Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
Advertisements

1. ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยี 2. วิวัฒนาการของเทคโนโลยี 3. ระดับและการจัดกลุ่มของเทคโนโลยี 4. ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับสาขาวิชาอื่น.
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
การออกแบบ Design.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
MULT2402 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
เทคโนโลยีสื่อประสม Multimedia Technology
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
ระบบสื่อประสม วิวัฒนาการและองค์ประกอบ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (C.A.I.)
ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 12 : การประพันธ์สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
Integrated Information Technology
Visual Communication for Advertising Week2-4
Learning Communications
(Instructional Media)
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
บทที่ 9 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ในการสร้างโลกเสมือนเพื่อการเรียนรู้ “Opensimulator” อาจารย์เทพยพงษ์ เศษคึมบง สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา.
แผ่นดินไหว.
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
รายวิชา การบริหารการศึกษา
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
เรื่องหลักการออกแบบกราฟิก
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
หลักสูตรและหลักการสอน ( Curriculum and Instruction )
ประเภทรายการและรูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR สื่อประสม Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR

หัวใจของการผลิตระบบสื่อประสมคือเทคโนโลยีการแปลงข้อมูลอนาล็อกให้เป็นข้อมูลแบบดิจิตอล เช่น ภาพ เสียง กระบวนการปรับแต่ง สร้างสรรค์รูปแบบใหม่ ๆ ของผลงานได้แก่ ตัวอักษร ภาพถ่าย เสียง ภาพเคลื่อนไหว

การพัฒนารูปแบบของสื่อประสม ซึ่งเป็นการบรรจุข้อมูลไว้เป็นจำนวนมาก ให้สามารถโยงความเกี่ยวเนื่องกันอย่างมีความหมายของข้อมูล เราเรียกว่า สื่อหลายมิติ (Hypermedia)

การนำระบบสื่อประสมมาใช้ได้เริ่มเมื่อต้นทศวรรษที่ 80 โดยการนำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลไปต่อพ่วงกับเครื่องฉายสไลด์ (computer interactive slide projector)

จนกระทั่งทศวรรษที่ 90 ระบบสื่อประสมได้กลายมาเป็นมาตรฐานตัวหนึ่งของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเช่นการพัฒนาระบบ DVD Video Imageเป็นการพัฒนาซอฟต์แวร์สื่อประสมที่ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การพัฒนาเทคโนโลยีประมวลผลและระบบเครือข่ายหรือที่เรียกว่า( Real time animation) ในระบบอินเตอร์เน็ต เป็นการที่ได้พัฒนาสื่อประสมการแสดงผลทางกราฟิกสามมิติและการพัฒนาการส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง

ระบบความจริงเสมือน คือ การใช้เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์สร้างสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ที่ทำให้ผู้ใช้เกิดความรู้สึกเหมือนเข้าไปอยู่ในที่ว่างสามมิติที่มองเห็น หรือรับรู้สภาวะใหม่จากตำแหน่งต่าง ๆเป็นการตอบสนองพฤติกรรมการสื่อสารและรับรู้ของมนุษย์

โครงสร้างข้อมูลเครือข่าย Network data Structure

คือ ข้อมูลในสารบบรองสามารถขึ้นกับสารระบบหลักได้มากกว่าหนึ่งตัว ลักษณะเช่นนี้จึงทำให้เกิดเป็นโครงสร้างข้อมูลเครือข่าย และมีการต่อเชื่อกันของข้อมูลได้หลายช่องทาง

ความต่อเนื่อง เป็นการวัดขนาดมิติ ช่องว่าง เวลา และสิ่งแวดล้อมลักษณะงานสื่อประสมจะเป็นการแสดงความต่อเนื่องที่กลมกลืนและสอดคล้องวัตถุประสงค์ที่วางไว้อย่างไม่คลาดเคลื่อน

ความไม่ต่อเนื่อง เป็นลักษณะของข้อมูลที่เป็นเอกลักษณ์ของตัวเองได้แก่ ตัวอักษร ภาพ สัญลักษณ์ในการสร้างสื่อต้องอาศัย ข้อมูลเอกลักษณ์เพื่อการแสดงที่สมจริง

การสูญข้อมูล คือ การสูญเสียข้อมูลที่ไม่อาจนำมาเข้ากับเกณฑ์วัดได้หรือไม่ตรงกับมาตรวัด

1. การสูญข้อมูลเชิงกาลเวลา คือ เป็นการสูญเสียข้อมูลและข่าวสารที่เกิดขึ้นในขณะดำเนินการอยู่ เช่นการบันทึกภาพ เสียง สี ภาพเคลื่อนไหว 2. การสูญเสียข้อมูลเชิงมิติ คือ การสูญเสียข้อมูลบางส่วนที่ถูกตัดหายออกไปขาดควาามต่อเนื่องข้อมูล

แบ่งประเภทสื่อตามลักษณะเฉพาะ 1. เครื่องมือและอุปกรณ์ 2.โปรแกรม 3.สื่อประสม

แบ่งสื่อตามการใช้งาน 1. Presentation Media 2.Object Media 3.Interactive Media

1.Presentation Media แบ่งเป็น 7 กลุ่ม กลุ่ม 1 คือ การนำเสนอสื่อการเรียนการสอนที่ผู้เรียนสามารถมองเห็นได้ ในลักษณะภาพนิ่ง เช่น ภาพ สิ่งพิมพ์ ข้อความ

1.Presentation Media แบ่งเป็น 7 กลุ่ม กลุ่ม 2 คือ การนำเสนอสื่อการเรียนการสอนที่ผู้เรียนสามารถมองเห็นได้ ในลักษณะภาพนิ่งที่ไม่มีเสียงประกอบ เช่นภาพสไลด์ ภาพทึบแสง

1.Presentation Media แบ่งเป็น 7 กลุ่ม กลุ่ม 3 คือ การนำเสนอสื่อการเรียนการสอนที่ผู้เรียนสามารถได้ยินเสียง เช่น เพลง การบรรยาย

1.Presentation Media แบ่งเป็น 7 กลุ่ม กลุ่ม 4 คือ การนำเสนอสื่อการเรียนการสอนในลักษณะภาพนิ่งและเสียง เช่น ภาพประกอบเสียงเพลง ข้อความกับเพลงซึ่งแสดงพร้อมกัน

1.Presentation Media แบ่งเป็น 7 กลุ่ม กลุ่ม 5 คือ การนำเสนอสื่อการเรียนการสอนแบบภาพยนต์ที่มีความต่อเนื่องจนจบบทเรียน

1.Presentation Media แบ่งเป็น 7 กลุ่ม กลุ่ม 6 คือ โทรทัศน์ เป็นการนำเสนอคล้ายกลุ่ม 5

1.Presentation Media แบ่งเป็น 7 กลุ่ม กลุ่ม 7 คือ สื่อการเรียนการสอนแบบผสม เป็นการถ่ายทอดความรู้ที่ต่อเนื่องและมีกระบวนการ

2. Object Media สื่อการเรียนการสอนประเภทนี้ใช้เพื่อแสดงรูปร่าง ขนาด น้ำหนัก สี พื้นผิว แบ่งเป็น 2 กลุ่ม 1. วัตถุทางธรรมชาติ เช่น ภาพคน สัตว์ สิ่งของ 2. วัตถุที่ได้จากการสร้างขึ้น

3. Interactive Media เป็นสื่อการเรียนการสอนที่มีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้เรียนกับบทเรียน เช่น บทเรียนโปรแกรม บทเรียนโมดูล