แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการพัฒนาตน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ผู้วิจัย วัฒนาทร ชูใหม่ สาขาการบริหารการศึกษา ปีการศึกษา 2548
การสร้างความตระหนักในโรงเรียนวิถีพุทธ
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
การเลือกใช้เกมหรือ กิจกรรม ในการฝึกอบรม. การฝึกอบรม การเปลี่ยนแปลงพัฒนาคนใน ด้าน ความรู้ (Knowledge) ความเข้าใจ (Understand) ทักษะ (Skill) ทัศนคติ (Attitude)
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
ชุมชนปลอดภัย.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
โอวาท๓ / ไตรสิกขา.
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
กลุ่มเกษตรกร.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบและประเภท ของกิจกรรมนันทนาการ.
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
โดย ผศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
การสร้างแรงจูงใจเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
รายวิชา การบริหารการศึกษา
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
ช่วยคุณครูเตรียมรับมือ เด็กวัยรุ่นยุคใหม่
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ให้นักศึกษาตอบคำถามในตารางที่2 ในใบกิจกรรม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการพัฒนาตน บทที่ 4. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร

แนวคิดที่เกี่ยวกับการพัฒนาตน การพัฒนาตน ตรงกับภาษาอังกฤษว่า self-development แต่ยังมีคำที่มีความหมายใกล้เคียงกับคำว่าการพัฒนาตน และมักใช้แทนกันบ่อยๆ ได้แก่ การปรับปรุงตน (self-improvement) การบริหารตน (self-management)และการปรับตน (self-modification) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงตัวเองให้เหมาะสมเพื่อสนองความต้องการและเป้าหมายของตนเอง หรือเพื่อให้สอดคล้องกับสิ่งที่สังคมคาดหวัง

ความหมายของการพัฒนาตน การพัฒนากาย คือ ปัจจัย 4 เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งหุ่ม ยารักษาโรค การพัฒนาศีล สัมมาวาจา เป็นการงดเว้นการพูดเท็จ การพูดส่อเสียด การพูดคำหยาบ สัมมากัมมันตะ คือ การกระทำทั้งทางด้านกายกรรมวจีกรรม มโนกรรมที่ไม่ผิดศีล สัมมาอาชีวะ การประกอบอาชีพที่ชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น

ความหมายของการพัฒนาตน การพัฒนาจิต มี 3 ประการคือ คุณภาพจิต เป็นการสร้างจิตใจให้ดีงาม สมรรถภาพ เป็นความสามารถของจิต มีขันติ มีสมาธิ สุขภาพจิตที่สงบ

ความหมายของการพัฒนาตน การพัฒนาปัญญา สรุปได้ 3 วิธีคือ สุตมยปัญญา ปัญญาที่เกิดจากการเล่าเรียน การถ่ายทอดกันมา จินตามยปัญญาเกิดจากการคิดพิจารณาหาเหตุผล ภาวนามยปัญญา เกิดจากการปฏิบัติฝึกอบรม

ความหมายของตน ตน (Self) หรือที่ในทางพุทธศาสนาเรียกว่า อัตตา หรือตัวตนนั้น มีความหมายถึงตัวบุคลหนึ่ง ความสำคัญของการศึกษาตน นักจิตวิทยากลุ่มมนุษยนิยม คือ คาร์ล โรเจอร์ (Carl Roger) เชื่อว่า “บุคคลทุกคนอยู่ในโลกแห่งประสบการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา” การวิเคราะห์รูปแบบตัวตนของบุคคลโดยจำแนกออกเป็น 2 รูปแบบ คือ

Ideal Self คือ ตัวตนที่บุคคลอยากจะเป็น นั่นหมายถึง ตัวตนในรูปแบบที่เป็นความฝันของบุคคล หรือการยึดบุคคลอื่น ๆ มาเป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิต Real Self คือ ตัวตนตามที่เป็นจริง นั่นคือ ตัวตนที่เป็นรูปแบบ ที่แท้จริงของตัวบุคคล ซึ่งอาจเป็นสิ่งที่บุคคลนั้นรู้หรือไม่รู้เกี่ยวกับตนเองก็ได้

การศึกษาตนเองตามแนวคิดนักจิตวิทยา แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ออกเป็น 3 แนวคิดจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับกากรศึกษาตนเอง สามารถทำความเข้าใจถึงตัวตนของตนเองและผื่นนั้น ซึ่งแบ่งออกได้เป็นประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. การรู้จักตนเองตามแนวคิดของนักจิตวิเคราะห์ 2. การรู้จักตนเองตามแนวคิดของนักจิตวิทยาสังคม 3. การรู้จักตนเองตามแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มมนุษยนิยม

1. การรู้จักตนเองตามแนวคิดจิตวิทยา ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud, 1856 -1939) มีความเชื่อว่าพฤตนิกรรมของมนุษย์ได้รับอิทธิพลมาจากพลังสัญชาตญาณภายในของบุคคล แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ - สัญชาตญาณแห่งการมีชีวิต หมายถึงพลังแห่งการมีชีวิตอยู่รอด - สัญชาตญาณแห่งความตาย หมายถึง พลังแห่งการต้องการทำลาย ความก้าวร้าว

โครงสร้างของจิต (Structuere of Personality) ฟรอยเชื่อว่า โครงสร้างทางจิตของมนุษย์ มีการเคลื่อนไหวที่ไม่หยุดนิ่ง โครงสร้างของจิตแบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ

ID เป็นสิ่งที่ติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่กำเนิด เป็นศูนย์รวมของความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ในการมีชีวิตรอด Ego เป็นส่วนของจิตที่ได้รับการพัฒนาขึ้น โดยมีหน้าที่สำคึญในการควบคุมและปรับระดับความต้องการของ ID ให้เหมาะสมกับสภาพความเป็นจริง และช่วยให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม Superego เป็นโครงสร้างของจิตที่ได้รับการพัฒนาอย่างสูงคือ เป็นส่วนของคุณธรรมและจริยธรรม ที่จะควบคุมการแสดงพฤติกรรมของมนุษย์

พัฒนาการของมนุษย์ตามแนวความคิดจิตวิเคราะห์ ฟรอยด์มีแนวความคิดว่า มนุษย์แสดงพฤติกรรมก็เพื่อความอยู่รอดและเพื่อเจริญเติบโต แบ่งขั้นพัฒนาการออกเป็น 5 ขั้น คือ 1.ขั้นแสวงหาความสุขจากการใช้ปาก (Oral Stage) 2.ขั้นแสวงหาความสุขจากทวารหนัก (Anal Stage) 3.ขั้นแสวงหาความสุขจากอวัยวะเพศ (Phallic Stage) 4.ขั้นแสวงหาความสุขจากสังคม สภาพแวดล้อมรอบตน (Latency Stage) 5. ขั้นแสวงหาความสุขจากการมีสัมพันธภาพทางเพศ (Genital Stage)

การรู้จักตนเองตามแนวคิดของนักจิตวิทยาสังคม อีริคสันเชื่อว่า ความสำคัญของสังคมและวัฒนธรรมที่อยู่รอบๆตัวบุคคล จะส่งผลโดยตรงต่อการแสดงพฤติกรรมของมนุษย์ประกอบด้วยลักษณะที่ตรงข้ามกันเป็นคู่ ในรูปแบบของการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ๆ ที่เข้า  มาเกี่ยวข้องด้วยในแต่ละขั้นคือ 

1. อายุ 0–1 ปีความไว้วางใจ VS. ความไม่ไว้วางใจ 2 1.อายุ 0–1 ปีความไว้วางใจ VS. ความไม่ไว้วางใจ 2. อายุ 2 – 3 ปี ความเป็นอิสระ VS. ความละอายสงสัยไม่แน่ใจ 3. อายุ 4 – 5 ปี ความคิดริเริ่ม VS. ความรู้สึกผิด 4. อายุ 6 – 11 ปี ความขยันหมั่นเพียร VS. ความรู้สึกมีปมด้อย 5. อายุ 11 – 18 ปี เอกลักษณ์ในบทบาท VS. ความสับสนในบทบาท 6. วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ความใกล้ชิดสนิทสนม VS. ความโดดเดี่ยว 7. วัยกลางคน การคิดถึงส่วนรวม VS. การคำนึงถึงแต่ตนเอง 8. วัยชรา ความมั่นคงสมบูรณ์ VS. ความสิ้นหวัง

การรู้จักตนเองตามแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มมนุษย์นิยม แบ่งความต้องการของมนุษย์เป็น 5 ขั้นด้วยกัน ขั้นที่ 1 ความต้องการทางกาย (Physiological Needs) คือความต้องการปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิต ขั้นที่ 2 ความต้องการความ มั่นคงปลอดภัย (Safety and Security Needs) คือความต้องการที่จะมีชีวิตที่มั่นคง ปลอดภัย ขั้นที่ 3 ความต้องการความรักและการเป็นที่ยอมรับของกลุ่ม (Love and BelongingNeeds) มนุษย์เมื่อเข้าไปอยู่ในกลุ่มใดก็ต้องการให้ตนเป็นที่รักและยอมรับในกลุ่มที่ตนอยู่

การรู้จักตนเองตามแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มมนุษย์นิยม ขั้นที่ 4 ความต้องการได้ รับการยกย่องจากผู้อื่น (Self -Esteem Needs) เป็นความต้องการในลำดับต่อมา ซึ่งความต้องการในชั้นนี้ถ้าได้รับจะก่อให้เกิดความภาคภูมิใจใจตนเอง ขั้นที่ 5 ความต้องการในการเข้าใจและรู้จักตนเอง (Self-Actualization Needs) เป็นความต้องการชั้นสูงของมนุษย์ ซึ่งน้อยคนที่จะประสบได้ถึงขั้นนี้

ความต้องการขั้นต่ำ มนุษย์ทำทุกวิถีทางเพื่อให้สำเร็จหรือขจัดความต้องการขั้นต่ำ กินเมื่อหิว แรงจูงใจมาจากต้องการขั้นต่ำ เช่น คนที่ต้องการการยอมรับนับถือ การที่มนุษย์สามารถสนองความต้องการขั้นต่ำ เช่น อากาศหนาว การที่มนุษย์สามารถสนองความต้องการขั้นต่ำ รู้สึกว่าพ้นจากความทุกข์ ความกระวนกระวาย สนองความต้องการขั้นต่ำ ซึ่งต้องการตอบสนอง เช่น รู้ว่าความหิวเป็นเช่นไร ความต้องการความรัก

ความต้องการขั้นสูง มนุษย์จะแสวงหาความพึงพอใจขั้นสูงสุด เช่น ความรู้ แรงจูงใจที่เนื่องมาจากความต้องการขั้นสูง เช่น ทนได้แม้นแต่คำนินทาว่าร้าย การที่สามารถสนองความต้องการขั้นสูงได้ เช่น คนที่มีความปรารถณาจะศึกษาค้นคว้าโดยมิได้มีสิ่งล่อใจอื่นใด ความต้องการขั้นสูง เป็นประสบการณ์เฉพาะตัว เช่น บางคนฟังดนตรี คนที่มีลักษณะของความต้องการสูง จะเป็นคนที่พึงตนเองได้

แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาตนเอง บุคคลที่จะพัฒนาตนเองได้ จะต้องเป็นผู้มุ่งมั่นที่จะเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงตัวเอง โดยมีความเชื่อหรือแนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาตนที่ถูกต้อง ซึ่งจะเป็นสิ่งที่ช่วยส่งเสริมให้การพัฒนาตนเองประสบความสำเร็จ แนวคิดที่สำคัญมีดังนี้ 1. มนุษย์ทุกคนมีศักยภาพที่มีคุณค่าอยู่ในตัวเอง ทำให้สามารถฝึกหัดและพัฒนาตนได้ในเกือบทุกเรื่อง 2. ไม่มีบุคคลใดที่มีความสมบูรณ์พร้อมทุกด้าน จนไม่จำเป็นต้องพัฒนาในเรื่องใดๆ อีก

3. แม้บุคคลจะเป็นผู้ที่รู้จักตนเองได้ดีที่สุด แต่ก็ไม่สามารถปรับเปลี่ยนตนเองได้ในบางเรื่อง ยังต้องอาศัยความช่วยเหลือจากผู้อื่นในการพัฒนาตน การควบคุมความคิด ความรู้สึก และการกระทำของตนเอง มีความสำคัญเท่ากับการควบคุมสิ่งแวดล้อมภายนอก 4. อุปสรรคสำคัญของการปรับปรุงและพัฒนาตนเอง คือ การที่บุคคลมีความคิดติดยึด ไม่ยอมปรับเปลี่ยนวิธีคิด และการกระทำ จึงไม่ยอมสร้างนิสัยใหม่ หรือฝึกทักษะใหม่ๆที่จำเป็นต่อตนเอง 5. การปรับปรุงและพัฒนาตนเองสามารถดำเนินการได้ทุกเวลาและอย่างต่อเนื่อง เมื่อพบปัญหาหรือข้อบกพร่องเกี่ยวกับตนเอง

ความหมายของการพัฒนาตน การพัฒนาตน  หมายถึง กระบวนการปรับเปลี่ยนและจัดระบบพฤติกรรมให้สอดคล้องกลมกลืนเหมาะสมทั้งในด้านของตนองและในด้านการสร้างความสัมพันธ์กับสังคม เพื่อให้เกิดความปกติสุขในการดำรงชีวิต เหตุที่ต้องพัฒนาตน มีพฤติกรรมหลายอย่างที่ไม่สามารถปรับพฤติกรรมโดยบุคคลอื่นได้ง่าย ยกเว้นตนเอง เช่น พฤติกรรมทางเพศ หรือ การมีปฏิกิริยาทางอารมณ์ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเป็นเรื่องยาก และไม่มีความสุข การรับความช่วยเหลือจากคนอื่น

ความสำคัญของการพัฒนาตน บุคคลล้วนต้องการเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ หรืออย่างน้อยก็ต้องการมีชีวิตที่เป็นสุขในสังคม ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายและความต้องการของตนเอง พัฒนาตนเองได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคมโลก บุคคลล้วนต้องการเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ หรืออย่างน้อยก็ต้องการมีชีวิตที่เป็นสุขในสังคม ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายและความต้องการของตนเอง พัฒนาตนเองได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคมโลก

กระบวนการพัฒนาตน กระบวนการพัฒนาตน หมายถึง ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนเองไปสู่การมีพฤติกรรมที่ส่งเสริมและเกื้อกูลให้ตนเองประสบความเจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น ดังแผนภาพต่อไปนี้

ระบุพฤติกรรมเป้าหมาย การประเมินและ การปรับแผน วางแผนดำเนินการ ลงมือปฏิบัติตามแผน

แนวคิดเฮอร์ซเบอร์ก องค์ประกอบจูงใจ (Motivation Factors) เป็นองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบัติโดยตรง และเป็นสิ่งจูงใจให้บุคลากรเกิดความพึงพอใจในการทำงาน ประกอบด้วย 1.ความสำเร็จในการทำงาน (Achievement) หมายถึง การที่บุคคลสามารถทำงานได้เสร็จสิ้นประสบผลสำเร็จอย่างดี สามารถแก้ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับงาน และรู้จักป้องกันปัญหาที่เกิดขึ้น 2.การได้รับการยอมรับนับถือ (Recognition) หมายถึง การได้รับการยอมรับนับถือจากบุคคลในหน่วยงาน การให้กำลังใจ การแสดงความยินดีการแสดงออกที่ทำให้เห็นถึงการยอมรับในความสามารถ

3. ลักษณะของงาน (Work itself) หมายถึง งานนั้นน่าสนใจ ต้องอาศัยความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ท้าทายให้ลงมือทำ หรือเป็นงานที่มีลักษณะทำตั้งแต่ต้นจนจบโดยลำพัง 4. ความรับผิดชอบ (Responsibility) หมายถึง การได้รับมอบหมายให้ดูแลงานใหม่ๆ และมีอำนาจอย่างเต็มที่ ไม่มีการตรวจหรือควบคุมอย่างใกล้ชิด 5. ความก้าวหน้า (Advancement) หมายถึง การได้รับเลื่อนขั้น การเลื่อนตำแหน่งให้สูงขึ้น มีโอกาสได้ศึกษาต่อเพื่อหาความรู้เพิ่มเติม ได้รับการฝึกอบรมดูงาน

องค์ประกอบค้ำจุน (Maintenance Factors) หรือองค์ประกอบสุขอนามัย(Hygiene Factors) เป็นองค์ประกอบที่ช่วยป้องกันการปฏิบัติงานของบุคลากรที่จะเกิดความไม่ชอบงานหรือหย่อนประสิทธิภาพลง ประกอบด้วย 1. เงินเดือน (Salary) หมายถึง สิ่งตอบแทนการปฏิบัติงานในรูปเงินรวมถึงการเลื่อนขั้นเงินเดือนในหน่วยงานนั้น เป็นที่พอใจของบุคคลที่ทำงาน

2.โอกาสที่จะได้รับความก้าวหน้าในอนาคต หมายถึง ความน่าจะเป็นที่บุคคลจะได้รับความก้าวหน้าในทักษะวิชาชีพ 3.ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงานหมายถึง ความมีสัมพันธ์อันดีต่อกันสามารถทำงานร่วมกัน มีความเข้าใจซึ่งกันและกันเป็นอย่างดี 4.สถานะของอาชีพ (Status) หมายถึง อาชีพนั้นเป็นที่ยอมรับและนับถือของสังคม มีเกียรติและมีศักดิ์ศรี 5. นโยบายและการบริหาร หมายถึง การจัดการและการบริหารงานขององค์กร การติดต่อสื่อสารภายในองค์กรที่มีประสิทธิภาพ

แนวคิด อีอาร์จีของอัลเดอร์เฟอร์ เคลย์ตัน แอลเดอร์เฟอร์ (Clayton Alderfer) ได้เสนอทฤษฎีว่าด้วยความต้องการของมนุษย์ขึ้นมาเรียกว่า ทฤษฎี อี. อาร์ จี (ERG Theory) ซึ่งคลายคลึงกับแนวคิดจองมาสโลว์ แต่เขาได้แบ่งความต้องการของมนุษย์ออกเป็น 3 ประเภท คือ ความต้องการเพื่อดำรงชีพ (Existence needs :E) ได้แก่ ความต้องการอาหาร น้ำ ที่อยู่อาศัย เสื้อผ้า สภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดี ค่าตอบแทนและประโยชน์เกื้อกูลต่าง ๆ ความต้องการเพื่อดำรงชีพนี้เทียบได้กับความต้องการทางด้านร่างกายและความต้องการทางด้านความปลอดภัยของมาสโลว์นั่นเอง

ความต้องด้านความสัมพันธ์ทางสังคมเป็นความต้องการที่จะมีความสัมพันธ์กับสังคมรอบด้าน เช่น เพื่อนรวมงาน ผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชา การได้รับการยอมรับยกย่องจากผู้อื่น ต้องการเป็นผู้นำ เป็นหัวหน้า เป็นผู้ตาม ความต้องการความเจริญก้าวหน้า (Growth needs : G) เป็นความต้องที่จะพัฒนาตนเองให้มีความเจริญก้าวหน้าต้องการเป็นผู้มีความคิดริเริม บุกเบิก และใช้ศักยภาพของตนเองที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งเป็นความต้องการขั้นสูงสุด ความต้องการประเภทนี้เหมือนกับความต้องการความสำเร็จสมหวังในชีวิตของมาสโล

สรุป การพัฒนา เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องตลอดชีวิต มีจุดมุ่งหมายครอบคลุม 3 ด้าน คือ การแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน การป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การสร้างเสริมศักยภาพของคนให้สูงขึ้น