การพัฒนาระบบสารสนเทศ บทที่ 3 การพัฒนาระบบสารสนเทศ การวางแผนระบบสารสนเทศ การเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การได้มาซึ่งระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบ เทคนิคการใช้แผนภาพกระแสข้อมูล เทคนิคการใช้แผนภาพกระแสงาน การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ โครงสร้างหน่วยงานสารสนเทศ บุคลากรด้านสารสนเทศ
การวางแผนระบบสารสนเทศ การคาดการณ์ผลลัพธ์ของการนำระบบสารสนเทศมาใช้ เพื่อประกอบการดำเนินงานทางธุรกิจ ตลอดจนการกำหนด วิธีปฏิบัติ เพื่อให้ระบบสารสนเทศที่นำมาใช้บรรลุเป้าหมาย ขององค์การที่ตั้งไว้ล่วงหน้า
เป้าหมาย ในอนาคต กลยุทธ์ หมายถึง หนทางหรือวิธีการที่จะนำไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ เป้าหมาย ในอนาคต กลยุทธ์ Strategy องค์การ ปัจจุบัน
กลยุทธ์ธุรกิจ สารสนเทศ กลยุทธ์ระดับบริษัท ผู้บริหาร ระดับสูง กลยุทธ์ระดับหน่วยธุรกิจ ผู้บริหารระดับกลาง กลยุทธ์ระดับหน้าที่ ผู้บริหารระดับต้น ระดับปฏิบัติการ
การกำหนดกลยุทธ์ธุรกิจ กลยุทธ์ต้นทุนต่ำสุด Low Cost Strategy – No brand 2. กลยุทธ์การสร้างความแตกต่างผลิตภัณฑ์ Differentiation Strategy – Dell Computer 3. กลยุทธ์การเน้น Focus Strategy – IBM AS400
Michael E.Porter
5. กำหนดขั้นตอนการทำงาน 5. กำหนดนโยบายสารสนเทศ กระบวนการวางแผน การวางแผนเชิงกลยุทธ์ระบบสาสนเทศ กำหนดเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ กำหนดภาระหน้าที่ของ หน่วยสารสนเทศ 2. SWOT Analysis 2. SWOT Analysis 3. จับประเด็นกลยุทธ์ 3. กำหนดวัตถุประสงค์ 4. กำหนดนโยบาย 4. กำหนดแนวทางกลยุทธ์ 5. กำหนดขั้นตอนการทำงาน 5. กำหนดนโยบายสารสนเทศ 6. การสร้างแผนระยะยาว และระยะสั้น
การเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ ITในปัจจุบัน - เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ * - เทคโนโลยีฐานข้อมูล - เทคโนโลยีอีคอมเมิร์ซ - เทคโนโลยีการชำระเงินค่าสินค้า - เทคโนโลยีด้านความมั่นคงของระบบข้อมูล - เทคโนโลยีการทำดิจิตอลให้เหมาะสม - เทคโนโลยีไร้สาย - เทคโนโลยีสำนักงานเสมือน - เทคโนโลยีระบบประยุกต์ด้านการสื่อสาร http://manager.co.th/CyberBiz/ViewNews.aspx?NewsID=9510000074281
การประยุกต์ใช้ ITในอนาคต - ชิป - หน่วยเก็บ - สภาพแวดล้อมเชิงออปเจกต์ - เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ซ่อมบำรุงด้วยตนเอง - คอมพิวเตอร์แบบควันตัม - นาโนเทคโนโลยี
การได้มาซึ่งระบบสารสนเทศ 1. การจัดซื้อซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ 2. การใช้บริการหน่วยงานภายนอก (Outsourcing) 3. การพัฒนาระบบขึ้นมาใช้งานเองในองค์การ
จัดซื้อโปรแกรมสำเร็จรูป (Application Software) ข้อดี - มีค่าใช้จ่ายน้อยกว่า เพราะโปรแกรมมีการผลิตที่มีปริมาณมาก ทำให้ราคาต่ำกว่าการพัฒนาเอง - มีความสะดวกรวดเร็วต่อการนำระบบมาใช้งาน ไม่ต้องรอการทดสอบความถูกต้อง เพราะบริษัผู้จำหน่ายโปรแกรมสำเร็จรูปได้ทดสอบมาแล้ว มีคุณภาพระดับหนึ่ง ข้อเสีย - ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ทั้งหมดเพราะโปรแกรมสำเร็จรูปมีการเขียนไม่ได้ เฉพาะเจาะจงสำหรับกิจการใดกิจการหนึ่ง - ไม่สามารถเชื่อมโยงกับระบบที่มีอยู่แล้ว - องค์การอาจจำเป็นต้องจัดหาฮาร์ดแวร์เพิ่มเติมเพื่อที่จะนำมาใช้กับโปรแกรมสำเร็จรูปนั้น ดังนั้นความยืดหยุ่นในการใช้งานจึงมีน้อยที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับทางเลือกอื่นๆ
การจัดจ้างหน่วยงานภายนอก (Outsourcing) ข้อดี 1. ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มากกว่าพัฒนาเอง ได้ผลงานที่มีคุณภาพเนื่องจากได้ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญมากกว่า มาพัฒนาระบบ 3. สามารถควบคุมงบประมาณที่ใช้ค่อนข้างแน่นอน ข้อเสีย 1. ข้อมูลอาจมีการรั่วไหลจากหน่วยงานที่เข้ามาพัฒนาระบบ มีความจำเป็นที่ต้องพึ่งพาหน่วยงานอื่น จนไม่สามารถควบคุมการดำเนินงานได้ เมื่อองค์การมีความต้องการเพิ่มเติมในการพัฒนาระบบ จำเป็นต้องให้หน่วยงานภายนอกแก้ไข จะต้องมีการตกลงสัญญาใหม่และอาจต้องเพิ่มค่าใช้จ่ายอยู่เสมอ
การพัฒนาระบบขึ้นเอง ข้อดี สามารถออกแบบ และเขียนโปรแกรมและสร้างระบบงานตามความต้องการของผู้ใช้ได้ 2. สามารถแก้ไขได้ตามความพึงพอใจ เพราะในองค์การจะมีบุคลากรที่รับผิดชอบงานโดยตรง ข้อเสีย 1. ค่าใช้จ่ายในการว่าจ้างบุคลากรด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศ ต้องใช้เงินจำนวนมาก 2. เสียเวลานาน
1. ระเบียบวิธีพัฒนาระบบ การพัฒนาระบบ 1. ระเบียบวิธีพัฒนาระบบ 1.1 โดยใช้แบบจำลองน้ำตก แบบอนุรักษ์ แบบตรวจทบทวน แบบเหลื่อม
ทำขั้นตอนแรกให้เสร็จก่อน แล้วค่อยปรับปรุงขั้นต่อไป แบบอนุรักษ์ วางแผนระบบ ทำขั้นตอนแรกให้เสร็จก่อน แล้วค่อยปรับปรุงขั้นต่อไป วิเคราะห์ระบบ ออกแบบระบบ ทำให้เกิดผล สนับสนุนระบบ
ตรวจสอบขั้นตอนที่เสร็จแล้ว จะแก้ไขทันทีที่พบข้อผิดพลาด แบบตรวจทบทวน วางแผนระบบ ตรวจสอบขั้นตอนที่เสร็จแล้ว จะแก้ไขทันทีที่พบข้อผิดพลาด วิเคราะห์ระบบ ออกแบบระบบ ทำให้เกิดผล สนับสนุนระบบ
คู่ขนานกันไปโดยไม่ต้องรอ ให้ขั้นตอนก่อนหน้าเสร็จ แบบเหลื่อม วางแผนระบบ พัฒนาแต่ละขั้นตอน คู่ขนานกันไปโดยไม่ต้องรอ ให้ขั้นตอนก่อนหน้าเสร็จ วิเคราะห์ระบบ ออกแบบระบบ ทำให้เกิดผล สนับสนุนระบบ
ตรวจสอบระบบที่กำลังพัฒนา 1.2 โดยใช้ต้นแบบ การพัฒนาต้นแบบ มีต้นแบบ (Prototype) ตรวจสอบระบบที่กำลังพัฒนา วางแผนระบบ ต้นแบบ วิเคราะห์ระบบ ออกแบบระบบ ทำให้เกิดผล สนับสนุนระบบ
1.3 วิธีการพัฒนาระบบประยุกต์อย่างเร็ว พัฒนาระบบสั้น ๆ / เน้นการมีส่วนร่วมของผู้ใช้ 1.4 วิธีการพัฒนาแบบยืดหยุ่น สามารถเปลี่ยนแปลงได้ขณะดำเนินการ / ซับซ้อนกว่า 1.3 1.5 วิธีการพัฒนาระบบแบบร่วมมือ เทคนิคนี้นิยมนำมาใช้ / เน้นความร่วมมือของทุกฝ่าย พัฒนาระบบเดิม ไประบบใหม่ วิธีจากล่างขึ้นบน ระเบียบวิธีพัฒนาระบบ ระบบสารสนเทศ เชิงกลยุทธ์ วิธีจากบนลงล่าง
1.1 การกำหนดและเลือกโครงการ / Feasibility Study วัฏจักรการพัฒนาระบบ การวางแผนระบบ 1.1 การกำหนดและเลือกโครงการ / Feasibility Study 1.2 การริเริ่มและวางแผนโครงการ 2. การวิเคราะห์ระบบ - ใช้เวลานานที่สุด 3. การออกแบบระบบ – เชิงตรรกกะ และ เชิงกายภาพ 4. การทำให้เกิดผล (Implemented) – ติดตั้งและพัฒนา ระบบที่ติดตั้งใหม่ 5. การสนับสนุนระบบ – แก้ไข / ขยาย / บำรุงรักษา
วิศวกรรมสารสนเทศ สอดคล้องกับการพัฒนาระบบสาสนเทสเชิงกลยุทธ์มากกว่า การพัฒนาระบบตามขั้นตอนของวัฏจักรการพัฒนาระบบ 1. การวางแผนกลยุทธ์สารสนเทศ 2. การวิเคราะห์ส่วนของธุรกิจ 3 การออกแบบระบบ 4. การสร้างระบบ
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาระบบ กลยุทธ์ธุรกิจ วัฒนธรรมองค์การ กลยุทธ์ธุรกิจ ระบบ สารสนเทศ เทคโนโลยี สารสนเทศ วัฒนธรรมองค์การ เทคโนโลยี สารสนเทศ
เทคนิคการใช้แผนภาพกระแสข้อมูล 1. สัญลักษณ์ที่ใช้สร้างแผนภาพ เกนและซาร์สัน ดีมาร์โคและโยร์ตอน กระบวนการ กระแสข้อมูล หน่วยเก็บข้อมูล หน่วยงานหรือเอนติตี้
ระดับของแผนภาพ ระดับ 1 แผนภาพบริบท (Context Diagram) ระดับ 2 แผนภาพระดับหนึ่ง (First-level Diagram) ระดับ 3 แผนภาพระดับสอง (Second-level Diagram)
เทคนิคการใช้แผนภาพกระแสงาน จะใช้สัญลักษณ์และรูปภาพใด ๆ ที่สื่อถึงความหมายต่อผู้รับ
การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ 1. แนวคิด 2. กระบวนการจัดการ การวางแผน การจัดโครงสร้าง การจัดลำดับงาน การควบคุม การสั่งการ การรายงาน การจัดทำงบประมาณ 3. การจัดการทรัพยากรฮาร์ดแวร์ 4. การจัดการทรัพยากรซอฟต์แวร์ 5. การจัดการทรัพยากรข้อมูล 6. การจัดการทรัพยากรระบบสื่อสารและเครือข่าย
หน่วยปฏิบัติการงาน&บริการ โครงสร้างหน่วยงานสารสนเทศ กรมการผู้จัดการ ฝ่ายสารสนเทศ ฝ่ายการเงิน ฝ่ายการตลาด ฝ่ายการผลิต หน่วยวิเคราะห์ และออกแบบระบบ หน่วยพัฒนาชุดคำสั่ง หน่วยปฏิบัติการงาน&บริการ -โปรแกรมเมอร์ -วิศวกรชุดคำสั่ง -พนง.ควบคุมเครื่อง -พนง.เก็บข้อมูล -พนง.ควบคุมเวลา -นักวิเคราะห์ระบบ -หน.โครงการ
* หัวหน้าพนักงานสารสนเทศ (CIO) บุคลากรด้านสารสนเทศ * หัวหน้าพนักงานสารสนเทศ (CIO) * นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst(SA)) * ผู้เขียนชุดคำสั่ง (Programmer) * ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ * ผู้จัดตารางเวลา * พนักงานจัดเก็บรักษา * พนักงานจัดเตรียมข้อมูล
Any Problem??