การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ (จำนวนเมืองสมุนไพร)
ตัวชี้วัด : จำนวนเมืองสมุนไพรอย่างน้อยเขตสุขภาพละ 1 จังหวัด ผลการดำเนินงาน : ภาพรวมเขตสุขภาพที่ 6 ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด ปราจีนบุรี (นำร่อง) จันทบุรี (ส่วนขยาย) เป้าหมาย 13 จังหวัดทั่วประเทศ Small Success มีกลุ่มแกนนำสมุนไพร มีฐานข้อมูลผู้ปลูก/ผู้จำหน่าย/พื้นที่ปลูก/พื้นที่แปรรูป มีข้อมูลความต้องการวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์สมุนไพร มีการจัด Zoning พื้นที่ปลูก มีการจัดอบรมแผนธุรกิจ มีแผนการจัดตั้ง Shop/Outlet เขตสุขภาพที่ 6 มีความพร้อมที่จะขยายพื้นที่เมืองสมุนไพรในจังหวัดอื่นๆ ตามแผนนโยบายโครงการระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก (EEC: Eastern Economic Corridor)
Herbal City Key Risk Area/ Key Risk Factor การผลิตและสนับสนุนยาสมุนไพรไม่เพียงพอต่อความต้องการของหน่วยบริการ เนื่องจากวัตถุดิบไม่เพียงพอ การจัดตั้ง Shop/Outlet ควรมีระเบียบหรือแนวทางดำเนินการเพื่อการปฏิบัติให้ถูกต้อง ขาดการสนับสนุนด้านนโยบายและงบประมาณอย่างทั่วถึง ขาดการบูรณาการการดำเนินงานร่วมกันอย่างจริงจังในเขตสุขภาพ ข้อเสนอแนะต่อนโยบาย ส่วนกลาง/ต่อผู้บริหาร ระเบียบกฎหมาย ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกสมุนไพรเพิ่มขึ้น ควรมีการจัดสรร ผลักดันงบประมาณและระเบียบในการดำเนินงานโครงการเมืองสมุนไพรให้มีความชัดเจน และครอบคลุมทุกจังหวัด
นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง Re branding ผลิตภัณฑ์หมอพื้นบ้าน เพื่อส่งเสริมรายได้ให้กับหมอพื้นบ้านและนำเข้าสู่ OTOP การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรที่หลากหลาย เช่นผลิตภัณฑ์สมุนไพรในรูปแบบ ยาอม ยาชง สเปรย์ และเครื่องสำอางค์