การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
Advertisements

MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
คลื่นผิวน้ำ.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
การดำเนินการกลุ่มที่ 1 ง การสร้างเกม คอมพิวเตอร์
การดำเนินการกลุ่มที่ 2 ง การสร้างเกม คอมพิวเตอร์
เครื่องมือที่ใช้ในการกำหนดการเคลื่อนไหว
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การใช้ MS PowerPOint 2003 การสร้างงานนำเสนอใหม่
การใช้ MS PowerPoint 2003 การสร้างงานนำเสนอใหม่
การจำลองการสั่นไหวของเขื่อนคอนกรีตโค้งในประเทศไทย
ครูนฤมล ธรรมรักษ์เจริญ
Mechanics of Machinery
RC servo motor Voltage Weight Size Output Torque Operating Speed
การใช้ MS PowerPoint 2003 การสร้างงานนำเสนอใหม่ การเลือกเค้าโครงภาพนิ่ง การออกแบบภาพนิ่ง การออกแบบโครงร่างสี การออกแบบโครงร่างเคลื่อนไหว การออกแบบโครงร่างเคลื่อนไหวแบบ.
การผลิตสื่อออนไลน์ สุรพล บุญลือ. พัฒนาการของสื่อคอมพิวเตอร์ Stand - alone Solfware Client – server network Internet Intranet Wireless.
System Performance.
Engineering Mechanics
การใช้ Ms PowerPoint การสร้างงานนำเสนอใหม่ การสร้างเค้าโครงภาพนิ่ง การออกแบบภาพนิ่ง การออกแบบภาพนิ่งโครงร่างสี การออกแบบภาพนิ่งโครงร่างเคลื่อนไหว การเคลื่อนไหวที่กำหนดเอง.
การใช้ โปรแกรม PowerPoint. เปิดโปรแกรม Power Point คลิกที่ปุ่ม Start > เลือก Programs > Microsoft Office > Microsoft Office Power Point.
การทำรูปเล่มปัญหา พิเศษ ปิติ ตรีสุกล. ขั้นตอนการใช้แบบฟอร์ม ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม : SPC59-Form.dotx เป็นไฟล์สำหรับปัญหาพิเศษ ( ไม่ต้อง ใช้ Quick styles เพราะจะถูกรวมอยู่
การบริหารโครงการ (Project Management) โครงการ คือ งาน (task) ซึ่งมีการ กำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด ที่ แน่นอนและมีความต้องการใช้ทรัพยากร ต่างๆใน แต่ละกิจกรรมโดย.
Page : Stability and Statdy-State Error Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Stability and Steady-State Error.
Overview Task and Concept of Sensor Part TESA TopGun Rally 2010 Quality Inspection for Smart Factory: Bottled Water ดร.ณรงค์เดช กีรติพรานนท์ อ.นุกูล.
อนุพันธ์ (Derivatives)
ฟิสิกส์ (Physics) By Aueanuch Peankhuntod.
อาจารย์ รุจิพรรณ แฝงจันดา
ความร้อนและอุณหภูมิ (Heat and Temperature)
สมดุล Equilibrium นิค วูจิซิค (Nick Vujicic).
Chapter 11 : Kinematics of Particles
เสถียรภาพของระบบไฟฟ้ากำลัง Power System Stability (Part 1)
Chapter Objectives Chapter Outline
สสารและสมบัติของสาร Witchuda Pasom.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
Wave Characteristics.
ความแตกต่างแสงที่ทำให้ได้ภาพที่แตกต่างกัน
3.2 อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Power Flow Calculation by using
EET2503-Wind Energy Technology
การเบิก-จ่ายเงินอย่างมืออาชีพ
โปสเตอรงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
วาระที่ 3.1 กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ
โดย น.อ.ชลธร สุวรรณกิตติ ผอ.กวส.พร. ประชุม นขต.พร. ๑๒ ต.ค.๖๑
งานและพลังงาน.
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.)
ชื่องานวิจัย Rotational dynamics with Tracker
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
แก๊ส (Gas) ปิติ ตรีสุกล โครงการจัดตั้งภาควิชาเคมี
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
งานและพลังงาน (Work and Energy) Krunarong Bungboraphetwittaya.
งาน (Work) คือ การออกแรงกระท าต่อวัตถุ แล้ววัตถุ
การประเมินค่างาน บทที่ 3. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในใยประสาท
การปฐมพยาบาลภาวะฉุกเฉิน
อนุพันธ์ของเวคเตอร์ อนุพันธ์ธรรมดาของเวคเตอร์ (Ordinary of Vectors)
การกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
บทที่ 3 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น
1.ศุภิสรายืนอยู่บนพื้นสนามราบ เขาเสริฟลูกวอลเล่บอลขึ้นไปในอากาศ ลูกวอลเล่ย์ลอยอยู่ในอากาศนาน 4 วินาที โดยไม่คิดแรงต้านของอากาศ ถ้าลูกวอลเล่ย์ไปได้ไกลในระดับ.
โปสเตอรงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational Motion)
การสร้างข้อสอบแบบเลือกตอบ
กลศาสตร์และการเคลื่อนที่ (1)
การยื่นข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ Witchuda Pasom

การเคลื่อนที่ หมายถึง การที่ วัตถุย้ายตำแหน่งจากที่เดิมไปอยู่ที่ตำแหน่งใหม่

โลกหมุนรอบตัวเองอยู่ตลอดเวลา ทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้ไม่มีอะไรหยุดนิ่งอย่างแท้จริง

ประเภทของการเคลื่อนที่ การเคลื่อนที่แบบเส้นตรง การเคลื่อนที่ในแนวเส้นโค้ง การเคลื่อที่แบวงกลม การเคลื่อนที่แบบสั่นหรือการเคลื่อนที่แบบอาร์มอนิกอย่างง่าย

2.1 ตำแหน่ง ระยะทาง การกระจัด ความเร็ว และอัตราเร็ว ตำแหน่ง (position) หมายถึงการบอกใหทราบว่าวัตถุที่เราพิจารณาอยู่ที่ใด

ระยะทาง ( distance;x) เป็นปริมาณสเกลาร์ การกระจัด (displacement) เป็นปริมาณเวกเตอร์

2.2 อัตราเร็ว(speed) และความเร็ว(velocity) มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที ความเร็ว(velocity) คือ ขนาดของการกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วย เวลา เป็นปริมาณเวกเตอร์

2.3 ถ้าพิจารณาในระยะทางใกล้ๆ หรือ ขณะใดขณะหนึ่ง ความเร็ว และอัตราเร็ว ขณะใดขณะหนึ่ง หาได้จาก ความเร็วสามารถหาได้จากอนุพันธ์ของระยะทางเทียบกับเวลา

ตัวอย่างที่ 1 รถเริ่มเคลื่อนที่จากจุด C ห่างจากป้าย 30 เมตร จากนั้นไปวิ่งทางจุด B ที่อยู่ห่างจากป้าย 55 เมตร แล้วถอยหลังกลับไปที่บ้าน A และจุด A ห่างจากป้ายเป็นระยะทาง 40 เมตร ใช้เวลาทั้งหมด 50 s จำกัดความเร็ว A B C จงหา 1.ระยะทางและการกระจัดของการเคลื่อนที่ทั้งหมด 2.ความเร็วเฉลี่ย 3.อัตราเร็วเฉลี่ย

30 m วิธีทำ A B 40 m C 55 m ระยะทาง = (55-30) + 55+ 40 = 120 จำกัดความเร็ว A B C 40 m 55 m ระยะทาง = (55-30) + 55+ 40 = 120 การกระจัด = 30+40 =70 ความเร็ว = 70/50 = 1.4 m/s อัตราเร็ว = 120/50 =2.4 m/s

ตัวอย่างที่ 2 ถ้าระยะทางการเคลื่อนที่หนึ่งของอนุภาคเป็นไปตามสมการ ตัวอย่างที่ 2 ถ้าระยะทางการเคลื่อนที่หนึ่งของอนุภาคเป็นไปตามสมการ จงหา การกระจัดในช่วงเวลา t= 0 1 วินาที และในช่วงเวลา t= 1 3 วินาที ความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา t= 0 1 วินาที และในช่วงเวลา t= 1 3 วินาที ความเร็วที่ วินาที ที่ 2.5

วิธีทำ จากสมการ ก)ช่วงเวลาที่ t= 0 ถึง 1 ช่วงเวลาที่ t= 1 ถึง 3

ข) จากข้อ ก) จะได้ ช่วงเวลาที่ t= 0 ถึง 1 ช่วงเวลาที่ t= 1 ถึง 3

ค) ความเร็วที่ วินาที ที่ 2.5

2.4 ความเร่ง(acceleration)

ความเร่งในช่วงเวลาสั้นๆ ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง ความเร่งสามารถหาได้ จากอนุพันธ์อันดับหนึ่งของความเร็ว หรืออาจกล่าวได้ว่า ความเร่งสามารถ หาได้จากอนุพันธ์อันดับสองของระยะทาง

ความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลาที่ 1 ถึง 3 วินาที ความเร่งที่วินาที ที่ 2 ตัวอย่างที่ 3 ถ้าอนุภาคหนึ่งมีสมการการเคลื่อนที่เป็น จงหา ความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลาที่ 1 ถึง 3 วินาที ความเร่งที่วินาที ที่ 2

ก) วิธีทำ จาก สมการที่กำหนดให้ พิจารณาจาก จะได้

ข ) วิธีทำ จาก จะได้

2.5 การเคลื่อนที่ใน 1 มิติด้วยความเร่งคงตัว พิจารณาจากความชันของกราฟ

สมการการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร็วคงตัว

แบบฝึกหัด ในการลงจอดของเครื่องบินบนเรือบรรทุกเครื่องบินขณะที่ล้อแตะพื้นเครื่องบินมีความเร็ว 140 mi/hr(63m/s) จงหา ความหน่วงของเครื่องบินถ้าเครื่องบินหยุดนิ่งในเวลา 2 วินาที ระยะทางที่เครื่องบินวิ่งบนเรือบรรทุกเครื่องบินก่อนที่จะหยุด

2.6 การตกอย่างเสรี การตกของวัตถุใดๆบนพื้นโลกจะประมาณได้ว่าเป็นการตกอย่างเสรี เมื่อน้ำหนักของวัตถุมีค่ามากกว่าแรงต้านของอากาศมากๆ เช่นการตกของวัตุทั่วไปในอากาศ ยกเว้นการตกของสำลี ขนนก กระดาษ ฯลฯ การตกอย่างเสรีจะความเร่งเท่ากับ เท่ากัน

แบบฝึกหัด ชายคนหนึ่งยืนอยู่ที่ดาดฟ้าของตึกสูง 50 เมตร แล้วโยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่ง ด้วยความเร็วต้น 20 m/s จงหา เวลาที่ลูกบอลเคลื่อนที่ไปได้สูงสุด ระยะสูงที่สุดที่ลูกบอลเคลื่อนที่ไปได้ เวลาที่ลูกบอลตกลงมาอยู่ในตำแหน่งเดิม ความเร็วขระที่ลูกบอลตกมาอยู่ในตำแหน่งเดิม ความเร็วที่วินาทีที่ 5