(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“การส่งเสริมการสร้างแบรนด์ประเทศ”
Advertisements

กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์แค่ระยะ 20 ปี และการ ปฏิรูปประเทศ.
จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร?จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร? สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH,
1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนครพนม.
ศพก. ระดับปานกลาง (B) 401 ศูนย์
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ฉบับทบทวน
ส่วนประสมการตลาด ( Marketing Mix )
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
หน่วยงานราชการและภาคเอกชน จังหวัดกาฬสินธุ์ และ
Private Equity มิตรแท้ของเจ้าของกิจการ?
กลุ่มประสิทธิภาพกลุ่มที่ 1 (เขตตรวจราชการที่ 1, 2 และ 4)
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
Value Chain and Supply Chain ห่วงโซ่คุณค่า และห่วงโซ่อุปทาน
TIM2303 การขายและตลาดอุตสาหกรรมท่องเที่ยว SALE & MARKETING IN Tourism Industry อ.เอกชัย สีทำมา.
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
ตรายี่ห้อ บรรจุภัณฑ์ และฉลาก
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ทิศทางการดำเนินงาน ของกรมการข้าว ปี 2561
1.โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนอีสานศตวรรษที่ 21 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สรุปบทเรียน การขับเคลื่อนโครงการ
การเบิก-จ่ายเงินอย่างมืออาชีพ
การถ่ายโอนบุคลากรสาธารณสุข
นโยบาย กรมส่งเสริมการเกษตร ประจำปี ๒๕๕๙
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development)
การติดตามและการประเมินผลโครงการ
ประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ระดับจังหวัด ครั้งที่ 5/2561 วันอังคารที่ 11 กันยายน 2561 เวลา – น. ณ ห้องประชุมสุพรรณิการ์ ศาลากลางจังหวัดอุทัยธานี
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชี และถ่ายทอดเทคโนโลยี (สพถ.)
วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา น.
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
ระบบการปลูกพืช และการส่งเสริมอาชีพในพื้นที่ลุ่มต่ำ
กรอบแนวทางในการจัดทำงบประมาณ แผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม
พระพุทธศาสนา.
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
จังหวัด พะเยา การวิเคราะห์ข้อมูล ข้าวหอมมะลิปลอดภัย/GAP
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ. ศ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
บทที่ 7 การจัดเก็บวัสดุและหีบห่อ
การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
Logistics : a Key for Thailand’s Food Hub การสัมมนา “Food Challenges Toward AEC” (Bitec Bangna) โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว (Rice Analysis)
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
บทที่ 14 ระบบสารสนเทศ กับการเปลี่ยนแปลงองค์การ
งานคุ้มครองผู้บริโภค กับการเฝ้าระวังสื่ออย่างชาญฉลาด
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การจัดการกระจายสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
๑ ๒ ๓ ๔ ความเป็นมา โครงการพัฒนาอาชีพตามความต้องการของหมู่บ้าน/ชุมชน
เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย
Product Champion Cluster วัยเรียน : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลแสลงพันปีงบประมาณ ๒๕๖๐ พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน College of Logistics and Supply Chain
สรุปบทเรียน การขับเคลื่อนโครงการ
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลคำพราน ปีงบประมาณ 2560 พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
กลยุทธ์ธุรกิจ.
การจัดการเครือข่ายสังคมออนไลน์
การยื่นข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ จังหวัดอุทัยธานี

Value chain ของ Product Champion ข้าว จังหวัดอุทัยธานี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนากระบวนการผลิตด้านการเกษตรให้มีคุณภาพและเพิ่มมูลค่า Value chain ของ Product Champion ข้าว จังหวัดอุทัยธานี 1 3 4 2 5 6 การวิจัย และพัฒนา(R&D) ปัจจัยพื้นฐานและพัฒนาการเกษตร การเพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพและลดต้นทุน การแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่ม การขนส่งสินค้าและจัดการบริหารสินค้า (Logistics) การพัฒนาระบบการตลาด ห่วงโซ่VC 1.1การนำผลการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้า (พันธุ์ข้าว)มาใช้ให้เกิดผล * ก่อนเพาะปลูก (Pre-sultivation) * ช่วงเพาะปลูก (Cultivation) 4.1มาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตรอุตสาหกรรม (GMP/HACCP) 5.1การพัฒนาประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่งและกระจายสินค้า 6.1การพัฒนาตลาดกลางสินค้า 2.1การกระจายเมล็ดพันธุ์ที่ดีให้เกษตรกร 3.1การพัฒนามาตรฐาน/ระบบตรวจรับรองสินค้าการเกษตร 6.2ส่งเสริมการทำตลาดเฉพาะฤดู 4.2การทำตราสินค้า (Branding) และตรารับรองคุณภาพ(Quality mark) 1.2การวิเคราะห์สินค้า(ข้าว) และความต้องการของตลาด 5.2การบริหารจัดการคลังสินค้า 2.2การบริหารจัดการน้ำ 2.3การบริหารจัดการการใช้ดิน (Zoning) 3.2การเพิ่มผลิตต่อไร่ 6.3 พัฒนาตลาดซื้อขายล่วงหน้า (Future Market) 4.3การอบรมและพัฒนาความรู้/เกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มของผลผลิตข้าวจังหวัด ปัจจัยแห่งความสำเร็จCSF * การเก็บเกี่ยวและขั้นตอนหลังเก็บเกี่ยว (Harvest & Post) 2.4การเตรียมพื้นที่เพาะปลูก 2.5การรวมกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ 3.3การรับรองมาตรฐานและตรวจสอบความปลอดภัย VC = 6 CSF = 21 KPI = 34 Data = 53 4.4การควบคุมคุณภาพการบรรจุหีบห่อให้สามารถรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าว 2.6การลงทุนและการเข้าถึงแหล่งเงินทุน 2.7การสร้างองค์ความรู้และขีดความสามารถให้เกษตรกร ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ

พื้นที่ปลูกข้าวนาปี จำแนกเป็นรายอำเภอ พ.ศ. 2556/2557 (ไร่) ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดอุทัยธานี

ผลผลิตข้าวเฉลี่ยต่อไร่และพื้นที่ชลประทานจังหวัดอุทัยธานี กก./ไร่ ผลผลิตข้าวเฉลี่ยต่อไร่ของประเทศ 466 กก./ไร่ จากข้อมูลผลผลิตข้าวเฉลี่ยต่อไร่ จำแนกตามพื้นที่ชลประทานจังหวัดอุทัยธานี ในปีเพาะปลูก 2556/2557 พบว่า ทุกอำเภอของพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี มีผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่สูงกว่าผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของประเทศ และเมื่อพิจารณาข้อมูลการวางกลยุทธ์ของจังหวัดอุทัยธานี จะเห็นได้ว่ามีการวางระบบการพัฒนาภาคเกษตรกรรมและภาคผลิตรวมถึงการพัฒนาแหล่งน้ำ อย่างมีแบบแผนและเกิดประสิทธิภาพสูงสุดสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องในทุกพื้นที่ ส่งผลให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของจังหวัดสูงกว่าผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของประเทศในทุกพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ในเขตชลประทานหรือนอกเขตชลประทาน

ผลผลิตข้าวนาปีและความต้องการของตลาด พ.ศ. 2554-2556 ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดอุทัยธานี ,สำนักงานพาณิชย์จังหวัดอุทัยธานี หากพิจารณาผลผลิตข้าวนาปีและความต้องการของตลาดในปี 2554-2556 พบว่า ผลผลิตข้าวที่ผลิตได้ตั้งแต่ ปี 2554-2556 มีปริมาณที่สูงกว่าความต้องการของตลาดทุกปี ดังนั้นทิศทางการพัฒนาเพื่อขับเคลื่อนของจังหวัดควรจะนำส่วนต่างของผลผลิตที่ยังคงมีอยู่มาสร้างมูลค่าเพิ่มโดยให้ความสำคัญกับกลยุทธ์การส่งเสริมระบบการแปรรูปสินค้าทางการเกษตร ทั้งระบบชุมชนและระบบอุตสาหกรรม รวมถึงส่งเสริมเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็ง การตลาดสินค้าเกษตรให้มีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นทิศทางการพัฒนาจังหวัดให้ตอบสนองต่อประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 ของการพัฒนาจังหวัดอุทัยธานี ว่าด้วยการพัฒนากระบวนการผลิตสินค้าทางการเกษตรให้มีคุณภาพและเพิ่มมูลค่าให้กับจังหวัดต่อไป

1. โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร 2 1. โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร 2. โครงการตรวจรับรองสินค้า/ คุณภาพสินค้า 3. โครงการมหกรรมสินค้าวิสาหกิจชุมชน วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย เพื่อส่งเสริมเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็ง การตลาดสินค้าเกษตรให้มีประสิทธิภาพ กิจกรรม จัดอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านต่างๆ ให้กับเกษตรกร ให้ความรู้เกษตรกร ในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าข้าว เช่น สร้าง Brand สินค้าข้าว การออกบรรจุภัณฑ์ (packaging)

4. โครงการส่งเสริมและพัฒนาสำหรับชุมชน วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมระบบการแปรรูปสินค้าทางการเกษตรทั้งระบบชุมชนและระบบอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กิจกรรม จัดอบรมการเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าเกษตร เช่น การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร