อนุพันธ์ของเวคเตอร์ อนุพันธ์ธรรมดาของเวคเตอร์ (Ordinary of Vectors)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Strength of Materials I EGCE201 กำลังวัสดุ 1
Advertisements

บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
8.4 Stoke’s Theorem.
Vector Analysis ระบบ Coordinate วัตถุประสงค์
4.8 Energy Density in The Electrostatic Field
7.3 Example of solution of Poisson’s Equation
FAILURE CRITERIA OF ROCKS
Conic Section.
การวิเคราะห์ความเร่ง
เวกเตอร์และสเกลาร์ขั้นสูง
THREE-DIMENSIONAL GEOMETRIC
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
Chapter 9 Combined Stresses
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
Yv xv zv.
จากข้อมูลอินวอยซ์ของโรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์แห่งหนึ่งที่บันทึกอยู่ในรูปแบบ UNF ต่อไปนี้จงแสดงกระบวนนอร์มัลไลเซชั่นจาก 1NF – 3NF.
Force Vectors (3) WUTTIKRAI CHAIPANHA
สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระเพียงตัวเดียว เรียกว่า สมการเชิงอนุพันธ์ธรรมดา (ordinary differential equation) สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระมากกว่า.
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
การทำ Normalization อ. นุชรัตน์ นุชประยูร.
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi. การระบุมูลค่าความเสี่ยง กรณีการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution) ความเสี่ยงที่ Pr (r
SolidWorks: Assembly Assembly.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II Chapter 1 Vector.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
MATLAB Graphics II 3D plot
คร. อนุรัตน์ วิศิษฏสรอรรถ เนคเทค Micromachined Diamond microtip with nano-size apex r 2 = 5nm SEM pictures of arrays of diamond microtip with nano-size.
Eigenvalue & Eigenvector. 1. Get to know: Eigenvalue & Eigenvector 2. Estimation of Eigenvalue & Eigenvector 3. Theorem.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
สัญญา หลักประกันและ การบริหารสัญญา
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
ภญ. พัสริ วิทยศักดิ์พันธุ์ ภญ. อัญชลี เลาไพศาลวนิชศิริ
Chapter Objectives Concept of moment of a force in two and three dimensions (หลักการสำหรับโมเมนต์ของแรงใน 2 และ 3 มิติ ) Method for finding the moment.
Chapter 11 : Kinematics of Particles
เสถียรภาพของระบบไฟฟ้ากำลัง Power System Stability (Part 1)
การถ่ายภาพ อ.จุฑามาศ ถาวร.
ฟังก์ชันหลายตัวแปรและการหาอนุพันธ์
วิทยาศาสตร์ และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
โปรแกรม AutoCAD Civil 3D และปฏิบัติการกำหนดเมนู
การวิเคราะห์การถดถอย และสหสัมพันธ์อย่างง่าย
ร้อยละของการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ประเภทของภาพในคอมพิวเตอร์
กระบวนการปรับบรรทัดฐาน Normalization Process
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
ประชุมจัดทำงบประมาณรายจ่าย ๒๕๕๕
งานและพลังงาน.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.)
กิจกรรมที่7 บทบาทของโลหะทองแดงในปฏิกิริยา
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์
ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้
สภาพแวดล้อมการทำงานคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ การบรรยายครั้งที่ 23
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
ข้อความสั่งควบคุม.
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
Probability and Statistics for Computing
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
High-Order Systems.
การบวกและลบเอกนาม สิ่งที่นักเรียนควรรู้ เอกนามจะบวกหรือลบกันได้ก็ต่อเมื่อเป็นเอกนามที่คล้ายกัน ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน = ผลบวกของสัมประสิทธิ์ x.
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
หลักของเลอชาเตอลิเอ Henri Le Châtelier ( ), a French chemist, formulated a principle that serves as a useful qualitative guide to equilibrium.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
หลักการนับพื้นฐาน การเรียงสับเปลี่ยนและการจัดหมู่ สัมประสิทธิ์ทวินาม
กฎหมายอาญาภาคความผิด
Determine the moment about point A caused by the 120 kN
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้ อยู่ระหว่างดำเนินการ
กลศาสตร์และการเคลื่อนที่ (1)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อนุพันธ์ของเวคเตอร์ อนุพันธ์ธรรมดาของเวคเตอร์ (Ordinary of Vectors) 1.1 ให้ ขึ้นกับตัวแปร u เพียงตัวเดียว ดังนั้น

Ex.1 a) จงหา และ ถ้า b) จงหา และ ถ้า c) ให้ จงหา และ d) ให้ จงหา

ถ้า เป็นเวคเตอร์ตำแหน่งของวัตถุ P ที่กำลัง เคลื่อนที่ตามเวลา t แล้ว ความเร็ว และ ความเร่งของวัตถุ

Ex.2 วัตถุเคลื่อนที่ตามเส้นโค้ง ที่มีสมการพาราเมตริกซ์ เมื่อ แทนเวลา จงหาความเร็วและความเร่งเมื่อเวลา ใดๆ จงหาองค์ประกอบของความเร็ว และความเร่งที่เวลา

1.2 เส้นโค้งในอวกาศ ถ้า เป็นเวคเตอร์ ตำแหน่งของจุด P(x,y,z) แล้ว เมื่อ u เปลี่ยนค่า จุด P จะ เคลื่อนที่เป็นเส้นโค้งในอวกาศ เวคเตอร์ที่สัมผัสเส้นโค้งนั้น ถ้า S เป็นความยาวเส้นโค้ง เวคเตอร์ 1 หน่วย

Ex.3 1) กำหนดให้ เป็นเวคเตอร์คงที่ จงแสดงว่า ตั้งฉากกับอนุพันธ์ของ เมื่อขนาดของ อนุพันธ์ ไม่เป็นศูนย์ 2) ให้ C เป็นเส้นโค้งของเวคเตอร์ฟังก์ชัน ซึ่ง จงหาสมการเส้นสัมผัสของ เส้นโค้งที่จุด t=1

1.3 ความยาวเส้นโค้งในอวกาศ การหาเวคเตอร์หนึ่งหน่วยที่สัมผัสเส้นโค้งอาจหาจาก (กฎลูกโซ่) หรือ (เวคเตอร์ 1 หน่วย)

ดังนั้น ความยาวเส้นโค้ง

Ex.4 จงหาเวคเตอร์หนึ่งหน่วยที่สัมผัสเส้นโค้ง ที่จุดใดๆ

Ex.5 จงหาความยาวของเส้นโค้ง ระหว่าง และ

1.4 สูตรการหาอนุพันธ์ของเวคเตอร์ “ฟังก์ชัน สเกลลาร์หรือเวคเตอร์) ที่หาอนุพันธ์ได้ จำเป็นต้องต่อเนื่อง แต่บทกลับไม่จริง” ถ้า เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่หาอนุพันธ์ของตัวแปร สเกลลาร์ u และ เป็นสเกลลาร์ แล้ว

อนุพันธ์ย่อยของเวคเตอร์ (Partial Derivative of Vector) 2.1 การหาอนุพันธ์ย่อย ถ้า เป็นเวคเตอร์ขึ้นกับตัวแปรมากกว่า 1 ตัว เช่น มี 3 ตัวแปร คือ x,y,z ได้ อนุพันธ์ย่อยของ เทียบกับ x คือ อนุพันธ์ย่อยของ เทียบกับ y คือ อนุพันธ์ย่อยของ เทียบกับ z คือ

อนุพันธ์ย่อยอันดับสูงๆ เช่น เป็นต้น สูตรในการหาอนุพันธ์ย่อยเช่นเดียวกับ อนุพันธ์ธรรมดา

Ex.6 จงหา ที่จุด (1,2,-1) เมื่อ และ

Ex.7 กำหนดให้ จงหา

2.2 ดิฟเฟอร์เรนเชียลของเวคเตอร์ มีสูตรดังนี้ ถ้า แล้ว 2) 3) 4) ถ้า แล้ว

Ex.8 จงหาเวคเตอร์ 1 หน่วยที่ตั้งฉากกับผิว เมื่อ a > 0

Ex.9 จงหาสมการของระนาบที่สัมผัสผิว ที่จุด (1,-1,2)

เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์ ความยาว นิยาม ความโค้ง (Curvature) ของส่วนโค้ง คืออัตราการเปลี่ยนแปลงของมุม เทียบกับความยาวของส่วนโค้ง

จากรูป ดังนั้น เรียกว่ารัศมีความโค้ง

ความโค้งน้อย รัศมีมาก ความโค้งมาก รัศมีน้อย

เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์ ถ้าโค้ง C แทนด้วยสมการ และ S เป็นความยาวเส้นโค้งที่วัดจากจุดคงที่ เวคเตอร์ 1 หน่วยที่สัมผัสเส้นโค้ง C Curvature ของเส้นโค้ง C ซึ่งมีทิศทาง ตั้งฉากกับโค้งที่จุดนั้นๆ เมื่อ = ความโค้ง (Curvature) ของโค้งที่จุดนั้นๆ

= เวคเตอร์แนวฉากมุขสำคัญ ขนาด 1 หน่วย (Principle Normal) รัศมีความโค้ง (Radius of Curvature) เวคเตอร์คู่แนวฉาก (Binormal) ของเส้นโค้ง

สูตรของ เฟรอเนต์-แซร์เรต์ แสดงความสัมพันธ์ ของ 3 เวคเตอร์ เมื่อ = ความบิด (Torsion) เป็นสเกลลาร์ = รัศมีความบิด (Radius of Torsion)

ระนาบต่างๆ 1. ระนาบสัมผัสประชิด (Osculating Plane) 2. ระนาบแนวฉาก (Normal Plane) 3. ระนาบเรคติไฟ (Rectifying Plane) Osculating Plane Rectifying Plane Normal Plane

Ex. จงวาดรูปเส้นโค้ง และจงหา เวคเตอร์ 1 หน่วยสัมผัสเส้นโค้ง เวคเตอร์แนวฉากมุขสำคัญ , ความโค้ง , รัศมีความโค้ง เวคเตอร์คู่แนวฉาก (Binormal) , ความบิด , รัศมีความบิด

รูป Helix

Ex. ให้เส้นโค้ง จงหา ความโค้ง (Curvature ) ความบิด (Torsion ) เวคเตอร์หนึ่งหน่วยสัมผัสเส้นโค้ง เวคเตอร์แนวฉากมุขสำคัญขนาด 1 หน่วย และเวคเตอร์คู่แนวฉาก เมื่อ t=1 สมการระนาบสัมผัสประชิด (Osculating Plane) ระนาบแนวฉาก (Normal Plane) และระนาบเรคติไฟ (Rectifying Plane) เมื่อ t=1

Ex. จงแสดงว่า

ความเร่ง (Acceleration)

จงหาอัตราเร่งตามแนวสัมผัส และอัตราเร่งตามแนวฉาก ณ เวลาใดๆ Ex การเคลื่อนที่ของวัตถุตามเวลา t ใดๆ กำหนดด้วยสมการ จงหาอัตราเร่งตามแนวสัมผัส และอัตราเร่งตามแนวฉาก ณ เวลาใดๆ

เวคเตอร์

ลองทำดู!!!! 1. ถ้า และ จงหา 2. จงหาเวคเตอร์หนึ่งหน่วยสัมผัสเส้นโค้ง เมื่อ t=1

ลองทำดู!!!! 3. จงหาความยาวของเกลียว ในช่วง ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ตามเส้นโค้ง แล้ว จงแสดงว่าความเร่ง