“Online Article Service & Tracking System”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Information Technology for Web Application Development
Advertisements

FRONT-END Beautiful & Responsive website. WEB STRUCTURE FRONT-END BACK-END SYSTEM MOBILE FRONT-END HTML CSS PHP Others lang. Ruby, Python java Others.
กรมสรรพากร กระทรวงการ คลัง. การบริหารงานสรรพากร จัดเก็บภาษีให้ทั่วถึงเป็นธรรม มี ความโปร่งใส ค่าใช้จ่ายต่ำ ทั้งส่วนของ ทางการ และเอกชน มุ่งพัฒนาเป็นองค์กรแห่งการ.
สรุปผลการดำเนินงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ 2558 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่
EndNote Web งานบริการสารนิเทศ ฝ่ายบริการทรัพยากรสารนิเทศ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีการศึกษา
Internet Programming  .
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา HTML
HTML5 (Hypertext Markup Language 5)
WWW (World Wide Web) พัฒนาขึ้นมาในช่วงปลายปี 1989 โดยทิม เบอร์เนอร์ ลี นัก วิศวกรรมซอฟต์แวร์ จาก ห้องปฏิบัติการทางจุลภาคฟิสิกส์แห่ง ยุโรป (European Particle.
การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ
การสร้างเว็บไซด์อีคอมเมิร์ซ
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
จงยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้สำหรับออกแบบเว็บไซด์
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Introduction TO Web PRogramming
ขั้นตอนการร้องเรียน.
การพัฒนาศูนย์พึ่งได้ (OSCC)
พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
Multimedia Production
ระบบการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ สุทธิรัตน์ รัตนโชติ 16 สิงหาคม 2559
อรกัญญา เมธา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
การพัฒนาองค์ความรู้สถาบัน ในระบบคลังข้อมูลแบบกลุ่มเมฆ
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา โดย อาจารย์สุวิสาข์ เหล่าเกิด
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
การประชุมชี้แจงรายละเอียดการตอบคำถาม/ค่าคะแนน แบบสำรวจเชิงประจักษ์ ( Evidence-based – ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ วันพุธที่
School of Information & Communication Technology
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ ของคนรุ่นใหม่
อบรมการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น หัวข้อ การคีย์ใบงาน IT Service สำหรับผู้ใช้บริการ โดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การแพทย์ ฯ.
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
หน่วยที่1 หลักการวางแผนเป้าหมายชีวิต
รายละเอียดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
โรงเรียนแพทย์ระดับโลก ที่มีคุณค่าต่อสังคมไทย และมวลมนุษยชาติ
สิทธิรับรู้ของประชาชน
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
คู่มือใช้งานระบบข้อมูลสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
ทิศทางการปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนนโยบายและบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาที่สำคัญของกรมชลประทาน และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
LIBRARY Chiang Mai University ระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางบรรณานุกรม
ส่วนการเงิน กองการเงินและบัญชี
ตัวชี้วัดที่ 6.1 : การพัฒนาประสิทธิภาพระบบเว็บไซต์
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
EB10 (2) มีผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
วิธีใช้ Google form สร้างแบบสอบถามออนไลน์.
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
อุทธรณ์,ฎีกา.
EB10 (2) มีผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
MR. PAPHAT AUPAKA UPDATE PICTURE MEETING ROOM SYSTEM
แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2561
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย
Work Smart Award 2017 โครงการชลประทานมุกดาหาร
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2558 กองทุนหลักประกันสุขภาพ
การประชุมสรุปงานสภาอาจารย์ วิทยาเขตปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2561
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
Introduction to Structured System Analysis and Design
บทที่ 7 การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“Online Article Service & Tracking System” ระบบบริการคำขอบทความอิเล็กทรอนิกส์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อรพรรณ การคนซื่อ, อุทุมพร มณีวรรณ์, ภูเบศ ปาโมกข์เกษม, กษวรา อินทรฉิม, สุรีวรรณ จันทร์สว่าง และเอกสิทธิ์ ปัญญามี สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

สร้างนวัตกรรมเพื่อเสริมประสิทธิภาพการให้บริการบทความอิเล็กทรอนิกส์ ความเป็นมา คณะกรรมการพัฒนานวัตกรรมสำนักหอสมุด และฝ่ายห้องสมุดและสารนิเทศสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แผนยุทธศาสตร์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2560-2564) เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ “บริการที่มีคุณภาพและเสริมสร้างการเรียนรู้และการวิจัย” ตัวชี้วัดผลการดำเนินการหลัก “จำนวนนวัตกรรมบริการ/บริการใหม่” สร้างนวัตกรรมเพื่อเสริมประสิทธิภาพการให้บริการบทความอิเล็กทรอนิกส์ Online Article Service & Tracking System ระบบติดตามการให้บริการบทความอิเล็กทรอนิกส์

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบบริการและติดตามบทความอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อพัฒนานวัตกรรมใหม่ตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของสำนักหอสมุด ให้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนและการวิจัยของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ทฤษฎีและเครื่องมือที่นำมาใช้ วงจรคุณภาพ PDCA MEAN Stack Materialize Framework Online Article Service & Tracking System

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน นำวงจรคุณภาพ PDCA มาใช้ในการดำเนินงาน การดำเนินการให้เหมาะสม วางแผน ตรวจสอบการปฏิบัติ ปฏิบัติ

1.1 1.2 1. วางแผน ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน กำหนดหัวข้อนวัตกรรม โดยหัวหน้างานห้องสมุดคณะในฝ่ายฯ เสนอแนวคิดเพื่อพัฒนาการบริการ บทความอิเล็กทรอนิกส์ของห้องสมุดให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น 1.2 วางแผนการจัดทำระบบ วางแผนการจัดทำระบบ โดยเริ่มตั้งแต่ขั้นตอนของการวิเคราะห์และออกแบบระบบ การพัฒนาและปรับปรุงให้เหมาะสมกับการใช้งาน ตลอดจนประเมินผลการใช้

2.1 2. ปฏิบัติ ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน วิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design) ผู้ใช้งานระบบออกเป็น 2 กลุ่มได้แก่ 1) กลุ่มผู้ใช้งานประเภทผู้ใช้บริการ 2) กลุ่มผู้ใช้งานประเภทผู้ให้บริการ ผู้ใช้งานทั้ง 2 กลุ่มสามารถเข้าใช้งานระบบได้ผ่านเว็บไซต์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ประเภท Smart Devices โดยทำการยืนยันตนเองเพื่อขอเข้าใช้บริการด้วย CMU IT Account 2.1

2. ปฏิบัติ ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน ผู้พัฒนาได้ออกแบบโครงสร้างระบบ โดยแยกเป็น 2 ส่วนคือ ระบบส่วนหน้า (Front-end) ระบบส่วนหลัง (Back-end)

2. ปฏิบัติ ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน 2.2 การพัฒนาระบบ (System Development) เครื่องมือพัฒนาโปรแกรม NodeJS MongoDB สำหรับพัฒนาโปรแกรม ในส่วนของ Back-end ใช้เป็นระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) Express Angular สำหรับจัดการการเชื่อมโยงข้อมูล ผ่าน Web Service API สำหรับ Render ส่วนติดต่อกับผู้ใช้งานในส่วนของ Front-end สร้าง User Interface ในรูปแบบ Responsive Website  การแสดงผลให้เหมาะสม ใช้งานง่าย

คุณสมบัติของระบบ บันทึกรายละเอียดการให้บริการ เช่น ชื่อผู้ใช้บริการ ชื่อบทความ วันที่ส่งคำขอ เป็นต้น แจ้งเตือนผู้ให้บริการเมื่อมีคำขอรับบริการเข้ามาใหม่ ผู้ใช้บริการสามารถติดตามการให้บริการบทความได้ในทุกขั้นตอน ผู้ใช้บริการสามารถย้อนดูประวัติการขอบทความอิเล็กทรอนิกส์ของตนเองได้

3. ตรวจสอบการปฏิบัติ ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน ได้รับมาตรฐาน HTML5 จากการทดสอบด้วยโปรแกรม Markup Validator Service จากองค์กรWorld Wide Web Consortium (W3C) ได้รับคะแนน 99/100 จากการทดสอบการใช้งานจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ด้วยโปรแกรม PageSpeed Insights จาก Google 3.1 ตรวจสอบโปรแกรมที่พัฒนา

3. ตรวจสอบการปฏิบัติ ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน 3.2 การวิพากษ์โปรแกรม วันที่ 5 กันยายน 2561 ได้นำโปรแกรมต้นแบบมาจัดแสดง ในงานวันนวัตกรรม สำนักหอสมุด 2561 (CMUL Service Innovations Day's 2018) เพื่อให้บุคลากรสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บุคลากรห้องสมุดต่างสถาบัน และผู้ใช้บริการ ได้มีส่วนในการวิพากษ์โปรแกรมด้วยการทำแบบสอบถาม พบว่า เป็นประโยชน์และเป็นนวัตกรรมที่ใช้ร่วมกันได้ทุกห้องสมุดคณะ ระบบสามารถทำความเข้าใจและใช้งานได้ง่าย

ให้บริการบนเว็บไซต์ http://library.cmu.ac.th/articletrack/

4. การดำเนินการ นำข้อมูลจากการวิพากษ์มาพัฒนาและปรับปรุงระบบให้สมบูรณ์ ประชาสัมพันธ์และให้บริการบทความอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้ระบบ “Online Article Service & Tracking System” ประเมินผลการใช้งาน และรวบรวมข้อเสนอแนะ/ปัญหาต่าง ๆ จัดทำคู่มือการใช้ระบบ “Online Article Service & Tracking System”

สรุปผล ผลการพัฒนาระบบ บันทึกรายละเอียดการให้บริการ ได้แก่ ชื่อ-สกุลผู้ใช้บริการ ชื่อบทความ วันที่ส่งคำขอ สังกัดหน่วยงาน e-Mail

สรุปผล ผลการพัฒนาระบบ ผู้ใช้บริการสามารถติดตามการให้บริการบทความได้ในทุกขั้นตอน

หน้าแสดงการให้บริการของ Admin

หน้าแสดงสถานะของผู้ใช้บริการ

สรุปผล 2. ผลการใช้ ห้องสมุดมีนวัตกรรมใหม่ ห้องสมุดสามารถนำข้อมูลไปรายงานผลประจำปี/ต่อยอดงานอื่นได้ ได้พัฒนาการให้บริการบทความอิเล็กทรอนิกส์ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ผู้ใช้บริการสามารถติดตามสถานะของบทความ ได้ทุกขั้นตอนอย่างสะดวก ทุกที่ ทุกเวลา ห้องสมุดมีนวัตกรรมใหม่

แบบประเมินความพึงพอใจการใช้ระบบ https://goo.gl/tPn6Sm สรุปผล 2. ผลการใช้ แบบประเมินความพึงพอใจการใช้ระบบ https://goo.gl/tPn6Sm

ข้อเสนอแนะ ด้านการบริการ ด้านการพัฒนาระบบ ปรับหน้า Request Form ประชาสัมพันธ์บริการคำขอบทความอิเล็กทรอนิกส์ จัดอบรมการใช้ระบบ ด้านการพัฒนาระบบ “Online Article Service & Tracking System” ปรับหน้า Request Form

การนำไปใช้ประโยชน์ ประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ห้องสมุดทุกแห่งในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สามารถนำระบบ Online Article Service & Tracking System ไปเป็นเครื่องมือส่งเสริมบริการและสามารถใช้งานร่วมกันได้ทุกห้องสมุด เป็นการส่งเสริมให้ทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ของห้องสมุดได้ถูกนำไปใช้อย่างคุ้มค่า ห้องสมุดได้แนวทางในการพัฒนาการให้บริการบทความอิเล็กทรอนิกส์เพื่อสร้างความพึงพอใจและความประทับใจแก่ผู้ใช้บริการ สนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการพัฒนานวัตกรรมเพื่อส่งเสริมการให้บริการบทความอิเล็กทรอนิกส์ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

การนำไปใช้ประโยชน์ ประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัยอื่น ด้วยระบบถูกออกแบบมารองรับการเชื่อมโยงจากโปรแกรมหรือระบบอื่นได้ ดังนั้น ห้องสมุดมหาวิทยาลัย/สถาบันอื่น สามารถนำระบบ Online Article Service & Tracking System ไปประยุกต์ใช้กับงานห้องสมุดของแต่ละแห่งเพื่อพัฒนาบริการบทความอิเล็กทรอนิกส์หรือบริการเอกสารต่าง ๆ ของหน่วยงานได้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการแบ่งปันระบบการใช้งานหรือการใช้ทรัพยากรระหว่างห้องสมุด เป็นการส่งเสริมความร่วมมือในทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยได้อย่างยั่งยืน

จบการนำเสนอ