาโภ.
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
ระดับความเข้มแข็งและขีดความสามารถขององค์การ
สมรรถนะของข้าราชการ กลุ่มงานบริการประชาชน ด้านสุขภาพและสวัสดิการ
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
การประชุมคณะกรรมการโครงการ DHS South phase 2 ครั้งที่ 1/2560
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
ผลงานวิชาการรับใช้สังคม และการขอตำแหน่งทางวิชาการ
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
PRE 103 Production Technology
ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
แผนยุทธศาสตร์ ๑๐ ปี มน. พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เตรียมพัฒนานิสิตสู่ประชาคมโลก
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
การประเมินประสิทธิภาพสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค (Model of Consumer Behavior)
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
บทที่ 5 ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค
แนวคิดและตัวอย่างวิธีการวิเคราะห์ เพื่อการถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการ
การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
Program Evaluation Achakorn Wongpreedee, Ph.D.
ขั้นตอนการทำเรื่องการเรียนรู้ร่วมการทำงาน (พ.ค. – ก.ย. 62 )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นักวิชาการกับงานวิชาการเพื่อสังคม (และตำแหน่งทางวิชาการ) ปิยะวัติ บุญ-หลง สถาบันคลังสมองของชาติ

หลักคิด “วิชาการเพื่อสังคม” วิจัย บริการ 1.“ผล” ต่อสังคม “โจทย์” จากสังคม การเรียนการสอน 2. “ผล” ต่อวงการวิชาการ กระบวนการมีส่วนร่วม

ความแตกต่างจาก “วิชาการแบบเดิม” Basic Research Applied Research Translational Research Product or process “ผลต่อวงการวิชาการ” “ผลต่อผู้ใช้”

“วิชาการเพื่อสังคม” “ผลต่อวงการวิชาการ” “ผลต่อผู้ใช้” Publ. Publ. Solutions การเรียนการสอน Basic Research Applied Research “Problem solving” โจทย์ในพื้นที่ “ผลต่อวงการวิชาการ” “ผลต่อผู้ใช้”

วิชาการ 4 ประเภท ของมหาวิทยาลัย(Boyer, 1990) การค้นพบใหม่ (Discovery) การประยุกต์ (Application) การเรียนการสอน (Teaching & Learning) การบูรณาการ (Integration) วิชาการ (Scholarship)

“กระบวนทัศน์” ที่แตกต่าง วิชาการเพื่อสังคม โจทย์จากสถานการณ์จริง ผู้ใช้มีส่วนร่วมคิดร่วมทำ เวลา-ค่าใช้จ่ายพอเหมาะ ปัญหาถูกคลี่คลาย ต่อยอดด้วยสาขาวิชาอื่นๆ ขยายผลไปสู่ผู้ใช้อื่นๆ วิชาการแบบเดิม ความใหม่ของโจทย์ วิธีการตามแบบแผน เวลา-ค่าใช้จ่ายตามแหล่งทุน ผลทำซ้ำได้ ลงลึกในสาขาวิชาเดิม ถูกอ้างอิงโดยนักวิชาการ

การสร้างผลงานวิชาการเพื่อสังคม การตั้งโจทย์ -โจทย์ของชุมชน (แก้ปัญหา) -โจทย์ของนักวิชาการ (สงสัย) -โจทย์ของ stakeholders อื่นๆ กระบวนการทำ -อย่างมีส่วนร่วม -ได้รับการยอมรับ - อ้างอิง methodology อันใดอันหนึ่ง การสรุป/เขียน -เพื่อตอบโจทย์ที่ตั้งไว้ -โดยมีหลักฐานยืนยัน (การเปลี่ยนแปลง) -โดยมีหลักคิด/ทฤษฎีอธิบาย (งานวิชาการ)

Methodology : Research โจทย์จากชุมชน Participatory Action Research (PAR) Knowledge & Changes D1 R2 D2 etc. R1

Methodology : Service โจทย์จากชุมชน Technology Transfer Solution & Adoption

Methodology : Teaching & Learning โจทย์จากชุมชน Experiential Learning? Learning Outcome critical thinking problem-solving skill communication skill understanding diversity etc. สัมมนา “Socially-engaged Pedagogy (SeP)” 25 กค. 59

“ทุนเดิม” ในงานวิชาการเพื่อสังคม “ทุนเดิม” ในงานวิชาการเพื่อสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความรู้วิชาการ โจทย์ของชุมชน ร่วมปฏิบัติการ สรุปผล

“ความเปลี่ยนแปลง” ด้าน “ความรู้” ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่พัฒนาเพิ่มขึ้น ความรู้เชิงวิชาการ ที่ปรับให้เหมาะสมกับบริบท โจทย์ของชุมชน ทดลองปฏิบัติการ ทบทวนผล

ความเปลี่ยนแปลงด้าน“คน” ที่เกี่ยวข้อง แกนนำชุมชน คนในชุมชน กลุ่ม และการจัดการกลุ่ม หน่วยงานภายนอก นักวิจัยเอง นักศึกษา ฯลฯ

จุดอ่อนในอดีต : การสร้างวิชาการ คำตอบสำหรับชุมชน ข้อค้นพบทางวิชาการ? Basic Research Applied Research “บริการวิชาการ” โจทย์ในพื้นที่ “ผลต่อวงการวิชาการ” “ผลต่อชุมชน”

ที่มักเป็น ที่ควรมี สาเหตุ : ต้นทาง โจทย์จากชุมชน + โจทย์ของนักวิชาการ การสำรวจทุนเดิม Action เพื่อทดลอง ข้อมูล stakeholders อื่น Methodology ที่ชัดเจนทางใดทางหนึ่ง ที่มักเป็น มีแต่โจทย์ของชุมชน ไม่มีโจทย์วิชาการ ไม่ได้หาข้อมูลก่อนทำ (base line data) เป็นงานสำรวจ สัมภาษณ์ วางแผน มุ่งกลุ่มเป้าหมายเดียว ทำงานแบบไปเรื่อยๆ

Proposal ที่ดี Review สถานการณ์ของชุมชน และที่มาของปัญหาที่ต้องการจะวิจัย (Research Problem) ขอบเขตของงาน (“ชุมชน” หรือ “พื้นที่” – “unit”) เพื่อจะวัดความเปลี่ยนแปลงในภายหลัง วัตถุประสงค์ (Objective) ของโครงการ วิธีการ – กิจกรรม – แผนงาน – งบประมาณ สิ่งที่จะคาดว่าจะได้รับ หรือที่จะส่งมอบได้ (Deliverables) สรรพคุณของผู้วิจัย

ปัญหาของ Proposal ที่มักพบ เรื่องพื้นๆ ไม่น่าสนใจ มีคนทำมาแล้วมาก ไม่มีอะไรใหม่ (โจทย์ใหม่ /วิธีการใหม่ /กลุ่มเป้าหมายใหม่ /เงื่อนไขใหม่/ ฯลฯ) โจทย์ใหม่ โจทย์ใหม่/ วิธีการเก่า โจทย์ใหม่/ วิธีการใหม่ โจทย์เก่า/ วิธีการเก่า โจทย์เก่า/ วิธีการใหม่ วิธีการเก่า วิธีการใหม่ โจทย์เก่า

ปัญหาของ Proposal ที่มักพบ เริ่มงาน “มือเปล่า” ไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับเรื่องนั้น/ชุมชนนั้น หรือในที่อื่นที่เกี่ยวข้องกัน เรื่องใหญ่หรือเล็กเกินไป ไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง (“ขอบเขต” หรือ “unit” ไม่ realistic) คำถามวิจัย/วัตถุประสงค์ – วิธีการ – กิจกรรมที่จะทำ ไม่สัมพันธ์กัน (วิธีการเล็ก/วัตถุประสงค์ใหญ่) ผลที่คาดว่าจะได้รับเป็นนามธรรม ไม่สามารถวัดได้ งบประมาณหรือเวลา นานเกินไป/มากเกินไป ไม่สมเหตุผล

บทบาทของนักวิชาการในงานนี้ Knowledge Transfer ชุมชน มหาวิทยาลัย D A A’ E “Academic R” “Participatory R โดยนักวิชาการ” “Participatory R โดยชุมชน” “Community-based Research”

บทบาทของนักวิชาการ ชุมชน นักวิชาการ Technology Transfer PAR CBR

ทำไมจึงควรทำงานนี้ ? (ปัจเจก) วิจัยแบบเดิม : สร้างความรู้สู่สากล /contribute สู่องค์ความรู้ของมนุษยชาติ -> “knowledge agenda” นำกลับเข้าสู่การเรียนการสอน วิชาการรับใช้สังคม : ช่วยเหลือผู้ที่เสียเปรียบในสังคม เพิ่มคุณค่าความเป็นมนุษย์ ลดความเหลื่อมล้ำ  “social agenda” สร้างความภูมิใจ ความหมายให้กับชีวิตของผู้ทำ  “values agenda”? ถ่ายทอดสู่คนรุ่นใหม่  “cultural agenda”

ทำไมจึงต้องทำ/ควรทำงานนี้ ? (สถาบัน) “... 3. ส่งเสริมสนับสนุนการบูรณาการระหว่างการบริการวิชาการ การวิจัยและการเรียนการสอน เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน             4. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในคุณค่า ความสำนึก และความภูมิใจในศิลปะและ วัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติ             5. พัฒนาและส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน สังคมและประเทศชาติ มีส่วนร่วม ในการจัดการ การบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน ...   “        

Check list การทำงานวิชาการเพื่อสังคม (Transformative worldview, Sweetman, 2010) โจทย์วิจัยมาจากกระบวนการร่วมกับชุมชนหรือไม่? ชุมชนได้มีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน (actively engaged) ในการทำหรือไม่? การเก็บข้อมูลและผลของข้อมูลเกิดประโยชน์กับชุมชนอย่างไร? ได้คำนึงถึงความหลากหลายต่างๆในชุมชนหรือไม่? ผลงานวิจัยได้เปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์เชิงอำนาจในชุมชนหรือไม่? ผลงานได้สร้างความเปลี่ยนแปลงเชิงสังคมในชุมชน/นอกชุมชนอย่างไร?

การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ ด้วยผลงานวิชาการรับใช้สังคม ผศ. รศ. ศ. การสอน ผลงานวิชาการ ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการลักษณะอื่น ผลงานวิชาการรับใช้สังคม ตำรา หนังสือ

การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ ด้วยผลงานวิชาการรับใช้สังคม วิธีดำเนินการ (procedure) ใช้วิธีเดียวกันกับการขอตำแหน่งวิชาการปกติ ไม่ถือว่าเป็นการเปลี่ยนสาขา ตัวผลงาน จัดทำเป็นเอกสาร + สื่อชนิดอื่นๆ การมีส่วนร่วม ไม่คิดเป็นร้อยละ แต่ให้ระบุบทบาท การเผยแพร่ เผยแพร่อย่างกว้างขวาง โดยประจักษ์ต่อสาธารณะ (ผ่านงานนิทรรศการ การนำเสนอ สื่อมวลชน ฯลฯ)

รูปแบบของผลงานวิชาการรับใช้สังคม ให้จัดทำเป็นเอกสาร ที่ประกอบด้วยเนื้อหาดังต่อไปนี้ สถานการณ์ก่อนการเปลี่ยนแปลง การมีส่วนร่วมและการยอมรับของกลุ่มเป้าหมาย กระบวนการที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ความรู้ความเชี่ยวชาญที่ใช้ การประเมินผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้น การคาดการณ์สิ่งที่จะตามมา แนวทางการติดตามและธำรงรักษา

จุดอ่อนที่พบในบทความ การ review สถานการณ์ก่อนการเปลี่ยนแปลง ไม่เฉพาะเจาะจง (กับกลุ่มเป้าหมายหรือพื้นที่) กระบวนการและเครื่องมือที่ใช้ ไม่มีเหตุผลที่มา และหลังจากทำแล้วไม่มีการวิเคราะห์ว่าเหตุใดจึงประสบความสำเร็จ/ไม่สำเร็จกับกลุ่มเป้าหมายนี้ ความรู้ความเชี่ยวชาญที่ใช้ ไม่ชัดเจนหรือไม่หนักแน่นพอ ผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ไม่มีหลักฐานยืนยัน มาตรการหรือกลไกที่จะทำให้การเปลี่ยนแปลงนั้นต่อเนื่อง ยังไม่มี (เพื่อนำไปสู่“ความยั่งยืน”)

ความรู้ความเชี่ยวชาญที่ใช้ “How Change Happens” (Krznaric, 2007) ประวัติศาสตร์ (why?) Actors/structures, above/below, internal/external รัฐศาสตร์ ฝ่ายบริหาร/กลไกรัฐ/อปท./กฎหมาย/ความมั่นคง, sequences/path analysis, สังคมอุปถัมภ์/คอรัปชั่น, ความเหลื่อมล้ำ สังคมวิทยา ผู้นำ/แกนนำ, ขบวนการประชาชน,ประชาสังคม, สหกรณ์, NGO, สำนึก/วัฒนธรรม บริหาร/วิทยาการจัดการ Learning organizations/systems thinking, change management/positive reinforcement/comfort zones, leadership เศรษฐศาสตร์ Rational choice/self-interest, free market, behavioral economics Others Tipping points

การเผยแพร่ -วารสาร -Proceedings -หนังสือรวมบทความ (ที่มี peer review จากต่างสถาบัน)

บทบาทของมหาวิทยาลัย ในการสร้างผลงานวิชาการรับใช้สังคม และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ อนุญาตให้ออกไปทำงาน เตรียมข้อมูลพื้นฐานของชุมชน /ประสานงานกับชุมชน/ หาพี่เลี้ยงให้นักวิจัย ตรวจสอบการมีอยู่จริงของผลงานวิชาการรับใช้สังคม และรับรองการใช้ประโยชน์ (หากจำเป็น) อาจแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิด้านชุมชนร่วมพิจารณาผลงานได้อีก 2 คน สนับสนุนการเผยแพร่ผลงาน (นิทรรศการ, การประชุมวิชาการ, หนังสือรวมบทความ, วารสาร)

สถานภาพปัจจุบัน ของผลงานวิชาการเพื่อสังคม/รับใช้สังคม สถานภาพปัจจุบัน ของผลงานวิชาการเพื่อสังคม/รับใช้สังคม นักวิจัย และทุนวิจัย : มีอยู่บ้างแล้ว นโยบายและการสนับสนุนของมหาวิทยาลัย : มีหลายแห่ง การขอกำหนดตำแหน่ง : กำลังอยู่ระหว่างการ process ตัวช่วย กรณีศึกษา Engagement Cases 50 กรณี หนังสือ “งานวิชาการเพื่อสังคม : หลักการและวิธีการ” การประชุมวิชาการ Engagement Thailand ครั้งที่ 3 : 6-8 กรกฏาคม 2559 โดย มทส. พัฒนาเกณฑ์การประเมินคุณภาพ และการทำความเข้าใจกับผู้ทรงคุณวุฒิ (สัมมนา 10 สค.59) ตัวชี้วัดมหาวิทยาลัย ด้าน engagement ( สัมมนา 2 มิย. 59) ความสนใจจากต่างประเทศ