Logistics : a Key for Thailand’s Food Hub การสัมมนา “Food Challenges Toward AEC” (Bitec Bangna) โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Human Resource Management
Advertisements

วิสัยทัศน์ (Visions) เป้าหมาย (Objective) ภายใน 2-5 ปี Step 1.0
1 Utilization of New Trade Lanes in CLM : Synchronization of Practices and Regulations Dr.Tanit Sorat Vice Chairman of Federation of Thai Industries (F.T.I.)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
เศรษฐกิจ FTA Trade Barrier (NTB) Hub CM. การเมือง วิสัยทัศน์ผู้นำ นโยบายผู้ว่า CEO นโยบาย Food Safety การเมืองมีพรรคใหญ่ 2 พรรค ความโปร่งใส เผด็จการ และ.
วิธีการคัดเลือกผู้รับจัดการขนส่ง ที่มีประสิทธิภาพ
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนครพนม.
สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม 1 โดย ดร.สมนึก คีรีโต ผู้อำนวยการ สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์
Roadmap RUN for Thailand 4.0
การขับเคลื่อน ด้านการตลาดเกษตรอินทรีย์ไทย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา
แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ฉบับทบทวน
เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555
การค้าระบบใหม่ กับการเปลี่ยนแปลงของโลก
New Chapter of Investment Promotion
สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว The Lao People’s Democratic Republic
มาตรฐานบังคับ (Official Standard)
การเตรียมพร้อมทรัพยากรมนุษย์สู่ไทยแลนด์ 4.0
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
เอกสารประกอบการบรรยาย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย อุตสาหกรรม 4
หน่วยงานราชการและภาคเอกชน จังหวัดกาฬสินธุ์ และ
สิทธิประโยชน์การลงทุน ภายใต้เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
การเลี้ยงโคนมในประเทศไทย Dairy Production in Thailand
ASEAN Becomes Single Market
โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานบริษัทในเครือวี-เซิร์ฟ กรุ๊ป
HOW TO IMPLEMENT SUPPLY CHAIN 4
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
“Exports and Overseas Investment” ณ โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทรัล พลาซา
EEC : EASTERN SPECIAL ECONOMIC CORRIDOR อีอีซี : เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก.... กรณีศึกษา : มิติการลงทุนและการจ้างงาน โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
กลุ่มประสิทธิภาพกลุ่มที่ 1 (เขตตรวจราชการที่ 1, 2 และ 4)
กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1
Value Chain and Supply Chain ห่วงโซ่คุณค่า และห่วงโซ่อุปทาน
ทิศทางโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง ในยุคประเทศไทย 4.0
สถิตินิติบุคคลตั้งใหม่ ช่วงเดือน ม.ค – มิ.ย (สนง.ใหญ่)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Information Technology in Agriculture ทพ491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์
AEC ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อนายจ้างและแรงงานไทย
การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ.
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development)
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
๕ พัฒนาการของ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
“สัมมนา 1 (Seminar I)” Part 1 การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทย Part 2 ความรับผิดชอบต่อสังคมกับธุรกิจท่องเที่ยว จัดโดย วิทยาลัยการจัดการ.
ปี 2559 : ผู้ประกอบการพร้อมหรือยัง..... กับการรับมือเศรษฐกิจซึมยาว
อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ
Welcome! ภาคการศึกษา 2 /2546 วิชา การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) ผู้สอน ดร. ลักคณา วรศิลป์ชัย 4/10/2019.
ASEAN - China Free Trade Agreement (ACFTA)
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ภายใต้ความมั่นคงและมั่งคั่ง
การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ CLMV
ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า
(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
รูปแบบการดำเนินธุรกิจสำหรับ อีคอมเมิร์ซ
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
โครงการให้บริการที่ดีที่สุดประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่มีความโดดเด่น
ค่าจ้างต้องสมดุลกับผลิตภาพ : ทางออกแรงงานไทยก้าวผ่านเศรษฐกิจดิจิทัล
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การจัดการกระจายสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
การเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียน
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน College of Logistics and Supply Chain
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
One Belt One Road กับการเตรียมความพร้อมของอุตสาหกรรมในภาคเหนือ.
Traditional SMEs Smart SMEs + Start up High – Skill Labors
คิดใหม่ ทำใหม่ ประสงค์ นรจิตร์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม
บทบาทของโลจิสติกส์ต่อเศรษฐกิจและสังคม
PACK & MOVE TOTAL LOGISTICS SOLUTION
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Logistics : a Key for Thailand’s Food Hub การสัมมนา “Food Challenges Toward AEC” (Bitec Bangna) โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย และประธานบริษัทในเครือ V-SERVE GROUP วันที่ 17 มิถุนายน 2558 www.tanitsorat.com

AEC ศักยภาพอุตสาหกรรมอาหารของไทย มูลค่าอุตสาหกรรมอาหารไทย ปี 2557 ประมาณ 2.3 ล้านล้านบาท เป็นการส่งออกมูลค่า 970,00 ล้านบาท (ขยายตัวร้อยละ 6.2%) นำเข้าประมาณ 400,000 ล้านบาท ที่เหลือเป็นการบริโภคภายในประเทศ การเปิด AEC เป็นโอกาสของอุตสาหกรรมอาหารของไทย เพราะ80% ของวัตถุดิบที่ผลิตอาหารใช้วัตถุดิบที่ผลิตได้ในประเทศ มีอุตสาหกรรมสนับสนุนครบวงจรเป็น Food Cluster ต้นน้ำ-ปลายน้ำ มี Value Chain ครบวงจร ตั้งแต่ต้นน้ำ-กลางน้ำ-ปลายน้ำ ภาคเกษตรของไทยเข้มแข็งและมีอุตสาหกรรมอาหารไทยมีคุณภาพ รวมทั้งมีระบบโลจิสติกส์สนับสนุนในระดับสากล เปิด AEC ไทยเป็นประเทศที่มีความพร้อม ไม่ใช่แค่ระดับ AEC แต่ยังเป็นแหล่งผลิตอาหารลำดับที่ 6 ของโลก มีโครงสร้างพื้นฐานในระดับแข่งขันได้ดีและได้เปรียบด้านภูมิศาสตร์ที่เป็นศูนย์กลางในภูมิภาค www.tanitsorat.com

Market Size Appropriate ตลาดภายในของไทยมีขนาดเหมาะสมต่อการเป็นอุตสาหกรรมอาหารของภูมิภาค ขนาดตลาดภายในของไทยอยู่ลำดับ 3 ของอาเซียน มีกำลังแรงงาน 37.61 ล้านคน การว่างงานน้อยกว่า 1.0% กำลังซื้ออยู่ในระดับปานกลาง สิงคโปร์ บรูไนและมาเลเซีย ถือว่าเป็นกลุ่มประเทศที่มีกำลังซื้อแต่ขนาดตลาดเล็กทำให้มีมูลค่าต่ำกว่าไทย อัตราการขยายตัวของบริโภคไม่สูงนัก สินค้าที่จะเติบโตในตลาดเหล่านี้ต้องเป็นสินค้าใหม่ เวียดนาม อินโดนีเซีย มีตลาดขนาดใหญ่เทียบเท่ากับไทย แต่กำลังซื้อต่ำกว่าและคุณภาพด้อยกว่าไทย แต่ในอนาคตจะเป็นตลาดที่มีศักยภาพ ลาวและกัมพูชาประชากรน้อยและกำลังซื้อต่ำ ขาดอุตสาหกรรมสนับสนุน มีปัญหาด้านคุณภาพและด้านโครงสร้างพื้นฐาน เมียนมาร์ มีประชากรใกล้เคียงกับไทยแต่กำลังซื้อต่ำมาก ภาคเกษตรอยู่ในระดับเลี้ยงตนเอง ไม่มีอุตสาหกรรมรองรับและโครงสร้างพื้นฐานต้องใช้เวลาอีกระยะหนึ่ง www.tanitsorat.com

Skill Labour & Supporting Industries ไทยมีแรงงานคุณภาพและ อุตสาหกรรมสนับสนุนครบวงจร ทักษะฝีมือแรงงานไทยมีคุณภาพกว่าประเทศในอาเซียน แต่มีการขาดแคลนแรงงานในระดับสูงและค่าจ้างสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน ไทยมีอุตสาหกรรมสนับสนุนที่ดีกว่าทุกประเทศใน ASEAN โดยอุตสาหกรรมอาหารของไทยค่อนข้างมีความหลากหลาย ไทยเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมอาหารของอาเซียน เนื่องจากความเข้มแข็งในด้านปัจจัยการผลิต อาทิ วัตถุดิบมีคุณภาพและมีความหลากหลาย ประเทศ CLMV ขาดอุตสาหกรรมสนับสนุนที่เพียงพอ ขาดความต่อเนื่องของสายโซ่อุปทาน ต้องนำเข้าปัจจัยการผลิตอื่นๆ จากต่างประเทศเช่น วัตถุดิบ บรรจุภัณฑ์ www.tanitsorat.com

High Quality & Standardize สินค้าไทยมีคุณภาพและมาตรฐานสูง แข่งขันได้ในระดับนานาชาติ ความเชื่อมั่นด้านคุณภาพของสินค้าอาหารไทยในสายตาผู้บริโภคอยู่ในเกณฑ์ดีเมื่อเทียบกับประเทศ CLMV เพราะสินค้าส่วนหนึ่งผลิตเพื่อการส่งออก ผู้ผลิตจาเป็นต้องยกระดับการผลิตเข้าสู่มาตรฐานระหว่างประเทศ อุตสาหกรรมส่วนหนึ่งของไทยเป็นการลงทุนจากต่างประเทศจึงได้รับการถ่ายทอด เทคโนโลยีการผลิตให้มีมาตรฐาน แต่สินค้าที่ผลิตส่วนใหญ่ยังผลิตตามคาสั่งซื้อ (OEM) อุตสาหกรรมฮาลาลเป็นจุดอ่อนของไทย เมื่อเทียบกับอินโดนีเซียและมาเลเซียซึ่งประชากรอาเซียนเกินกว่าครึ่งเป็นมุสลิม www.tanitsorat.com

สินค้าส่งออกไทยไปอาเซียน ปี 2557 10 อันดับ ลำดับ รายการ มูลค่า (ล้านบาท) อัตราขยายตัว สัดส่วน 1 น้ำตาลทราย 39,279.0 -5.44 2.06 2 เครื่องดื่ม 37,197.2 21.22 1.95 3 ข้าว 21,892.4 114.77 1.15 4 ผลิตข้าวสาลีและอาหารสำเร็จรูปอื่นๆ 14,017.9 7.54 0.73 5 ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง 13,316.6 14.48 0.70 6 ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็งและแห้ง 12,767.4 63.77 0.67 7 ไขมันและน้ำมันจากพืชและสัตว์ 7,664.70 -18.02 0.40 8 ข้าวโพด 6,248.2 14.31 0.33 9 สิ่งปรุงรสอาหาร 5,900.4 11.37 0.31 10 นมและผลิตภัณฑ์นม 5,288.4 1.42 0.28 รวม 10 อันดับ 163,590.2 รวมทั้งหมด 198,195.1 www.tanitsorat.com

FARMs TO TABLEs LOGISTICs AEC : Logistics Food HUB FARMs CONNECT CONSUMERs โลจิสติกส์ในฟาร์มต้องเชื่อมโยงกับผู้บริโภค อาหารส่วนใหญ่มาจากภาคเกษตรกรรม-ปศุสัตว์-ประมง ต้องผ่านการขนส่งทางไกลสู่อุตสาหกรรมแปรรูป-ค้าส่ง-ค้าปลีก-ร้านค้าใกล้บ้าน-จนถึงผู้บริโภค ทั้งหมดต้องอาศัยระบบโลจิสติกส์ที่เป็นเลิศ JIT in Perishable Food การส่งมอบตรงเวลาสำหรับลูกค้าอาหารเน่าเสียง่าย เกี่ยวข้องกับประเภทของบรรจุภัณฑ์ คลังสินค้าและประเภทพาหนะขนส่งทั้งทางใกล้และไกล ซึ่งมีผลต่อคุณภาพหรือความเสียหายของตัวสินค้า การขนส่งวัตถุดิบทางไกล (Land Distance Logistics) จะต้องให้ความสำคัญต่อกระบวนการในการส่งมอบ ยิ่งการขนส่งระยะทางห่างไกลเท่าไหร่ก็จะมีผลต่อคุณภาพของวัตถุดิบ-สินค้า www.tanitsorat.com

Quality Preserve for Logistics Across Border Key Success for Food HUB Mode of Transport Choice การเลือกประเภทการขนส่งที่เหมาะสมกับสินค้าและภูมิศาสตร์ ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขข้อตกลง เช่น ขนส่งทาง Air-Sea-Train-Road และลักษณะของพาหนะ เช่น Refrigerator-Chill Storage Packaging Design การออกแบบแพคเกจจิ้งสำหรับสินค้าประเภทอาหาร ทั้งฉลาก กล่อง ภาชนะหรือตู้คอนเทนเนอร์ประเภท (Refrigerator) ต้องออกแบบทั้งเพื่อภาพลักษณ์ของสินค้า (Image) และเพื่อการถนอมคุณภาพรวมทั้งออกแบบมา เพื่อไม่ให้สินค้าเสียหายในระหว่างการส่งมอบ Cross Border Transport โลจิสติกส์ขนส่งข้ามแดนทางถนน การค้าในภูมิภาคจะปรับเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งทางถนน จำเป็นต้องเข้าใจกฎ-ระเบียบ-โครงสร้างพื้นฐาน-ผู้ให้บริการ เพราะมีผลต่อการส่งมอบ 5 R.Derivery www.tanitsorat.com

AEC Food Logistics Silk Road เส้นทางขนส่งถนนหลักสู่ประเทศเพื่อนบ้าน (1) แนวโน้มการค้ากับประเทศเพื่อนบ้านจะมีปริมาณและมูลค่า 1 ใน 5 ของการส่งออก โดยเฉพาะการเคลื่อนย้ายการลงทุนจะมีแนวโน้มสูงขึ้น ส่งผลให้ “Cross Border Logistics” จะมีบทบาทสูงขึ้น East-West Economic Corridor Route เส้นทางระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก เส้นทางขนส่งทางถนนข้ามแดนฝั่งตะวันออกประเทศ สปป.ลาวผ่านสะพานข้ามแม่น้ำโขง 3 แห่ง (หนองคาย/นครพนม/มุกดาหาร) และในอนาคตสะพานข้ามแม่น้ำโขง จ.บึงกาฬ เชื่อมโยงประเทศลาว-เวียดนาม เส้นทางขนส่งทางถนนข้ามแดนฝั่งตะวันตกเชื่อมโยงประเทศเมียนมาร์ (แม่สอด-ย่างกุ้ง) www.tanitsorat.com

AEC Food Logistics Silk Road เส้นทางขนส่งถนนหลักสู่ประเทศเพื่อนบ้าน (2) North-South Economic Corridor Route เส้นทางระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้เชื่อมโยงเส้นทางขนส่งข้ามแดน เส้นเหนือเชื่อมประเทศจีน (R3) และเส้นทางใต้เชื่อมโยงมาเลเซีย, ปีนัง, สิงคโปร์ South Economic Corridor Route เส้นทางระเบียงเศรษฐกิจใต้เชื่อมโยงท่าเรือทวาย-บ้านพุน้ำร้อน และเส้นทางอรัญประเทศ-พนมเปญ (R6) www.tanitsorat.com

Impact of AEC to Thai’s Logistics Provider (1) AEC การเปลี่ยนแปลงภายใต้บริบทใหม่ทางธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ Changing Content in LSP ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ของไทยต้องเร่งเปลี่ยนแปลง เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทใหม่ของบริบท AEC Scope of Service การให้บริการทางไกล เกี่ยวข้องกับขีดความสามารถทั้งด้านศักยภาพของการให้บริการ D2D Network Facilitate การสร้างเครือข่ายทั้งในระดับภูมิภาคและประเทศเป้าหมาย ต้องมีการพัฒนาเครือข่ายเชื่อมต่อในเรื่องของขนส่ง เพื่อสามารถรับช่วงการให้บริการในการขนส่งและกระจายสินค้าในรูปแบบที่เรียกว่า “Door to Door” www.tanitsorat.com

Impact of AEC to Thai’s Logistics Provider (2) AEC การเปลี่ยนแปลงภายใต้บริบทใหม่ทางธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ Logistics Food Cluster การเป็นคลัสเตอร์ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม ในระดับที่เป็นโซ่อุปทาน ทั้งแต่ละคลัสเตอร์อุตสาหกรรมและครอบคลุมไปถึง Value Chain Integrated Logistics Service ดำเนินธุรกิจให้บริการครบวงจร World Class Services การให้บริการในระดับสากลและความเป็นมืออาชีพ ขาดทั้งการจัดการด้านเทคโนโลยี นวัตกรรม เงินทุน www.tanitsorat.com

การพัฒนาขีดความสามารถแข่งขันโลจิสติกส์ ในอุตสาหกรรมอาหารของไทย การสนับสนุนโซ่อุปทานโลจิสติกส์เข้าเป็นส่วนหนึ่งของคลัสเตอร์อาหาร โลจิสติกส์สินค้าเกษตรขาดการพัฒนา ซึ่งโลจิสติกส์ของไทยเน้นด้านอุตสาหกรรมและค้าส่ง-ปลีก แต่ในภาคเกษตรยังขาดการพัฒนาอย่างจริงจัง ส่งผลต่อคุณภาพผลผลิตและต้นทุน ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ SMEsยังขาดประสิทธิภาพการให้บริการ ส่งผลต่อประสิทธิภาพของอุตสาหกรรมอาหารในจังหวัดห่างไกลและต่อสินค้าเกษตร GMP Logistics มาตรฐานความปลอดภัยสำหรับการขนส่งสินค้าอาหาร ซึ่งผู้ประกอบการจะต้องมีระบบตรวจสอบและการเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ทราบถึงสถานะการขนส่ง การรักษาอุณหภูมิ และความสะอาดของพาหนะการขนส่ง Logistics Halal อาเซียนเกือบ 2 ใน 3 เป็นมุสลิม เกี่ยวข้องกับการขนส่ง การเก็บรักษา บรรจุภัณฑ์ การส่งมอบให้เป็นไปตามเงื่อนไขของวิถีมุสลิม www.tanitsorat.com

“Challenges Toward For Food AEC Logistics HUB” (1) Quality – Safety – Healthy ปัจจุบันผู้บริโภคให้ความสนใจด้านสุขภาพและการปนเปื้อน เรื่องความสะอาดปลอดภัย ความเชื่อทางศาสนา-ด้านสิ่งแวดล้อมและมาตรการ NTMs ต่างๆ More Complicated โลจิสติกส์ในอุตสาหกรรมอาหารมีความซับซ้อนมากกว่าสินค้าอุตสาหกรรมอื่นๆ เกี่ยวข้องกับการบริโภคของคน รวมทั้งโซ่อุปทานทั้งภาคเกษตร-ประมง-อุตสาหกรรมค้าส่ง-ค้าปลีก-ผู้ให้บริการ-ผู้บริโภค JIT & Quality การส่งมอบที่ตรงเวลา ในอุตสาหกรรมอาหาร มีความรับผิดชอบต่อคุณภาพ-ผลิตผล (YIELD) และราคา Traceability & NTMs มาตรการสืบค้นข้อมูลย้อนกลับ ทั้งด้านแหล่งเพาะปลูก-การผลิต-โลจิสติกส์ตลอดโซ่อุปทาน เกี่ยวข้องกับมาตรการที่ไม่ใช่ภาษีและด้านค้ามนุษย์และสิ่งแวดล้อม www.tanitsorat.com

“Challenges Toward For Food AEC Logistics HUB” (2) Corporate in Supply Chain การร่วมมือกับลูกค้าและผู้ให้บริการในโซ่อุปทาน เพื่อให้การจัดส่งสินค้า เพื่อสามารถตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้าให้ได้มากที่สุด Food Cluster Efficient ผู้ประกอบการต้องปรับตัวและพัฒนาประสิทธิภาพของโซ่อุปทานทั้งระบบ โดยเฉพาะการปรับตัวของผู้ประกอบการ SME เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน Logistics Service Competitiveness การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ให้บริการโลจิสติกส์โดยเฉพาะเอสเอ็มอี Infrastructure & Trade Facilitation โครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบ้าน และการอำนวยความสะดวกในการค้า ทั้งด้านกฎ-ระเบียบที่เกี่ยวกับ CIQ และขนส่งข้ามแดน รวมทั้งด้านอำนวยความสะดวกทางการค้า ด้านสิ่งแวดล้อม-ด้านความสอดคล้องกฎระเบียบ-NTMs ของประเทศในอาเซียน www.tanitsorat.com

FARMs TO TABLEs VALUE CHAIN KEY ACHIEVEMENT --END-- www.tanitsorat.com