บทที่ ๙ การบริหารการเปลี่ยนแปลง บทที่ ๙ การบริหารการเปลี่ยนแปลง วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อสิ้นสุดการศึกษาวิชานี้แล้วนักศึกษามีความสามารถ ดังนี้ ๙.๑ บอกการบริหารการเปลี่ยนแปลงการสร้างสัมพันธภาพ ระหว่างบุคคลได้ ๙.๒ บอกการจัดการกับเวลาและความเครียดและอุปสรรคในการจัดการพยาบาลในหอผู้ป่วย ๙.๓ บอกการบริหารการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
ทบทวน การบริหาร (Administration ) หมายถึงการกำหนดนโยบาย วางแผน ติดตามการดำเนินงานขององค์กร เป็นการบริหารงานของผู้บริหารระดับสูง (บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร ;๒๕๕๕) Luther Gulickและ Urwick ,๑๙๓๗) สรุปกระบวนการบริหารไว้ ๗ ขั้นตอนคือ POSDCoRB ได้แก่ P (Planning) หมายถึง การวางแผน O (Organizing) หมายถึง การจัดโครงสร้างของการบริหารงาน S (Staffing) หมายถึง การดำเนินการเกี่ยวกับคนในองค์กร การบริหารงานบุคคล (personnel management) D (Directing) หมายถึง การอำนวยการ Co (Co-ordination) หมายถึง การประสานงาน R (Reporting) หมายถึง การบันทึกรายงาน B (Budgeting) การจัดทำงบประมาณการเงิน
ผู้บริหาร (Administrator) คือบุคคลที่มีความรับผิดชอบใน ทบทวน ผู้บริหาร (Administrator) คือบุคคลที่มีความรับผิดชอบใน บทบาทหน้าที่ ที่จะดำเนินการให้องค์การที่รับผิดชอบนั้นประสบผลสำเร็จตามที่องค์การกำหนดเป้าหมายไว้ การบริหารองค์กรพยาบาล เป็นการจัดการองค์กรให้บริการสุขภาพที่เป็นระบบเปิด ให้บริการที่มุ่งเน้นความปลอดภัยและตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาด้านสุขภาพและ พัฒนาคุณภาพชีวิต จัดระบบงานให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยเกิดข้อขัดแย้งน้อยที่สุด ตลอดจนพัฒนาบุคลากรเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานสูงสุด (วิทยาลัยสภากาชาดไทย,2551) ทฤษฎีการบริหารการพยาบาลหรือ การจัดการมีความหมายใกล้เคียงและใช้แทนกันได้
ทบทวน การจัดการหมายถึงกระบวนการนำทรัพยากรหรือปัจจัยตัวป้อน ได้แก่ คน เงิน วัสดุ และข้อมูล มาใช้ประโยชน์ในกระบวนการจัดการ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์หรือผลผลิต เพื่อให้บรรลุผลตามเป้าหมาย อย่างมีประสิทธิภาพ
บทที่ ๓ รูปแบบองค์กรทางการพยาบาล การอำนวยการและการบริหารบุคลากร บทที่ ๓ รูปแบบองค์กรทางการพยาบาล การอำนวยการและการบริหารบุคลากร ลักษณะโครงสร้างขององค์กรพยาบาลที่ดี ๓. ตำแหน่งหลัก(Line position)และตำแหน่งช่วย (staf position ) ตำแหน่งหลักหมายถึง มีอำนาจสั่งการ ๔. เอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of command) หมายถึงอำนาจสั่งการตามขอบเขตความรับผิดชอบของผู้บังคับบัญชา ๕. ช่องการติดต่อสื่อสาร โครงสร้างขององค์กรพยาบาลที่ดีต้องกำหนดช่องทางการติดต่อสื่อสาร ประสานงานทั้งภายในและภายนอกองค์การ ๖. สัมพันธภาพ บรรยากาศองค์การที่ดี มีความยึดมั่นผูกพันธ์ในองค์การ
บทที่ 9 ในปัจจุบันกระแสโลกาภิวัฒน์มีการเปลี่ยนแปลงด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีผลต่อองค์การพยาบาลในปัจจุบันและในอนาคต องค์การพยาบาลจึงต้องปรับตัวให้ก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลง แต่ธรรมชาติของมนุษย์ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง ด้วยเหตุนี้ การเปลี่ยนแปลงองค์การให้ก้าวทันในศตวรรษที่ ๒๑ ดังนั้นผู้บริหารการพยาบาลจึงจำเป็นต้องมีความรู้เข้าใจในการบริหารการเปลี่ยนแปลง
บทที่ ๙ การเปลี่ยนแปลงองค์การ(Organizational change) หมายถึง กระบวนการที่ทำให้องค์การปรับรูปแบบ โดยมีวิสัยทัศน์ ระบบการบริหารและโครงสร้างองค์การ รวมทั้งพฤติกรรมของบุคลากรในองค์การจากสภาพในปัจจุบันไปสู่เป้าหมายในอนาคต เพื่อนำองค์การให้ก้าวทันกับบริบทสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละยุค (บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร ; ๒๕๕๕)
บทที่ ๙ ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง มี 3 ทฤษฎี คือ 1. ทฤษฎีการใช้เหตุผล(Empirical-Rational Theory) -ทฤษฎีนี้เน้นเหตุผลและความรู้ในระยะแรกใช้ในการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี -ผู้ได้รับการเปลี่ยนแปลงไม่มีส่วนร่วมในการวางแผนการเปลี่ยนแปลง -ผู้นำการเปลี่ยนแปลงจะให้ความรู้กับเป้าหมาย 2.ทฤษฎีการใช้อำนาจบังคับ(Power-Coercive Theory) ทฤษฎีนี้ผู้นำสั่งผู้มีอำนาจน้อยกว่ามีการเปลี่ยนแปลงยินยอมทำตาม ทฤษฎีนี้ทำให้เกิดการควบคุมและ กฎต่างๆ ซึ่งอาจเกิดการฝ่าฝืนกฎได้ เมื่อไม่สอดคล้องกับความเชื่อค่านิยมของบุคคล 3.ทฤษฏีความรู้ใหม่ (Normative-Reeducative Theory) ทฤษฏีนี้กล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ค่านิยม ทักษะและมีสัมพันธภาพที่ดีเกิดขึ้น
บทที่ ๙ แรงขับเคลื่อน (Driving force) จะเท่ากับแรงต่อต้าน (Restraining force) แรงต่อต้าน (Restraining force) แรงต่อต้าน (Restraining force) การเปลี่ยนแปลงแรงขับเคลื่อน (Driving force)จะมากกว่าแรงต่อต้าน (Restraining force) จึงทำให้เปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงจะประสบผลสำเร็จ แรงขับเคลื่อน (Driving force) แรงขับเคลื่อน (Driving force) แรงขับเคลื่อน (Driving force) แรงขับเคลื่อน (Driving force) แรงขับเคลื่อน (Driving force)
บทที่ ๙ การเปลี่ยนแปลงแรงขับเคลื่อน (Driving force)จะมากกว่าแรงต่อต้าน (Restraining force) จึงทำให้เปลี่ยนแปลง ระยะที่ ๑ Unfreezing ระยะที่ ๒ Changing ระยะที่ ๓ Refreezing เป็นระยะที่บุคคลเรียนรู้แนวทางปฏิบัติที่ปรับเปลี่ยนและยอมรับการเปลี่ยนแปลง ในระยะ Refreezing
บทที่ ๙ สรุป ผู้บริหารองค์การพยาบาลต้องความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติในเรื่องการบริหาร การจัดการ การบริหารบุคลากร บริหารความเสี่ยง ปราศจากความขัดแย้ง มีความเป็นมิตรซึ่งกันและกัน มีการสื่อสารทางบวก การเจรจาที่ดี การบริหารยา การลงบันทึกการพยาบาล การป้องกันการฟ้องร้อง การมีความรู้และการสื่อสารภาษาอังกฤษและอาเซียน ที่หลากหลาย การมีทีมงานที่รุกไปข้างหน้า เน้นเรื่องการชะลอความชรา เนื่องจากผู้สูงอายุมาก หรือการ ป้องกัน สร้างนำซ่อม บูรณาการถึงชุมชน มีเครือข่ายที่ดี ขณะเดียวกันทางด้านการบริการสุขภาพได้มีการดำเนินการด้านการบริหารคุณภาพ (Quality Management) ได้แก่ การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Accreditation) เพื่อเป็นหลักประกันด้านสุขภาพกับผู้รับบริการ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบต่อการพยาบาลทั้งด้านการศึกษาและการบริการพยาบาล ผู้บริหารองค์การพยาบาลจึงควรมีลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีคุณภาพ มีความสามารถในการใช้ทักษะในการประยุกต์และใช้แนวคิดของภาวะผู้นำ และการจัดการทางการพยาบาล ในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อให้การบริการที่ดี มีความพึงพอใจทั้งพยาบาลและผู้รับบริการ
บทที่ ๙ อ้างอิง ทัศนา บุญทองและคณะ บทที่ ๙ อ้างอิง ทัศนา บุญทองและคณะ. (2549)ความต้องการกำลังคนสาขาพยาบาลศาสตร์ในระบบบริการสุขภาพของประเทศไทย ปี2549-2559 กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์บริษัทจุดทอง ประนอม โอทกานนท์ (2543).การประกันคุณภาพการศึกษาสาขาพยาบาลศาสตร์.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.กรุงเทพฯ . พูลสุข หิงคานนท์ (2548 ) ระบบบริการสุขภาพ.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. รัตนา ทองสวัสดิ์ (2552) วิชาชีพการพยาบาลหลักการและแนวโน้ม.พิมพ์ครั้งที่ 3”หจก ธนบรรณการพิมพ์. เชียงใหม่. วรพจน์ พรหมสัตพรต(2549) .วิชาบริหารงานสาธารณสุข.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม . วิจิตรา กุสุมภ์และคณะ (2553)ประเด็นและแนวโน้มวิชาชีพการพยาบาล Trends Issue of NursingProfession. สหประชาพาพิชย์:กรุงเทพฯ สงวน นิตยารัมภ์พงศ์. (2542).ปฎิรูประบบบริการสุขภาพไทย กรุงเทพฯ :สำนักงานโครงการปฎิรูประบบบริการสาธารณสุข. สภาการพยาบาล. (2547). การรับรองสถาบันที่จัดการศึกษาต่อเนื่องสาขาพยาบาลศาสตร์ การ รับรองหลักสูตรและ/หรือกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง และการกำหนดหน่วยคะแนน. สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ.(2547)พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ .กรุงเทพฯ