การเงินระหว่างประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สูตรคำนวณราคาตราสารหนี้ประเภทจ่ายดอกเบี้ยลอยตัว (Floating Rate Note)
Advertisements

เศรษฐศาสตร์มหภาค EC 312 บทนำ: Introduction
การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย
Portfolio Balance Wealth Credit Availability Expectations Open Economy
EC451 International Trade Theory and Policy
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Heckscher-Ohlin (2) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
The Reveal of Dornbusch’s Exchange Rate Overshooting Theory
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
บทที่ 4 จดหมายเสนอขาย เนื้อหาบทเรียน
การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
ความหมายของธุรกิจระหว่างประเทศ
วัตถุประสงค์ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
Session 16 Payment among Nation. A Country’s Balance of Payment The set of accounts recording all flows of value between a nation’s residents and the.
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
บทที่ 3 เครดิตและการให้สินเชื่อของธนาคาร CREDIT FROM COMMERCIAL BANK
การค้าระหว่างประเทศ.
การแข่งขันทาง การตลาด และตัวแปรทาง เศรษฐกิจ. การแข่งขันทางการตลาด (Competition) พฤติกรรมของผู้บริโภคไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ในช่วง.
© The McGraw-Hill Companies, Inc., 2003 McGraw-Hill/Irwin Slide 2-1 งบการเงิน (FINANCIAL STATEMENTS ) Chapter 3.
งบการเงิน (FINANCIAL STATEMENTS )
บทที่ 9 เศรษฐกิจการค้าและการเงินระหว่างประเทศ
ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์
ธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 23 กุมภาพันธ์ 2550
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๑ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
หลักการและความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
Risk Based Capital by Thanachart Life Assurance
การบัญชีเกี่ยวกับส่วนของผู้เป็นเจ้าของ(Accounting of Owners’ Equity)
การเงินระหว่างประเทศ
Fixed Assets Overview ( 16-Nov-2017) Oracle E-Business Suite
บทที่ 7 ราคา Price.
Flexible Budgeting and
บทที่ 6 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
พระราชบัญญัติ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า
การวิเคราะห์งบการเงิน
International Economics Payment among Nation
Principles of Accounting I
บัญชีเบื้องต้น 1 (Basis Accounting I)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
“ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”
Receivables AR (ระบบบัญชีลูกหนี้)
การเปลี่ยนจากระบบปีฐานสู่ Chain Volume Measure
บทที่ 5 เงื่อนไขเสมอภาคระหว่างประเทศ (International Parity Condition)
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม EC 261 3(3-0-6)
The Reveal of Dornbusch’s Exchange Rate Overshooting Theory
การจัดการการเงินการคลังท้องถิ่น
Principles of Accounting I
INB3202 การจัดการการเงินระหว่างประเทศ
การเปิดรับความเสี่ยงจากธุรกรรมการค้า (Transaction Exposure)
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม (Social & Culture Change)
๓.จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7
ดุลการชำระเงิน Balance of Payments Taweesak Gunyochai : Satit UP
สภาวะว่างงาน.
อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ
บทที่ 4 การทำงบการเงินรวมหลังวันซื้อหุ้น
สถาบันการเงิน และนโยบายการเงิน
ทิศทางการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551
เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
Topic 13 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
Principles of Accounting I
Topic 13 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
Principles of Accounting I
โครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการเงินและการธนาคาร
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเงินระหว่างประเทศ บทที่ 11 การเงินระหว่างประเทศ International Financial Capital Account ดุลบัญชีทุน Interest Rate Exchange Rate Price Level Expenditure Balance of Payment ดุลการชำระเงิน Current Account ดุลบัญชีเดินสะพัด (X-M) ดุลการค้า

อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

ความหมายของอัตราแลกเปลี่ยน (exchange rate) คือ จำนวนเงินตราสกุลหนึ่งที่จะต้องถูกจ่ายหรือเสียไปเพื่อแลกกับหนึ่งหน่วยเงินตราอีกสกุลหนึ่ง หรือ คือ ราคาของเงินตราต่างประเทศ หรือราคาของเงินตราต่างประเทศที่คิดอยู่ในหน่วยของเงินตราอีกประเทศหนึ่ง ตัวอย่าง อัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินบาทและเงินดอลลาร์คือ ฿ 40 = $ 1 คือ ราคาของเงินบาท 40 บาท คิดในหน่วยของเงินดอลลาร์เท่ากับ 1 ดอลลาร์

ความสำคัญของอัตราแลกเปลี่ยน 1) เป็นตัวกลางในการชำระหนี้ระหว่างประเทศจากการค้าระหว่างประเทศ โดยที่แต่ละประเทศใช้เงินต่างสกุลกัน 2) มีผลกระทบต่อการนำเข้า การส่งออก ดุลการค้า ดุลการชำระเงิน การผลิต การจ้างงาน ตลอดจนรายได้ประชาชาติ ระบบอัตราแลกเปลี่ยน ระบบของอัตราแลกเปลี่ยน มี 2 แบบ 1) อัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ (fixed exchange rate) ถูกกำหนดโดยธนาคารกลางของประเทศ 2) อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว หรืออัตราแลกเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงได้อย่างเสรี (flexible or floating exchange rate) ถูกกำหนดโดยอุปสงค์เงินตราต่างประเทศและอุปทานเงินตราต่างประเทศ

อัตราแลกเปลี่ยน ฿:$ 41 A 40 Q(ปริมาณเงินตราต่างประเทศ:$) Q3 Q2 Q1

อัตราแลกเปลี่ยน ฿:$ E 41 A 40 Q1 Q2 Q3 Q(ปริมาณเงินตราต่างประเทศ:$)

Q(ปริมาณเงินตราต่างประเทศ:$) อัตราแลกเปลี่ยน ฿:$ 41 E A 40 / Q1 Q2 Q3 Q(ปริมาณเงินตราต่างประเทศ:$)

Q(ปริมาณเงินตราต่างประเทศ:$) อัตราแลกเปลี่ยน ฿:$ E A 41 40 / Q3 Q2 Q1 Q(ปริมาณเงินตราต่างประเทศ:$)

ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเสรี ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ ฿ 45 = $ 1 ฿ 40 = $ 1 ฿ 35 = $ 1 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเสรี ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ revaluation หรือ การเพิ่มค่าอัตราแลกเปลี่ยน appreciate หรือ ค่าเงินเพิ่มขึ้น แลกเปลี่ยน devaluation หรือ การลดค่าอัตราแลกเปลี่ยน แลกเปลี่ยน depreciate หรือ ค่าเงินลดลง แลกเปลี่ยน

มองที่ค่าของเงิน(บาทเมื่อแลกกับดอลลาร์) เพิ่ม อัตราแลกเปลี่ยน เพิ่มขึ้น มองที่ค่าของเงิน(บาทเมื่อแลกกับดอลลาร์) มองที่อัตราแลกเปลี่ยน(บาทต่อดอลลาร์) เช่น ค่าเงินบาทเพิ่มขึ้นหรือเพิ่มค่าอัตราแลกเปลี่ยนจาก ฿ 1 = $ เป็น ฿ 1 = $ (หรือเปลี่ยนอัตราแลกเปลี่ยนจาก ฿ 40 = $ 1 เป็น ฿ 35 = $ 1) เช่น อัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้นจาก ฿ 40 = $ 1 เป็น ฿ 45 = $ 1

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน 1) การเปลี่ยนแปลงในรสนิยมของผู้บริโภคในประเทศหรือต่างประเทศ (change in taste) 2) การเปลี่ยนแปลงในรายได้เปรียบเทียบ (relative income change) 3) การเปลี่ยนแปลงในราคาเปรียบเทียบ (relative price change) 4) การเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ (capital flow) 5) การเก็งกำไรจากการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ (speculation) 6) ปัจจัยอื่น ๆ การคาดคะเนอัตราแลกเปลี่ยน(โดยผลของการคาดคะเนจะทำให้อัตราแลกเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน) , ปริมาณเงิน

ข้อเสียของระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบเสรี ข้อดีของระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบเสรี ช่วยแก้ปัญหาดุลการชำระเงินที่เกินดุลหรือขาดดุล (ดุลการชำระเงินจะเป็นผลรวมของดุลบัญชีเดินสะพัดและดุลบัญชีเงินทุนเคลื่อนย้าย) และรัฐไม่จำเป็นต้องแทรกแซงในตลาดซื้อขายเงินตราต่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับราคาโดยอัตโนมัติ ข้อเสียของระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบเสรี มีความยากในการคาดคะเนเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยน เพราะอุปสงค์และอุปทานของเงินตราต่างประเทศมีความไม่แน่นอนตามภาวะทางเศรษฐกิจ ทั้งการนำเข้า/การส่งออกสินค้าและบริการ เงินทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ และการเก็งกำไร เป็นต้น

ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ

ความหมายของดุลการชำระเงิน ดุลการชำระเงิน (Balance of payment : BOP) คือ บัญชีบันทึกรายการอย่างมีระบบของการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจทั้งหมด (economic transactions) ระหว่างผู้พำนักอาศัย (residents) ภายในประเทศผู้บันทึก กับผู้พำนักอาศัยในต่างประเทศ ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยปกติจะบันทึกเป็นรายปี ส่วนประกอบของบัญชีดุลการชำระเงิน ประกอบด้วย 4 บัญชีย่อย บัญชีเดินสะพัด (Current Account : CA) ก.บัญชีดุลการค้า (Trade balance account ) ข.บัญชีดุลบริการ (Net service account ) 2. บัญชีเงินโอนหรือบริจาค (Transfer payment account) 3. บัญชีเงินทุนเคลื่อนย้าย (Capital account) 4. บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (International reserve account)

ลักษณะความไม่สมดุลของดุลการชำระเงิน 1) การขาดดุลระยะสั้น หรือการขาดดุลแบบวัฏจักร (short-run disequilibrium or cyclical disequilibrium) (1) สาเหตุจากภายนอก เช่น เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ (2) สาเหตุภายใน เช่น เกิดจากการเปลี่ยนแปลงรายได้และราคาภายในประเทศ 2) การขาดดุลระยะยาว หรือการขาดดุลในโครงสร้างเศรษฐกิจ (long-run disequilibrium or structural disequilibrium) (1) ปริมาณเงินเพิ่มขึ้นมากเกินไป จนผลผลิตตามไม่ทัน หรืออาจเกิดจากต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น ราคาเพิ่มขึ้น (2)การขาดดุลที่รากฐานและคงอยู่เรื่อยไป (fundamental disequilibrium) เช่น การผลิตล้าหลังเนื่องจากไม่สามารถตามทันการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี

การปรับดุลการชำระเงิน (Balance of payment adjustment) รายจ่าย (expenditure) เช่น นโยบายซื้อสินค้าภายในประเทศ (buy our goods) หรือ ส่วนกรณีที่ให้เกิดการปรับตัวโดยอัตโนมัติ (auto adjustment) ถ้าดุลการชำระเงินขาดดุล จะทำให้ระดับรายได้ลดลง การนำเข้าก็จะลดลง ดุลการค้าก็จะดีขึ้น ดุลบัญชีเดินสะพัดดีขึ้น และดุลการชำระเงินดีขึ้นในที่สุด 2) อัตราแลกเปลี่ยน (exchange rate) โดยการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนให้สูงขึ้นหรือทำให้ค่าเงินอ่อนค่าลง ส่วนกรณีที่ให้เกิดการปรับตัวโดยอัตโนมัติ (auto adjustment) ถ้าดุลการชำระเงินขาดดุล จะทำให้อัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้นหรือค่าเงินบาทอ่อนค่าลง ทำให้การส่งออกเพิ่มขึ้น และ/หรือการนำเข้าลดลง ทำให้ดุลการค้าก็จะดีขึ้น ดุลบัญชีเดินสะพัดดีขึ้น และดุลการชำระเงินดีขึ้นในที่สุด

3) ระดับราคา (price level) โดยการทำให้ระดับราคาภายในประเทศลดลง(เช่น โดยการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ลดต้นทุนในการผลิต การพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็นต้น) ส่วนกรณีที่ให้เกิดการปรับตัวโดยอัตโนมัติ (auto adjustment) ถ้าดุลการชำระเงินขาดดุล จะทำให้ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจลดลง ทำให้อุปสงค์มวลรวมภายในประเทศลดลง เกิดอุปทานมวลรวมส่วนเกินในระบบเศรษฐกิจ ทำให้ระดับราคาสินค้าลดลง การส่งออกเพิ่มสูงขึ้น ทำให้ดุลการค้าก็จะดีขึ้น ดุลบัญชีเดินสะพัดดีขึ้น และดุลการชำระเงินดีขึ้นในที่สุด 4) อัตราดอกเบี้ย (interest rate) โดยการกำหนดอัตราดอกเบี้ยภายในให้สูงขึ้น อันจะทำให้เงินทุนเคลื่อนย้ายเข้าประเทศเพิ่มขึ้น ดุลบัญชีเงินทุนเคลื่อนย้ายปรับตัวดีขึ้น และดุลการชำระเงินจะปรับตัวดีขึ้น หรือ ส่วนกรณีที่ให้เกิดการปรับตัวโดยอัตโนมัติ (auto adjustment) ถ้าดุลการชำระเงินขาดดุล จะทำให้ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจลดลง เกิดอุปสงค์ต่อเงินส่วนเกินใน

ระบบเศรษฐกิจ(อุปสงค์ต่อเงินมากกว่าอุปทานของเงิน) ทำให้อัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น เงินทุนไหลเข้าประเทศมากขึ้น ดุลบัญชีเงินทุนเคลื่อนย้ายดีขึ้น และดุลการชำระเงินดีขึ้นในที่สุด 5) อื่นๆ -การส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศ -การส่งเสริมการลงทุน ผ่านมาตรการจูงใจต่าง ๆ (เช่น มาตรการทางภาษี โดยการลดหย่อนการจัดเก็บภาษีวัตถุดิบ ภาษีรายได้ เป็นต้น)