พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ www.galyainstitute.com 1
สังคมจะได้มีความปลอดภัยจากผู้ป่วยทางจิตที่มีภาวะอันตรายซึ่งจำเป็น ความเป็นมา ยังไม่มีกฎหมายใช้บังคับรักษาผู้ที่มีความผิดปกติทางจิตรุนแรง มีภาวะอันตรายต่อตนเองหรือผู้อื่น ประเทศต่างๆ ทั่วโลกได้มีกฎหมายสุขภาพจิตไปแล้ว ร้อยละ 75 1 เป็นการคุ้มครองสิทธิของผู้ป่วยจิตเวชให้ได้รับการรักษา 2 ผู้ป่วยทางจิตจำนวนมาก ยังไม่สามารถเข้าถึงบริการรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม และป้องกันสุขภาพจิตที่มีคุณภาพ 3 สังคมจะได้มีความปลอดภัยจากผู้ป่วยทางจิตที่มีภาวะอันตรายซึ่งจำเป็น ต้องได้รับการรักษา 4 มีแนวปฎิบัติไปในทางเดียวกัน 5
การเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพในการวินิจฉัยและดูแล สาระสำคัญ การป้องกันภาวะอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากผู้ที่มี ความผิดปกติทางจิต 1 การคุ้มครองสิทธิของบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิต ในการเข้าถึงบริการโดยเท่าเทียมและเสมอภาค 2 กำหนดกลไกที่จะทำให้ผู้ที่มีความผิดปกติทางจิตสามารถเข้าถึงบริการโดยไม่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน 3 4 การเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพในการวินิจฉัยและดูแล
โรคทางจิตเวชที่พบบ่อย 3 โรค โรคจิตเภท โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์แปรปรวน
โรคจิตเภท ผู้ป่วยมีความผิดปกติของด้านความคิด มีอาการหลงผิดและประสาทหลอน การรับรู้ผิดไปจากบุคคลทั่วไปทำให้เกิดลักษณะดังต่อไปนี้ อาการหลงผิด ความโกรธ หงุดหงิด หูแว่วเป็นเสียงสั่งต่างๆ อาการคลุ้มคลั่ง อาละวาด ส่วนเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
อาการ หลงผิด ผู้ป่วยจะมีความเชื่อผิด ๆ เชื่อในสิ่งที่ไม่เป็นความจริง หลงผิดชนิดหวาดระแวง พบบ่อยมากที่สุด คิดว่ามีคนคอยแกล้ง ประสาทหลอน พบบ่อยที่สุดคือ ประสาทหลอนมีเสียงหูแว่ว ได้ยินเสียงคนพูดคุยกัน พูดเรื่องของตนเองหรืออาการเห็นภาพหลอน อาการอื่น ๆ ที่พบเห็น เช่น ความคิดผิดปกติ คิดว่าตนเองเป็นเทพเจ้า พูดไม่ประติดประต่อ ไม่นอน วุ่นวาย พูดคนเดียว ทำท่าทางแปลก ๆ ยิ้มคนเดียว หัวเราะคนเดียว
Schizophrenia ตัวอย่าง ผู้ป่วยชายไทยอายุ ๓๗ ปี ป่วยด้วยโรคจิตเภทมา ๓ ปี ไปรักษาที่รพ.จิตเวชแห่งหนึ่ง เมื่อผู้ป่วยอาการดีขึ้นก็ไม่ได้กลับไปรักษา เมื่อมีอาการก็กลับไปรับยาอีก ๑ เดือนก่อนเกิดเหตุ ผู้ป่วยมีอาการกลัวหวาดระแวงคนจะมาทำร้าย คิดว่าคน ในหมู่บ้านร่วมมือกันจะฆ่าตัวเอง ได้ยินเสียงหูแว่วว่า “ฆ่ามันๆ” วันเกิดเหตุ ผู้ป่วยกลัวมากจึงถือเสียมแล้ววิ่งหนีเข้าป่า ระหว่างทางเจอพี่ชาย ถามว่าจะไปไหน ผู้ป่วยได้ยินก็ตกใจ แล้วเอาด้ามเสียมฟาดพี่ชาย ๕-๖ ทีแล้ววิ่งหนีเข้าป่าไป ๕ ชั่งโมง เมื่อออกมาก็ถูกจับ ส่วนเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
เมื่อท่านมีญาติป่วยโรคนี้ ท่านจะดูแลอย่างไร ควบคุมดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานยาสม่ำเสมอ ตามกำหนดเวลา ไม่ควรให้ผู้ป่วยลดหรือเพิ่ม หรือหยุดยาด้วยตนเอง * ควรให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง * สังเกตอาการผิดปกติของผู้ป่วยเสมอ เมื่อเห็นอาการผิดปกติให้รีบพาผู้ป่วยไปพบแพทย์ทันที เช่น เริ่มนอนไม่หลับ พูดเพ้อเจ้อคนเดียว หรือ ซึมไม่พูด เอะอะโวยวาย คลุ้มคลั่ง หงุดหงิดง่าย ฉุนเฉียว หัวเราะ หรือยิ้มคนเดียว มึนงง หน้าตาเรียบเฉย เหม่อลอย หรือจุกจิก จู้จี้ หวาดระแวง กลัว * หากิจกรรมให้ผู้ป่วยทำ เช่น ล้างจาน กวาดบ้าน ถูบ้าน ซักผ้า ไม่ควรให้ผู้ป่วยนอนกลางวันเกิน 1 ชั่วโมง เพราะจะทำให้ผู้ป่วยนอนไม่หลับในเวลากลางคืน * ควบคุมดูแลไม่ให้ผู้ป่วยไปใช้สารเสพติดทุกชนิด
โรคซึมเศร้า ผู้ป่วยมักก่อคดี เนื่องจากมีภาวะซึมเศร้ารุนแรง มักคิดฆ่าคนอื่นและฆ่าตัวตายตาม ส่วนเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
โรคซึมเศร้า โรคซึมเศร้า หมายถึง ผู้ที่มีความผิดหวัง เสียใจ เศร้าใจอยู่ถึงแม้เหตุการณ์นั้นผ่านไปแล้วเป็นเวลานาน ( 2 สัปดาห์) ยังรู้สึกหดหู่ ท้อแท้เบื่อหน่าย หากยังไม่ได้รับการบำบัดรักษาที่เหมาะสม อาการจะยิ่งทวีความรุนแรงขึ้น ความรุนแรงของอาการคือ การฆ่าตัวตาย สิ่งสำคัญคือ โรคซึมเศร้า รักษาหายได้ ส่วนเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
โรคซึมเศร้า 1. อาการทางกาย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลีย ท้องผูก ปาก คอ แห้ง ปวดศีรษะ หลับยาก หลับๆ ตื่น ๆ มักตื่นกลางดึก 2. ด้านพฤติกรรม * ซึม เหม่อลอย * พูดช้า ๆ พูดเสียงเบา เคลื่อนไหวช้า * แยกตัวออกจากสังคม พูดกับผู้อื่นน้อยลง * ขาดความสนใจในกิจกรรมที่เคยทำมาก่อน * อารมณ์อ่อนไหว ร้องไห้ บางรายหงุดหงิด 3. ด้านความคิด มองชีวิตในด้านลบ รู้สึกผิด โทษตนเอง รู้สึกท้อแท้ สิ้นหวัง ขาดสมาธิ คิดว่าปัญหาไม่มีทางแก้ไขได้
2. ด้านชีวภาพ เช่น ฮอร์โมน สารเคมีในสมอง หรือสารเสพติดบางชนิด สาเหตุ 1. พันธุกรรม ผู้ที่มีญาติใกล้ชิด เช่น พ่อ – แม่ พี่น้อง มีโอกาสป่วยด้วยโรคซึมเศร้ามากกว่าคนปกติ 2. ด้านชีวภาพ เช่น ฮอร์โมน สารเคมีในสมอง หรือสารเสพติดบางชนิด 3. ด้านจิตใจ มองตัวเองด้านลบ ประสบปัญหาสูญเสียในชีวิต และขาดความสามารถในการแก้ปัญหา
Major depressive disorder ตัวอย่าง ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ ๔๒ ปี เครียดเรื้อรัง เนื่องจากสามีไปมีเมียน้อย มีอาการเบื่อหน่ายท้อแท้ อยากตาย แต่ว่าอีกใจก็คิดแค้นสามีที่ปันใจให้ หญิงอื่น วันเกิดเหตุ ผู้ป่วยเอาปืนของสามียิงสามี ๓ นัด แล้วยิงตัวเอง เพื่อนบ้านได้ยินเสียงจึงเข้ามาช่วย สามีผู้ป่วยตาย แต่ว่าผู้ป่วยอาการดีหลังจากได้รับการรักษา แต่ว่ายังมีอาการซึมเศร้า และอยากตายต่อเนื่อง ส่วนเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ผู้ป่วยซึมเศร้า ญาติควรเฝ้าระวัง ดังนี้ 1. เมื่อผู้ป่วยพูดสั่งเสีย ควรจะดูแลใกล้ชิด 2. ถามความคิดท้อแท้ หรืออยากทำร้ายตนเองหรือไม่ สื่อให้ผู้ป่วยได้ระบายความไม่สบายใจ เรื่องทุกข์ใจ ญาติช่วยดูแลแก้ไข 3. การฆ่าตัวตาย ระวังและเก็บอุปกรณ์ที่สามารถเป็นอาวุธ เช่น น้ำยาเคมีต่างๆ มีด อาวุธปืน
โรคอารมณ์แปรปรวน
โรคอารมณ์แปรปรวน ผู้ป่วยมักก่อคดี เนื่องจาก ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ ขาดความยับยั้งชั่งใจ คิดว่าตนเองยิ่งใหญ่กว่าผู้อื่น มักมีอาการหลงผิดร่วมด้วย มีแผนการที่เหนือความเป็นจริง ส่วนเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
โรคอารมณ์แปรปรวน เป็นอาการผิดปกติของอารมณ์ ฟุ้งคลั่ง สนุกสนาน ตื่นเต้นผิดปกติ เป็นอาการหลัก มักมีหรือเคยมีอาการของโรคซึมเศร้า จะมีอาการเพิ่มขึ้นหรือลดลงจนผิดปกติ มีอารมณ์ 2 ขั้ว ด้านบวกฟุ้งคลั่ง ด้านลบ ซึมเศร้า + -
ผู้ป่วยอารมณ์แปรปรวน ญาติควรเฝ้าระวัง ดังนี้ ใช้จ่ายเงินฟุ่มเฟือย แต่งตัวมากเกินไป อารมณ์หุนหันพลันแล่น โกรธง่าย ระวังทำร้ายผู้อื่น พูดมาก อยู่ไม่นิ่ง กลางคืนไม่นอน
Bipolar disorder ตัวอย่าง ผู้ป่วยชายไทยอายุ ๔๕ ปี อาชีพเป็นตำรวจ ๒ เดือนก่อนก่อคดี ผู้ป่วยเริ่มมีอาการพูดมากอยากช่วยเหลือคนอื่น ต่อมาเริ่มรู้สึกว่าตนเองสามารถติดต่อกับพระพุทธเจ้าได้ มีอาการหลงผิดคิดว่าตนเองเป็นพระเจ้าตากสินกลับชาติมาเกิด บอกว่าเจ้านายต้องเคารพตนเอง ที่ผ่านมาเจ้านายว่าตนเองให้อภัยได้ แต่บอกว่าให้เจ้านายกราบตนเองก่อนเมื่อเจ้านายไม่ยอมกราบผู้ป่วยจึงเอาปืนยิง ส่วนเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ลักษณะของผู้ที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ป่วยจิตเวช (มาตรา 22) ผู้ที่ถูกสงสัยว่าอาจมีความผิดปกติทางจิต และ มีภาวะอันตราย มีความจำเป็นต้องบำบัดรักษา ส่วนเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
บทบาทหน้าที่ผู้ที่เกี่ยวข้องในการบังคับใช้พ.ร.บ.สุขภาพจิตพ.ศ. 2551 พนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครอง ตำรวจและประชาชนเข้า มามีส่วนร่วมในการที่จะนำผู้ป่วยตามมาตรา 22 มารับการบำบัดรักษา (มาตรา 23 และมาตรา 24)
บทบาทหน้าที่ผู้ที่เกี่ยวข้องในการบังคับใช้พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551 1. การให้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครองในการประสานงานกับตำรวจในการนำส่งผู้ป่วยในมาตรา 22 ใกล้ถึงตัว กรณีฉุกเฉิน สามารถเข้าไปในสถานที่ใดๆ เพื่อนำตัวส่งสถานพยาบาล(มาตรา 26) 2. การให้อำนาจแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในการประสานงานกับตำรวจเข้าไปในเคหสถานในการนำตัวบุคคลที่มีลักษณะตามมาตรา 22 มาบำบัดรักษา (มาตรา 46)
บทบาทหน้าที่ผู้ที่เกี่ยวข้องในการบังคับใช้พ.ร.บ.สุขภาพจิตพ.ศ. 2551 3. สถานพยาบาล เบื้องต้นหรือสถานบำบัดรักษาทางสุขภาพจิต มีหน้าที่ การตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการบุคคลที่มีลักษณะตามมาตรา 22 โดยละเอียดเพื่อมีคำสั่งบังคับรักษาในสถานบำบัดรักษา [มาตรา 29(1)] หรือรักษา ณ สถานที่อื่น [มาตรา 29(2)] 4. สถานบำบัดรักษาต้องดำเนินการ แจ้งผู้ดูแลหรือสถานสงเคราะห์ หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อติดตาม ดูแล ประสานงานและช่วยเหลือในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่คณะกรรมการสถานบำบัดรักษาให้รักษานอกสถานบำบัดรักษา/รักษาในชุมชนตามมาตรา 29(2) (มาตรา 40)
การคุ้มครองสิทธิในการเข้าถึงบริการโดยความเท่าเทียมและเสมอภาค สาระสำคัญ: การคุ้มครองสิทธิในการเข้าถึงบริการโดยความเท่าเทียมและเสมอภาค 1.การได้รับการบำบัดรักษาตามมาตรฐานทางการแพทย์ การปกปิด ข้อมูลการเจ็บป่วยไว้เป็นความลับ การได้รับการคุ้มครองในระบบ ประกันสุขภาพ ประกันสังคมและระบบอื่นๆของรัฐ อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน (มาตรา 15) 2. กรณีที่ผู้ดูแลสถานที่คุมขัง สถานสงเคราะห์หรือพนักงานคุมประพฤติพบบุคคลที่อยู่ในความดูแลมีลักษณะตามมาตรา 22 ให้นำส่งสถานพยาบาลเพื่อตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการ (มาตรา 25)
สิทธิผู้ป่วย ส่วนเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ การบำบัดด้วยการผูกมัด กักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วย กรณีที่มีความจำเป็นเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อผู้ป่วย บุคคลอื่นหรือทรัพย์สินของผู้อื่น ต้องอยู่ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดของผู้บำบัดรักษาตามมาตรฐานวิชาชีพ มาตรา 17 การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า การกระทำต่อสมอง ระบบประสาท หรือด้วยวิธีอื่น อาจมีผลต่อร่างกาย ไม่กลับสู่สภาพเดิมอย่างถาวร กรณีผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นหนังสือ โดยรับทราบเหตุผลความจำเป็น ความเสี่ยงที่อาจเกิดภาวะแทรกซ้อน และประโยชน์ของการบำบัดรักษา มาตรา 18 กรณีฉุกเฉินหรือมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อประโยชน์ของผู้ป่วย หากไม่บำบัด อาจอันตรายถึงชีวิต ทั้งนี้โดยความเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ของคณะกรรมการสถานบำบัดรักษา ผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นหนังสือ โดยรับทราบเหตุผลความจำเป็น ความเสี่ยงที่อาจเกิดภาวะแทรกซ้อน และประโยชน์ของการบำบัดรักษา มาตรา 19 การทำหมันผู้ป่วย ผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นหนังสือ และต้องผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ ที่ดำเนินการเกี่ยวกับจริยธรรมการวิจัยในคนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งความยินยอม ผู้ป่วยจะเพิกถอนเมื่อใดก็ได้ มาตรา 20 การทำวิจัยใดๆ ต่อผู้ป่วย ส่วนเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
สาระสำคัญ: การกำหนดกลไกให้ผู้มีความผิดปกติทางจิตสามารถเข้าถึงบริการโดยไม่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน 1.กำหนดให้มีคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ (มาตรา 5) 2.กำหนดให้มีคณะกรรมการสถานบำบัดรักษา (มาตรา 12) 3.การห้ามเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วยในการที่ก่อให้เกิดความเสียหาย (มาตรา 16) มีบทลงโทษหากฝ่าฝืน (มาตรา 50)
การกระจายตัว ของสถานบำบัดรักษา =สถานบำบัดรักษา จำนวน 84 แห่ง
นักกฎหมาย นักจิตวิทยาคลินิก สถานบำบัดรักษา แพทย์ จิตแพทย์เป็นประธาน พยาบาลจิตเวช คณะกรรมการ สถานบำบัดรักษา นักกฎหมาย นักจิตวิทยาคลินิก หรือนักสังคมสงเคราะห์
คณะกรรมการสถานบำบัดรักษา ตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการ พิจารณาความเห็นเกี่ยวกับการบำบัดรักษา และผลการบำบัดรักษา
การบำบัดรักษาในสถานบำบัดรักษา หากว่ามีการรักษาที่ต้องใช้วิธีการ ที่ต้องได้รับการยินยอม เช่น การรักษาด้วยไฟฟ้า /การทำหมัน ต้องให้คณะกรรมการฯพิจารณาให้ความเห็นชอบ ส่วนเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
เข้าบำบัดในสถานบำบัด แจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้นำกลับหรือดำเนินการ ต้องไม่เกิน 48 ชั่วโมง แพทย์ 1 คนและพยาบาล 1 คน ตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการเบื้องต้น ต้องเข้ารับการรักษาใน สถานบำบัด (ตจ1) ไม่ต้องเข้ารับการรักษาในสถานบำบัด เข้าบำบัดในสถานบำบัด แจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้นำกลับหรือดำเนินการ ตามสมควร ระหว่างนี้(30วัน)หากติดตามญาติได้ไม่ต้องแจ้ง แจ้งคณะกรรมการสถานบำบัด
อายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ พนักงานเจ้าหน้าที่ มีสัญชาติไทย อายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ เป็นผู้ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลของรัฐและมีประสบการณ์ในการทำงานด้านสาธารณสุขอย่างน้อย 1 ปี เป็นผู้มีความประพฤติดี ไม่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่ คุณสมบัติ สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีทางด้านการแพทย์ พยาบาล สังคมสงเคราะห์ จิตวิทยา กิจกรรมบำบัด การสาธารณสุขหรือผู้ได้รับประกาศนียบัตรทางการพยาบาลหรือการสาธารณสุข
พยาบาลวิชาชีพ นักกิจกรรมบำบัด พนักงานเจ้าหน้าที่ แพทย์ นักวิชาการสาธารณสุข /นักวิชาการส่งเสริมสุขภาพ/จ.น.ทส่งเสริมสุขภาพ เจ้าพนักงานสาธารณสุข/ นักวิชาการสุขาภิบาล/ นักบริหารงานสาธารณสุข ประกอบด้วย นักสังคมสงเคราะห์ นักจิตวิทยาคลินิก/ นักกิจกรรมบำบัด
พนักงานเจ้าหน้าที่ หมวด ๕ สามารถนำตัวผู้ที่น่าเชื่อว่า มีภาวะอันตรายหรือจำเป็นต้องบำบัดรักษาในเคหะสถานได้ สามารถถามครอบครัวและชุมชนเกี่ยวกับความเจ็บป่วยและความสัมพันธ์ในครอบครัว มีหนังสือสอบถาม หรือเรียกมาให้ถ้อยคำได้ ร้องขอให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจให้ความช่วยเหลือได้ พนักงานเจ้าหน้าที่ หมวด ๕ ส่วนเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ข้อปฏิบัติเมื่อพบเห็นผู้ที่มีอาการทางจิต ผู้ที่ถูกสงสัยว่าอาจมีความผิดปกติทางจิตและ มีภาวะอันตราย มีความจำเป็นต้องบำบัดรักษา พนักงานเจ้าหน้าที่/บุคลากรทางการแพทย์ พนักงานฝ่ายปกครอง/ ตำรวจ สถานพยาบาลของรัฐ สถานบำบัดรักษา ส่วนเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ ผู้ป่วยไม่มีญาติ และมีภาวะอันตราย นำส่งโดยตำรวจ มูลนิธิ พนักงานฝ่ายปกครองและสถานพยาบาลอื่น ๆ ผู้ป่วยนิติจิตเวช ผู้ป่วยที่ถูกส่งมาจากเรือนจำ สถานพินิจ สำนักคุมประพฤติ ทัณฑสถาน ผู้ป่วยและญาติที่ปฏิเสธการบำบัดรักษา
การส่งต่อและการติดตามผลการบำบัดรักษา (มาตรา 40)
คณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ (พลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนาศัย) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเป็นรองประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข อัยการสูงสุด ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นกรรมการ ผู้แทนองค์กรภาคเอกชน และผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นกรรมการ อธิบดีกรมสุขภาพจิตเป็นกรรมการและเลขานุการ
ประชุมคณะกรรมการสุขภาพจิต/คณะอนุกรรมการ ประสานงานระดับจังหวัด
คณะอนุกรรมการประสานงานเพื่อการ บังคับใช้พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551 ในระดับจังหวัด อำนาจหน้าที่ 1.ส่งเสริม สนับสนุนและกำกับให้ผู้ที่เกี่ยวข้องปฏิบัติงานภารกิจที่กำหนดไว้ 2. วางแผนและถ่ายทอดแนวทางการประสานงานการดำเนินงานตามที่กำหนดไว้ 3.กำหนดระเบียบ หลักเกณฑ์และคำสั่งที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ระดับจังหวัดถึงระดับชุมชนที่เหมาะสมกับบริบทของจังหวัด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ และผลที่คาดว่าจะได้รับ ประชาชนและสังคม “เป็นปากเป็นเสียง” ให้กับผู้ปัญหาสุขภาพจิต และผู้มีความผิดปกติทางจิต ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ได้รับการดูแล ในพื้นที่อย่างถูกต้อง เหมาะสม และทันท่วงที ลดปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาความรุนแรงในสังคม ผลที่คาดว่า จะได้รับ เครือข่ายหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ มีการบังคับใช้ พ.ร.บ.สุขภาพจิต และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีระบบการดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชในเขตบริการสุขภาพ ที่มีความเชื่อมโยงระหว่างเครือข่าย เครือข่ายภาคประชาชนและทุกภาคส่วนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจใน พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๑ ให้ความร่วมมือในการดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน ผลลัพธ์ ร้อยละของผู้มีปัญหาสุขภาพจิตเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ตามเป้าหมายของเขตบริการสุขภาพ ในระบบ Service Plan ร้อยละ ๖๐ของจังหวัด มีการบังคับใช้ พ.ร.บ.สุขภาพจิต ในการดูแลผู้มีความผิดปกติทางจิต ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ผลผลิต
http://www.omhc.dmh.go.th www.thaimentalhealthlaw.com(เดิม)
ส่วนเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ (SMHC) Section of The Secretariat to The National Mental Health Commission (SMHC) อาคาร 3 ชั้น 5 กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 Tel 02 5908130 Fax 021495584
Thank You For Your Attention