ลองนึกสิ คาบที่แล้ว เรียนอะไร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมทดสอบที่1 ทดสอบการแสดงผลข้อความ
Advertisements

ACCEPT ชื่อข้อมูล FROM DATE WORKING - STORAGE SECTION. 01 TODAY PIC 9(6)..... PROCEDURE DIVISION ACCEPT-01. ACCEPT TODAY FROM DATE.
โครงสร้างพื้นฐานสำหรับโทร มาตรเอนกประสงค์. COE สมาชิกในกลุ่มนายวิศัลย์ ประสงค์สุข นายศุภชัย ทองสุข อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการดร.
การประยุกต์ใช้โปรแกรม MS-Excel
โดย ศศิธร อารยะพูนพงศ์ สำนักคอมพิวเตอร์
เฉลย Lab 10 Loop.
Naïve Bayesian Classification
Program Flow Chart.
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
โครงสร้างคำสั่งแบบเลือก (Selection)
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
ASP [# 8] ฟังก์ชั่นที่ใช้เกี่ยวกับการตัดคำ
การสร้าง Random ตัวเลขซ้ำและไม่ซ้ำ การเรียกดูไฟล์ในโฟลเดอร์ Function
ASP [#12] ตัวอย่าง VBScript เพื่อใช้ตรวจสอบค่าบนฟอร์ม
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
Repetitive Or Iterative
Php Variable , Expression Professional Home Page :PHP
คำสั่งควบคุม (Control Statement)
ครั้งที่ 7 บทที่ 2 21 มิถุนายน 2553
การแสดงข้อความ echo - echo “Hello”; // Hello - $text = “ World”;
ตัวดำเนินการ(Operator)
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
1 Javascript with Form. 2 Javascript - Get data from form post method formname.field.value get method formname.getElementById(“field")
การใช้ฟังก์ชั่นทาง EXCEL
เรื่อง การซ่อน - แสดงคอลัมน์ / แถว จัดทำโดย ด. ช. พงศ์วริศ ชาติชะนา ชั้น ม. 2/5 เลขที่ 37 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติทองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
คำสั่งเงื่อนไข ง การเขียนไดนามิก เว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข Conditional Statements
ข้อมูลแบบโครงสร้างและยูเนียน
เรื่องที่ 1 เรื่องที่ 2 เรื่องที่ 3 เรื่องที่ 4 เรื่องที่ 5 บทเรียน.
เรื่องที่ 1 เรื่องที่ 2 เรื่องที่ 3 เรื่องที่ 4 เรื่องที่ 5 บทเรียน.
ลำดับการคำนวน ลำดับตัวจัดการ 1% เปอร์เซนต์ 2^ ยกกำลัง 3 * และ / การคูณ และการหาร 4 + และ - การบวกและการลบ 5= >= การเปรียบเทียบ.
TECH30201 Object-Oriented Programming
การเปรียบเทียบเงื่อนไข
Chapter 05 Selection structure ผู้สอน อ. ยืนยง กันทะเนตร สาขาวิชาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ ng.
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
โปรแกรม Microsoft Excel มี ความสามารถเด่นในด้านการคำนวณ ซึ่งมี ลักษณะการคำนวณ 2 รูปแบบใหญ่ๆ ได้แก่ การคำนวณด้วยสูตร (Formula) การคำนวณด้วยฟังก์ชันสำเร็จรูป.
PHP. Date and Time date(format,timestamp)
สูตรคำนวณตัวแปรตำเนินการ = A1 + A2 * A3 เซล A1, A2 และ A3 เครื่องหมาย + และ * = B3 * 5 /100 เซล B3, เลข 5 และ 100 เครื่องหมาย * และ / = D5:D10 เซล.
๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๙ โดย ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี ๕๗ หมู่ ถ. ชลประทาน ต. โขมง อ. ท่าใหม่ จ.
D I G I T A L 4.0 Telling Time ENG M.1 Sem. 2 Vocabulary
Microsoft Excel เบื้องต้น
เกม คณิตคิดเร็ว.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
คำสั่งเงื่อนไขและการใช้คำสั่งจัดการฐานข้อมูล
คำสั่งวนซ้ำ (Looping)
คอมพิวเตอร์และการโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
ภาษา JavaScript Webpage Design and Programming Workshop ( )
Microsoft Office Excel
Advance Excel.
คำอธิบายรายวิชา การเขียนผังงาน รหัสเทียม ตรรกศาสตร์เบื้องต้น การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบโครงสร้าง ชนิดตัวแปร ตัวดำเนินการทางตรรกะ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ.
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 13 การเขียนรหัสเทียม (Pseudo Code)
Microsoft Office Excel 2010
ข้อมูล ตัวแปร และค่าคงที่ของภาษา VB
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
EXCEL (intermediate) By Nuttapong S..
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
บทที่ 9 การอธิบายกระบวนการแบบต้นไม้.
บทที่ 3 โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น
ปฏิบัติการที่ 06 การใช้ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ และการสร้างมาโครใน Excel
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ฉบับเต็ม จัดทำโดย งานบริการสารสนเทศ ฝ่ายบริการ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
การเขียนโปรแกรมภาษา Java (ต่อ)
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
Microsoft Excel.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลองนึกสิ คาบที่แล้ว เรียนอะไร

ตัวเลข อ้างอิงเซลล์ ลำดับการคำนวณ กฎ 2 ข้อ การป้อนสูตรคำนวณ คำนวณจากซ้ายไปขวา 2. คำนวณจากตัวดำเนินการ ที่มีความสำคัญเป็นลำดับแรกไปหาลำดับสุดท้าย การป้อนสูตรคำนวณ โครงสร้างสูตรคำนวณ ลำดับการคำนวณ ตัวแปร 1.เครื่องหมายติดลบ เช่น -2 2. เครื่องหมายเปอร์เซ็นต์ 3.เครื่องหมายยกกำลัง 4.เครื่องหมายคูณกับหาร *,/ 5.เครื่องหมายบวกกับลบ +.- 6.เครื่องหมาย & 7.เครื่องหมาย =,<>,<,>,<=,>= =5+5 =10-89 ตัวเลข ตัวดำเนิน การ อ้างอิงเซลล์ ตัวอย่าง 10-4*2/2 ผลลัพธ์ =A2*A4 ถ้าอยากให้คำนวณลำดับที่น้อยกว่าก่อนให้ใส่วงเล็บคร่อมตัวดำเนินการนั้น

ฟังก์ชั่นและการคำนวณ

อาร์กิวเมนต์ (Argument) โครงสร้างของฟังก์ชั่น ฟังก์ชั่นประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลัก 1 2 ชื่อฟังก์ชั่น (Function Name) อาร์กิวเมนต์ (Argument)

ชื่อฟังก์ชั่น (Function Name) เป็น ชื่อ ของคำสั่ง เช่น SUM , AVERGE , IF , AND เป็นต้น อาร์กิวเมนต์ (Argument) เป็นข้อมูล ตัวแปร หรือ เงื่อนไขต่าง ๆ ที่ให้ฟังก์ชั่นคำนวณหรือประมวลผล เช่น ตำแหน่งเซลล์อ้างอิง ข้อความ ตัวเลข หรือค่าตรรกะ (True/False)

รูปแบบของโครงสร้างฟังก์ชั่น =ชื่อฟังก์ชั่น(อาร์กิวเมนต์1,อาร์กิวเมนต์2,อาร์กิวเมนต์3,…) ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 อาร์กิวเมนต์ต้องอยู่ในวงเล็บ อาร์กิวเมนต์มีได้มากกว่า 1 อาร์กิวเมนต์ เครื่องหมายเท่ากับห้ามลืมเด็ดขาด

ตัวอย่าง รูปแบบของโครงสร้างฟังก์ชั่น =SUM(50+50) =SUMIF(B2:B7,”>=100000”)

“YES” or “NO” 1. =SUMIFB2:B7,”<100000”,C2:C7 2. =SUMIF(50+60,) ข้อ 1 ลืม วงเล็บ ข้อ 2 ลูกน้ำเกิน ข้อ 3 ถูก

ข้อกำหนดในการเขียนฟังก์ชั่น 1. ต้องพิมพ์ติดกันทุกตัวอักษร ห้ามเว้นวรรคโดยเด็ดขาด 2. ทุกฟังก์ชั่นต้องขึ้นต้นด้วย = เสมอ 3. ชื่อฟังก์ชั่นจะเป็นตัวพิมพ์ใหญ่หรือตัวพิมพ์เล็กก็ได้ 4. อาร์กิวเมนต์ต้องอยู่ในเครื่องหมายวงเล็บ ( ) เท่านั้น 5. ถ้าฟังก์ชั่นมีอาร์กิวเมนต์มากกว่า 1 ตัว ให้คั่นแต่ละอาร์กิวเมนต์ด้วยเครื่องหมาย , (จุลภาค)

ข้อกำหนดในการเขียนฟังก์ชั่น 6. ถ้าฟังก์ชั่นไม่มีอาร์กิวเมนต์ต้องใส่เครื่องหมายวงเล็บ ( ) ต่อท้ายฟังก์ชั่นเสมอ เช่น =COUNT() 7. ถ้าอาร์กิวเมนต์เป็นข้อความ (Text) ต้องใส่ เครื่องหมายฟันหนู (“ “) คร่อมอาร์กิวเมนต์ทุกครั้ง เช่น =IF(B2>B5,”ดีมาก”) 8. ห้ามใส่สัญลักษณ์ที่ใช้กำหนดรูปแบบของตัวเลข เช่น $ ฿

“True” or “False” =sum (B2:B7,”>=100000”,C2:C7) ข้อ 1 เว้นวรรค ข้อ 2 ไม่มีเท่ากับ ข้อ3 ตัวเล็ก ข้อ4 ไม่มีเท่ากับ ไม่มีลูกน้ำหน้า if แรก วงเล็บหายไป 1 อัน ข้อ 5 เครื่องหมายฟันหนูหาย ข้อ 6 ไม่มีวเล็บ

“True” or “False” =IF(B2>=80,“A",IFB2>=70,“B",IF(B2>=60,“C",IF(B2>=50,“D)))) เฉลย =IF(B2>=80,“A",IF(B2>=70,“B",IF(B2>=60,“C",IF(B2>=50,“D”))))

การเรียกใช้ฟังก์ชั่น มี 2 วิธี 1.พิมพ์ฟังก์ชั่นใส่เซลล์โดยตรง ทำในโปรแกรมให้นักเรียนดูเป็นตัวอย่าง 2.เลือกฟังก์ชั่นจากแถบริบบอน

ประเภทของฟังก์ชั่น ฟังก์ชั่นทางตรรกศาสตร์ ฟังก์ชั่นจัดการข้อความ ฟังก์ชั่นวันที่และเวลา ฟังก์ชั่นทางสถิติ

ฟังก์ชั่นจัดการข้อความ (Text) หน้าที่ รูปแบบฟังก์ชั่น BATHTEXT แปลงตัวเลขให้เป็นข้อความภาษาไทย และลงท้ายด้วยบาท – สตางค์ หรือบาทถ้วน BATHTEXT(ตัวเลข) LEN นับจำนวนอักขระของข้อความ LEN(ข้อความ) UPPER แสดงข้อความเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ UPPER(ข้อความ) LOWER แสดงข้อความเป็นตัวพิมพ์เล็ก LOWER(ข้อความ) PROPER ตัวอักษรเรกของข้อความเป็นตัวพิมพ์ใหญ์ PROPER(ข้อความ)

ตัวอย่าง การเขียนฟังก์ชั่น BATHTEXT =BATHTEXT(50)

LOWER ใช้การอ้างอิงเซลล์เท่านั้น เช่น =LOWER(D2) =UPPER(P2) =PROPER(A1) ถ้าเขียนแบบนี้ ผิด =LOWER(jindapond) UPPER PROPER

ฟังก์ชั่นวันที่และเวลา (Date & Time) หน้าที่ รูปแบบฟังก์ชั่น NOW แสดงวันที่และเวลาปัจจุบัน NOW() TODAY แสดงวันที่ปัจจุบัน TODAY() DAY แสดงวันที่ของวันที่ที่ระบุ DAY(วันที่) MONTH แสดงเดือนของวันที่ที่ระบุ MONTH(วันที่) YEAR แสดงปีของวันที่ที่ระบุ YEAR(วันที่) MINUTE แสดงนาทีของเวลาที่ระบุ MINUTE(เวลา) HOUR แสดงชั่วโมงของเวลาที่ระบุ HOUR(เวลา)

ตัวอย่าง การเขียนฟังก์ชั่น NOW =NOW()

ใช้การอ้างอิงเซลล์เท่านั้น เช่น =DAY(D2) =YEAR(P2) =HOUR(A1) ถ้าเขียนแบบนี้ ผิด =HOUR(14) MONTH YEAR MINUTE HOUR