แนวคิดพื้นฐานของการพัฒนาองค์การ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Development Communication Theory
Advertisements

บทบาทหน้าที่ของ HR ยุคใหม่
กระบวนวิชา ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System)
บทบาทของอาจารย์ 9 มทร.กับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
สิ่งแวดล้อมขององค์การสาธารณะ
ENTITY มุมมองยุคสารสนเทศ สังคมสารสนเทศ สังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based Society) ประยุกต์สู่ New Economy ทิศทางวิวัฒนาการและพัฒนาสู่ยุคต่างๆ Processors.
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนงานบริหาร
Health System Reform.
1. เพื่อให้ผู้บริหารโรงเรียนและครูรับผิดชอบ จัดทำแบบทุกโรงเรียนความรู้ความเข้าใจ ด้านการวางแผน การจัดทำแผนพัฒนา การศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี และการ บริหารงบประมาณ.
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ รายการยุทธศาสตร์ที่ 3 คิดเป็น ร้อยละ.
มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง กับการบรรจุแต่งตั้ง.
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP
ความขัดแย้ง-การเปลี่ยนแปลง- การสร้างทีมงาน และภาวะผู้นำของผู้บริหาร : กรอบคิดเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ รองศาสตราจารย์ ดร.ภาณุวัฒน์ ภักดีวงศ์ ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา.
อยู่ระหว่างดำเนินการ
ความปลอดภัยในการทำงาน
การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม
สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
Action Research รศ. ดร. วิโรจน์ สารรัตนะ
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
นโยบายการพัฒนาสถานประกอบการเพื่อสุขภาพมุ่งสู่คุณภาพ
การจัดหาหรือจัดให้มีการพัฒนา และการบํารุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบงานคอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศ มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศตามวิธีการแบบปลอดภัย.
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พ.ศ
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
อาหารและการเกษตรไทย ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
การเบิก-จ่ายเงินอย่างมืออาชีพ
บทที่ 13 วงจรบัญชีแยกประเภททั่วไป
รายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
๑. หลักการบริหารงานทั่วไปและการบริหารทางการพยาบาล
ลักษณะทั่วไปของคำในภาษาไทย
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ หลักสูตร นายทหารฝ่ายการส่งกำลังบำรุง (ฝอ.๔) ณ รร.กบ.ทบ. ๕ มิ.ย. ๖๐.
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม (Social & Culture Change)
บุคลากร (Workforce) หมวด 5 หน้า 1.
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
บทบาทของนักส่งเสริมการเกษตรที่พึงประสงค์ จะต้องเป็น “CoTAC”
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
การรับสารด้วยการอ่าน
ครอบครัว กับการคืนสู่สุขภาวะ
แนวทางการจัดทำ งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
วันพุธที่ 22 กรกฎาคม 2558 เวลา น. ณ ห้องรัตนโกสินทร์
กระทรวงศึกษาธิการ.
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม
Family assessment.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
รายวิชา IFM4401 โครงงานการจัดการสารสนเทศ 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
ผู้สอนวิชากฎหมายธุรกิจและภาษีอากร(bus226)
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
เรื่องชนเผ่าในจังหวัดมุกดาหาร
กองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน
ประชุมคณะทำงานจัดทำข้อเสนอในการพัฒนาระบบงานและสารสนเทศสำหรับระบบประกันสุขภาพคนต่างด้าว ในวันที่ 8 กรกฎาคม 2562 ณ ห้องประชุมกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ.
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลแสลงพันปีงบประมาณ ๒๕๖๐ พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลคำพราน ปีงบประมาณ 2560 พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
วิชาสถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญPPA1106
สังคมและการเมือง : Social and Politics
สังคมและการเมือง : Social and Politics
วิชากระบวนการนโยบายสาธารณะ PPA1104
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดพื้นฐานของการพัฒนาองค์การ บทที่ 1. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร

ความหมายของการพัฒนาองค์การ การพัฒนาองค์การ หมายถึง การฝึกอบรมในหลายๆ รูปแบบหรือการพยายามเข้าแทรกแซงองค์การในลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งโดยมุ่งประสงค์ที่จะปรับปรุงองค์การหรือสมาชิกองค์การและในภาพรวม การพัฒนาองค์การ คือ การให้ความสําคัญที่การเจริญเติบโตและการพัฒนาขององค์การโดยทั้งมวล

ลักษณะสําคัญของการพัฒนาองค์การ 1.การเปลี่ยนแปลงที่ได้วางแผนไว้ล่วงหน้า 2. การเปลี่ยนแปลงที่มีลักษณะครอบคลุม 3. จุดเน้นจะอยู่ที่กลุ่มงาน 4. การเปลี่ยนแปลงในระยะยาว 5. ตัวการการเปลี่ยนแปลง (Change agent) จะมีส่วนร่วมอยู่ด้วย 6. การเน้นย้ำจะอยู่ที่การเข้าแทรกแซงและการวิจัยเพื่อการแก้ปัญหา

การฝึกอบรมในห้องปฏิบัติการ ความสำคัญของการศึกษาและการฝึกอบรม การศึกษาและการฝึกอบรมเป็นวิธีที่ช่วยพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีความสามารถ (Competencies)มากขึ้น ซึ่งจะช่วยป้องกันและแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างฏิบัติงาน ซึ่งจะช่วยให้งานประสบผลสำเร็จ

การฝึกอบรมในห้องปฏิบัติการ จุดเริ่มของการฝึกอบรมในห้องปฏิบัติการเริ่มในปี 1945 โดย เคิร์ท เลวิน (Kurt Lewin) ผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาการศึกษาลักษณะพลวัตหรือความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงกลุ่ม ต่อมาในปี 1946 เลวินและคณะ ประกอบด้วย เคนเนธ เบน (Kenneth Benne) ลีแลนด์ แบรทฟอร์ด (Leland Bradford) และโรนัลด์ ลิปปิทท์ (Ronald Lippitt) ขึ้นเป็นครั้งแรกที่วิทยาลัยครูแห่งรัฐคอนเนคติกัต เมืองนิวบริเทน สามารถสรุปผลกระทบต่อการกำเนิดการพัฒนาองค์การ 2 ประการ คือ

การฝึกอบรมในห้องปฏิบัติการ ผลกระทบต่อการกำเนิดการพัฒนาองค์การ 2 ประการคือ การให้และการรับฟังข้อวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมการมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันในกลุ่ม กระบวนการกลุ่ม ประโยชน์สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ได้

ในปี 1958 เฮอร์เบิร์ต เชปเพิร์ด (Herbert Shepard) ทำงานเป็นนักวิจัยของบริษัทเอสโซ่แสตนดาร์ดอยล์ จำกัด ได้ทำการทดลองที่โรงกลั่นน้ำมันของบริษัทเอสโซ่ 3 แห่งคือ เบยอน บาตองรูจ เบย์เวย์ โดยเฉพาะเบย์เวย์เกิดสิ่งสำคัญ 2 ประการคือ แนวคิดเรื่องกริดของการบริการของเบลคและมูตัน ได้ถูกนำมาใช้เป็นเทคนิคในการพัฒนาองค์การอย่างแพร่หลาย มีความสนใจในโปรแกรมการสร้างทีมงาน การให้คำปรึกษา การแก้ไขข้อขัดแย้งระหว่างกลุ่ม

การสำรวจข้อมูลและการป้อนข้อมูลย้อนกลับ การสำรวจข้อมูลและการป้อนข้อมูลย้อนกลับ หมายถึง วิธีการที่ใช้สำรวจทัศนคติของสมาชิกในองค์การ แล้วเก็บวบรวมข้อมูลที่ได้จากการประชุมปฏิบัติการย้อนหลัง เคิร์ท เลวิน เป็นบุคคลแรกที่ริเริ่มใช้แบบสอบถามเพื่อการสำรวจทัศนคติของพนักงานในหน่วยงาน เรนซิส ลิคเคิร์ท และคณะ การใช้ข้อมูลที่ได้จากการทดสอบหรคือการสำรวจพฤติกรรม ทัศนคติ ค่านิยมและความรู้สึกของสมาชิกให้เกิดประโยชน์สูงสุด

การวิจัยเชิงปฏิบัติการ การรับรู้ปัญหาและการสำรวจวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้น การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มลูกค้า การให้ข้อมูลย้อนกลับไปยังกลุ่มลูกค้า กลุ่มวางแผนปฏิบัติงานร่วมกัน กลุ่มลงมือปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนดไว้ การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินผลของการปฏิบัติงาน

ระบบเทคนิคและสังคม ระบบเทคนิคและสังคม (Socio-technical system) ปัญหาที่เกิดขึ้นมีสาเหตุมาจากบริษัทได้นำเทคนิคใหม่ๆมาใช้แล้ว บริษัทไม่สนใจความสัมพันธ์ทางสังคมของคนงานเน้นแต่เทคโนโลยี ทำให้มองข้ามความสำคัญด้านความสัมพันธ์ทางสังคม

คุณลักษณะของการพัฒนาองค์การ เน้นการทำงานเป็นกลุ่ม การเปลี่ยนแปลงอย่างมีแผน การเปลี่ยนแปลงเชิงระบบ เน้นการกำหนดเป้าหมายและวางแผน การปฏิสัมพันธ์ที่ทำต่อเนื่อง ใช้ประสบการณ์ คุณลักษณะการพัฒนาองค์การ ใช้ผู้นำในการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงข้อมูลเป็นพื้นฐาน เน้นการเปลี่ยนแปลงค่านิยม วัฒนธรรม เน้นการใช้ความรู้ด้านพฤติกรรมศาสตร์ ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร เน้นการเพิ่มประสิทธิภาพ

วัตถุประสงค์ของการพัฒนาองค์การ ด้านกระบวนการ ด้านการผลิต

วัตถุประสงค์ของการพัฒนาองค์การ ด้านกระบวนการ คือ เป้าหมายที่จะปรับปรุงกระบวนการต่างๆ เช่น การปรับปรุงในเรื่องการติดต่อสื่อสาร การมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างสมาชิก ด้านการผลิต การปรับปรุงผลปฏิบัติงานของสมาชิกเป้าหมายจะเน้นว่าผลที่สำเร็จโดยสมาชิกและทีมงาน

สมมติฐานเบื้องต้นของการพัฒนองค์การ สมมติฐานเบื้องต้นเกี่ยวกับคนในฐานะที่เป็นบุคคล ประการที่ 1. สมาชิกส่วนใหญ่ขององค์การต่างปรารถณาความเจริญก้าวหน้าและพัฒนา ประการที่ 2. สมาชิกส่วนใหญ่ขององค์การต่างปรารถณาที่จะทำงานทำให้เป้าหมายขององค์การประสบผลสำเร็จ

องค์ประกอบพื้นฐานของการพัฒนาองค์การ การตรวจวินิจฉัยปัญหาขององค์การ การใช้เทคนิคการสอดแทรก องค์ประกอบพื้นฐานของการพัฒนาองค์การ การประเมินผล

การตรวจวินิจฉัยปัญหาขององค์การ หมายถึง ความพยายามแสวงหา รวบรวมข็อมูลเกี่ยวกับสถานภาพปัจจุบันขององค์การ เช่น การใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ การสังเกต การบันทึกผลการปฏิบัติงาน การใช้เทคนิคสอดแทรก เพื่อมุ่งปรับปรุงและแก้ไขปัญหาของกระบวนการต่างๆ เช่น การกำหนดเป้าหมายของการเปลี่ยนแปลง การเลือกเทคนิคการสอดแทรกที่เหมาะสม การวางแผน การประเมินผล เป็นการตรวจสอบและติดตามสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ เอื้ออำนวยประโยชน์ต่อการเพิ่มสมรรถนะส่วนบุคคล องค์การ

กระบวนการพัฒนาองค์การ ตระหนักรู้ถึงปัญหา ผู้บริหารระดับสูงซึ่งมีอำนาจในการตัดสินใจรับรู้ว่าองค์การประสบปัญหาต่างๆที่องค์การประสบ เช่น การสื่อสารไม่ดี มีความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม การวางแผน การกำหนดเป้าหมาย แรงจูงใจของพนักงานต่ำ ทีมไม่มีประสิทธิผล การเก็บรวบรวมข้อมูลและตรวจวินิจฉัยข้อมูลเบื้องต้น โดยการสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม การังเกต การปฏิบัติงาน การจดบันทึก

กระบวนการพัฒนาองค์การ การให้ข้อมูลป้อนกลับและการตรวจวินิจฉัยร่วมกันในการให้ข้อมูลย้อนกลับที่ปรึกษาต้องระมัดระวังที่จะไม่เปิดเผยถึงแหล่งที่มาของข้อมูล การวางแผนร่วมกันและการปฏิบัติตามแผน ต้องตกลงร่วมกันในเรื่องการกำหนดวัตถุประสงค์ กำหนดแนวทางถึงกลยุทธ์ที่จะช่วยให้การปฏิบัติการบรรลุวัตถุประสงค์ การเก็บรวบรวมข้อมูล ตรวจวินิจฉัยข้อมูลอีกครั้งหลังจากที่ได้ปฏิบัติตามแผน

กระบวนการพัฒนาองค์การโดยใช้แม่แบบการสร้างทีม การวินิจฉัยเบื้องต้น การรวบรวมข้อมูล การประเมินผลและติดตามผล การตรวจสอบข้อมูล การสร้างความสัมพันธ์ การสร้างทีมงาน การวางแผนปฏิบัติงาน

เทคนิคการพัฒนาองค์การ เทคนิคการพัฒนาองค์การ คือ กิจกรรมในลักษณะต่างๆที่ได้วางแผนไว้อย่างเป็นระบบเพื่อเพิ่มพูลศักยภาพขององค์การให้บรรลุวัตถุประสงค์ งานหรือกิจกรรมที่ทำเพียงชิ้นเดียว เช่น การประชุมเพื่อแก้ไขข้อขัดแย้งของทีมงาน งานหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งกลุ่มต้องดำเนินการตามลำดับเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ กลุ่มของกิจกรรมที่เป็นประเภทเดียวกัน เช่น การสร้างทีมงาน แผนการดำเนินงานที่รวมกิจกรรมต่างๆเพื่อใช้ในการปรับปรุงองค์การ

การพัฒนาองค์การกับการสร้างทีมงาน ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาองค์การ กับการสร้างทีมงาน เป็นไปในทิศทางที่สนับสนุนและส่งเสริมกันการมุ่งพัฒนาองค์การให้เจริญก้าวหน้า อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลนั้น จำเป็นต้องใช้กลยุทธ์ หรือเทคนิคในการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบ ซึ่งหนึ่งในเทคนิคที่มีประสิทธิภาพสูงและนิยมใช้กันมาก คือ เทคนิคการสร้างทีมงาน ในฐานะที่เป็นเครื่องมือนำไปสู่การสร้างวัฒนธรรมการทำงานที่พึงปรารถนาของทุกหน่วยงานในยุคปัจจุบัน

เทคนิคการพัฒนาองค์การจำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการพัฒนาองค์การที่ใช้ การใช้เทคนิคเพื่อการปรับปรุงประสิทธิผล -การวางแผนชีวิตและอาชีพ ของแต่ละบุคคล -การวิเคราะห์บทบาท -การสอนและการให้คำปรึกษา -การฝึกอบรมในห้องปฏิบัติการ -การให้การศึกษาและอบรมเพิ่มพูนทักษะ -การทำงานให้มีความหมาย -การวิเคราะห์พฤติกรรมติดต่อระหว่างบุคคล

เทคนิคการพัฒนาองค์การจำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการพัฒนาองค์การที่ใช้ การใช้เทคนิคเพื่อปรับรุงประสิทธิผลของ -การให้คำปรึกษาในกระบวนการทำงาน กลุ่มย่อยที่ประกอบด้วย 2-3 คน -การยุติข้อพิพาทโดยใช้องค์การที่สาม -การพัฒนาด้วยกริดที่ 1 และ 2 การใช้เทคนิคเพื่อปรับปรุงประสิทธิผลของ -การสร้างทีมงาน ,มุ่งงาน ,มุ่งกระบวนการ ทีมงานและกลุ่ม -การจัดฝึกอบรมแบบ T-group -การสร้างทีมงานใหม่

เทคนิคการพัฒนาองค์การจำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการพัฒนาองค์การที่ใช้ การใช้เทคนิคเพื่อปรับปรุงประสิทธิผล --การสร้างทีมงาน ,มุ่งงาน ,มุ่งกระบวนการ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม -การสำรวจองค์การโดยใช้หน่วยงานอื่น -การสอดแทรกเพื่อปรับปรุงโครงสร้าง -การให้คำปรึกษาในกระบวนการทำงาน -การยุติข้อพิพาทระดับกลุ่มโดยใช้องค์การ ที่สาม -การสำรวจข้อมูลและการส่งข้อมูลย้อนกลับ

เทคนิคการพัฒนาองค์การจำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการพัฒนาองค์การที่ใช้ การสอดแทรกเพื่อปรับปรุงประสิทธิผล -กิจกรรมด้านการเปลี่ยนแปลงงานและ ของทั้งองค์การ โครงสร้างและระบบเทคนิคสังคม -การประชุมแบบเผชิญหน้า -การวางแผนยุทธ์ศาสตร์ -การสำรวจข้อมูลและการส่งข้อมูลย้อนกลับ -ระบบบริหารระบบที่ 4

วิธีการหรือกิจกรรมต่างๆในการสร้างทีมงาน กลุ่มครอบครัว กลุ่มพิเศษ การประชุมตรวจวินิจฉัยเพื่อการสร้างทีมงาน ของกลุ่มครอบครัวมุ่งเน้น 1 ความสำเร็จของการทำงาน เช่นการแก้ปัญหาการตัดสินใจ 1.ความสำเร็จของการทำงาน เช่น การแก้ปัญหาพิเศษ กำหนดเป้าหมาย 2.การสร้างและธำรงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคคล 2.การสร้างสัมพันธภาพโดยเฉพาะระหว่างบุคคลและหน่วยงาน 3. ความเข้าใจและการบริหารกระบวนการกลุ่มและวัฒนธรรมของกลุ่ม 3.การปรับปรุงกระบวนการต่างๆภายในองค์การ เช่น การสื่อสาร การตัดสินใจ

วิธีการหรือกิจกรรมต่างๆในการสร้างทีมงาน กลุ่มครอบครัว กลุ่มพิเศษ การประชุมตรวจวินิจฉัยเพื่อการสร้างทีมงาน ของกลุ่มครอบครัวมุ่งเน้น 4.การวิเคราะห์บทบาทของสมาชิกเพื่อสร้างความชัดเจนและกำหนดขอบเขตของบทบาท 4. การวิเคราะห์บทบาทของสมาชิกเพื่อสร้างความชัดเจนและกำหนดขอบเขตของบทบาท 5. การเจรจาต่อรองเพื่อให้ได้บทบาทที่เหมาะสม

กระบวนการสร้างทีมงานที่ใช้กันในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ การจัดประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับการทำงานเป็นทีมเพื่อสร้างความเข้าใจในกลุ่ม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ เป้าหมายหลัก การยอมรับการเปลี่ยนแปลง การรวบรวมข้อมูล เป็นการใช้แบบสอบถามรวบรวมข้อมูลด้านบรรยากาศ พฤติกรรมของหัวหน้างาน ความพึงพอใจในงาน การตรวจสอบข้อมูล เป็นการนำเสนอข้อมูลที่รวบรวมได้โดยที่ปรึกษา การกำหนดลำดับความจำเป็นเร่งด่วนและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง

กระบวนการสร้างทีมงานที่ใช้กันในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ การวางแผนปฏิบัติงานเป็นการจัดทำรายละเอียดของการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ทีมงานนำไปปฏิบัติ การสร้างทีมงานเป็นการระบุปัญหาอุปสรรคของการปฏิบัติงาน กำหนดวิธีการแก้ปัญหา การสร้างทีมงานระหว่างกลุ่ม เป็นการจัดประชุม โดยมีทีมงานต่างๆมาพบปะพูดคุย เพื่อแสวงหาความร่วมมือและแก้ปัญหาร่วมกัน

สรุป ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาองค์การกับการสร้างทีมงานเป็นไปในทิศทางที่ส่งเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกัน มุ่งพัฒนาองค์การให้เจริญก้าวหน้าอย่างมีประสิทธิผล จำเป็นต้องกลยุทธ์หรือเทคนิคในการปรับปรุงการเปลี่ยนแปลงระบบและที่นิยมใช้มากที่สุด คือ เทคนิคการสร้างทีมงาน