หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ซอฟแวร์ที่สนใจ Adobe Acrobat 6.0 Professional.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
FIX COMMON PC PROBLEMS By Missis Jatuporn Surinseng Missis Chamaiporn Sommit.
ทบทวนอสมการกำลัง 1 การหาเซตคำตอบของ อสมการ ตัวอย่า ง.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
P.2 P.1Presented by นางสาวฐาวรา พ ร ธรรมวัฒน์ ID Section B01 SC15A.
การใช้งาน Microsoft Excel
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ผังงาน..(Flow Chart) หมายถึง...
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ภาวะหมดสติและการปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพ ( CPR )
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ใน Word 5 วิธีใหม่ๆ ในการทำงาน ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้จากทุกที่
การศึกษาการเคลื่อนที่เชิงอนุภาค
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
Driver Service sect. Training. Video ภาพอุบัติเหตุ ที่ 1 สถานที่เกิดเหตุ : ทางด่วนขา เข้าบางนาตราด เวลาโดยประมาณ : 16: 45 น.
เครื่องบันทึกและถอดข้อความ
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
การได้มีชีวิตอยู่กับคนที่เรารักเป็นความสุขของมนุษย์
ขยะ/ของเสียเหลือศูนย์ (Zero Waste Management)
SMS News Distribute Service
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
นวัตกรรมทางการพยาบาล “FIFO cautery box”
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
โครงการประหยัดพลังงาน ฝ่ายการพยาบาล 2559
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การติดตาม (Monitoring)
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
การกระจายอายุของบุคลากร วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
หลักสูตรการบำรุงรักษาระบบโทรศัพท์
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service plan สาขา SEPSIS เขตสุขภาพที่ 11
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?

หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ? เราไม่สามารถรู้ได้ว่าคนที่เรารัก จะเกิดเหตุการณ์แบบนี้หรือไม่ หากคุณช่วย คนป่วยมีโอกาสรอด หากลังเลที่จะช่วย 1 นาทีที่เสียไป โอกาสรอดลดลง 7% – 10% ช้าไป 5 นาที โอกาสรอดชีวิตเหลือเพียงครึ่งเดียว ไม่เป่าปาก ไม่เป็นไร ลงมือช่วยเลย...

ห่วงโซ่ในการรอดชีวิต มีอยู่ทั้งหมด 4 ขั้นตอนหลักๆ

ห่วงโซ่ในการรอดชีวิต Early recognition and call for help เข้าถึงผู้ป่วยให้เร็ว และ ขอความช่วยเหลือ เพื่อป้องกันหัวใจหยุดเต้น

ห่วงโซ่ในการรอดชีวิต Early CPR เร่งรีบปั๊มหัวใจ เพื่อ ซื้อเวลารอทีมช่วยเหลือ

ห่วงโซ่ในการรอดชีวิต Early defibrillation ช็อคหัวใจด้วยไฟฟ้า เพื่อให้หัวใจกลับมาทำงานอีกครั้ง

ห่วงโซ่ในการรอดชีวิต Post resuscitation care การดูแลคนไข้หลังปั๊มหัวใจ เพื่อให้ร่างกายกลับมาทำงานเช่นเดิม

ห่วงโซ่ในการรอดชีวิต ในกรณีบุคคลทั่วไปจะเน้นการช่วยเหลือใน 3 ขั้นตอนแรกเป็นหลัก เพราะขั้นตอนสุดท้ายต้องดูแลโดยบุคลากรทางการแพทย์ และ เครื่องมือในโรงพยาบาล

Early recognition and Call for help ประเมินเบื้องต้น 2 อย่าง ข้อ1 ปลุก หรือ เรียกให้รู้ตัว โดยการตบที่ไหล่ทั้งสองข้าง...แล้วไม่ตอบสนอง ข้อ2 สังเกตุเห็นมีการหายใจผิดปกติ หรือ ไม่หายใจ ** หากมีทั้งสองอย่าง โทรศัพท์ 1669 เพื่อขอความช่วยเหลือ

ยินดีด้วย....คุณกำลังจะทำให้คนๆนึงรอดตาย ไปช่วยเหลือขั้นต่อไปกัน....

Early CPR ปั๊มหัวใจโดยการ กดตรงกลางหน้าอก ด้วยความเร็ว 100-120 ครั้งต่อนาที ด้วยความลึก 5-6 เซนติเมตร นั่งคุกเข่าข้างลำตัว แขนเหยียดตรง เราสามารถปั๊มหัวใจอย่างเดียวก็ได้ แต่หากคุณผ่านการอบรมทางการ แพทย์มา...สามารถช่วยหายใจในอัตรา 2 ครั้ง : 30 ครั้งของการปั๊มหัวใจ ขอให้ช่วยปั๊มหัวใจต่อไป จนกว่าทีมช่วยเหลือทางการแพทย์จะมาถึง

คุณอาจจะเหนื่อยล้ากับการกดหน้าอกมาก... แต่ถ้าเขาตื่นขึ้นมาได้..... คุณจะภูมิใจและจดจำเหตุการณ์นี้ไปชั่วชีวิต....

Early defibrillation ลองสังเกตได้ ตามสนามบิน หรือห้างขนาดใหญ่จะมีเครื่องช็อคหัวใจอยู่ อุปกรณ์เหล่านี้เรียกว่า AED (Automatic External Defibrillator) เป็นเครื่องช็อคหัวใจอัตโนมัติ ที่อัตโนมัติเพราะมันทำงานได้ง่ายมาก 3 ขั้นตอน คือ ติด ฟังคำแนะนำ และ กดช็อคหัวใจ

Early defibrillation เราจะไม่หยุดปั๊มหัวใจนะ จะหยุดเฉพาะช่วงเครื่องวิเคราะห์ ให้คำแนะนำ และกดช็อคหัวใจ หลังจากนั้นให้กลับมาปั๊มหัวใจเช่นเดิม ข้อควรระวัง ขณะกดช็อคหัวใจ จะมีไฟฟ้าแรงสูงวิ่งระหว่างไฟฟ้าทั้งสองเส้น ห้ามสัมผัสร่างกายหรืออุปกรณ์ใดๆบนตัวผู้ป่วยที่สามารถนำไฟฟ้าได้ เพื่อความ ปลอดภัย

การช็อคหัวใจด้วยไฟฟ้าเป็นการกระตุ้นให้... “หัวใจกลับมาทำงาน” อีกครั้ง..... ถ้าคุณทำได้ ยินดีด้วย.... คุณกำลังทำสิ่งที่ดีที่สุดแทนหมออยู่....

Post resuscitation care การดูแลหลังปั๊มหัวใจ เหลือไว้ให้เป็นหน้าที่ของทีมแพทย์ในโรงพยาบาล เพราะต้องใช้เครื่องมือ และ การดูแลใกล้ชิดใน ICU เพื่อทำให้ร่างกายกลับมาใช้งานได้ตามปกติ

สิ่งที่ว่ามาทั้งหมด เรียกเป็นศัพท์ทางการแพทย์สั้นๆว่า “CPR” เป็นการช่วยฟื้นคืนชีพให้กับคนที่หัวใจหยุดเต้น มีการวิจัยและปรับเปลี่ยนวิธีการและขั้นตอน แต่ยังคงหลักการเดิมเพื่อการรอดชีวิตที่มากที่สุด เพื่อให้บุคคลทั่วไปสามารถทำได้ง่าย ถ้าจะแบ่งเป็นสองขั้นตอนที่จำได้ง่ายคือ 1. รีบประเมินให้รู้ว่าหัวใจหยุดเต้น และ โทร 1669 2. ปั๊มหัวใจโดยการกดหน้าอกเพียงอย่างเดียว 100-120 ครั้งต่อนาที จะเห็นได้ว่าแนวทางใหม่นี้สามารถทำได้ง่าย และ ทำได้ทุกคน

ลองดูสถานการณ์ ตัวอย่างกัน... VDO https://www.youtube.com/watch?v=ZKpmQ1WvTIE https://www.youtube.com/watch?v=7-Qhuop2ckE