สถานการณ์ นโยบาย และการดำเนินงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Conclusion HIV /AIDS surveillance seminar on Mar 2012
Advertisements

ทำไมต้องเร่งรัดการควบคุมวัณโรคต่อไป (2553)
other chronic diseases
NAP Annual report NHSO HIV/AIDS Management Fund 2008.
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปี 2552 ชื่อ ……… นามสกุล ……… สถานบริการ ………………
Elimination of Mother-to-Child HIV Transmission: Knowledge to Practice
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ ขนาด 1,200 เตียง จังหวัด อุบลราชธานี
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
ระบบการรายงานข้อมูลการ ดำเนินงานตามตัวชี้วัด TB/HIV ในส่วนของคลินิกเอชไอวี สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
มาตรฐานงานที่ให้ความเชื่อมั่น รหัส 3000 งานให้ความเชื่อมั่น นอกเหนือจากการ ตรวจสอบ หรือการสอบทานข้อมูลทางการเงินในอดีต.
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีและ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (การพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 5 ระบบ) สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
Report การแข่งขัน.
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
โครงการพัฒนารูปแบบการจัดบริการเชิงรุกเพื่อค้นหาโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในเรือนจำ นพ.สุเมธ องค์วรรณดี ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โครงการ PrEP PACKAGE ปี 2561
การยุติปัญหาเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
น.พ.เฉวตสรร นามวาท ผู้อำนวยการสำนักวัณโรค
สถานการณ์วัณโรคในพื้นที่เขตบริการสุขภาพที่ 4
พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ
นายแพทย์พสุวัฒน์ คงศีล คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบบริการ RRTTR
TBCM Online.
ปีงบประมาณ 2556 งบการดูแลผู้ป่วยรายโรค การเข้าถึงยา
การดำเนินงานมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
HON’s activities Care and Support Program
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
สุขสันต์วันครบรอบคริสตจักร 19 ปี คริสตจักรเรมากรุงเทพฯ
กองทุนประกันสังคม พ.จ.อ.พิชิต ศรีทองหนา จนท.สิทธิประกันสังคม
แผนปฏิบัติการ เร่งรัดการยุติปัญหาเอดส์ ประเทศไทย พ.ศ
สถิตินิติบุคคลตั้งใหม่ ช่วงเดือน ม.ค – มิ.ย (สนง.ใหญ่)
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
AIDs/ STI/ TB/ Leprosy/ Hepatitis
การผลักดันเชิงนโยบายในการสนับสนุน และส่งเสริมการบริหารจัดการถุงยางอนามัย ระดับประเทศ โดย แพทย์หญิงมณฑินี วสันติอุปโภคากร นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ สำนักโรคเอดส์
TB HIV ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขยายผลแนวทาง การให้บริการ IPT
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
เป้าหมาย มาตรการ และชุดกิจกรรม แผนงานควบคุมวัณโรค สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค 4/4/2019
ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐฯ (TUC) มูลนิธิพนักงานบริการ (SWING)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
มุ่งสู่ความเป็นศูนย์: การเลือกปฏิบัติด้านเอดส์ 10 กันยายน 2557
กลุ่มควบคุมโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ
นโยบายการดำเนินงาน PrEP กับการยุติปัญหาเอดส์
ก้าวทันโรค - - ก้าวต่อไปในการดำเนินโครงการ
สรุปประเมินผลการดำเนินงาน สาธารณสุขจังหวัดสระบุรี รอบ 10 เดือน (ต. ค
ความเป็นมาของโครงการ และแนวคิดของรูปแบบการจัดบริการปรึกษาและตรวจเอชไอวีโดยเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง (community-centered service model) พญ.นิตยา ภานุภาค พึ่งพาพงศ์
การจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและโจทย์วิจัย Cluster SALTH
สถานการณ์วัณโรค นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
การจัดการเชิงรุกรายบุคคล
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
อุทธรณ์,ฎีกา.
สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 23 เมษายน 2557
Real Time Cohort Monitoring RTCM
Evaluation and Development of Information System for Risk groups for Diabetes in Health Region 4 การประเมินและพัฒนาระบบข้อมูลกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานในพื้นที่เขตสุขภาพที่
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
แนวโน้มกรุงเทพเมืองใหม่จากแลนด์มาร์คใหม่
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557
ตัวชี้วัดด้านวัณโรค รอบ NFM หน่วยงาน สสจ.ชียงใหม่
การประเมินราคา (Cost estimation).
PROVINCE AJ.2 : Satit UP.
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การจัดบริการ PrEP พญ. นิตยา ภานุภาค ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
โปรแกรม Thai cancer based Version 6.0
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์ นโยบาย และการดำเนินงาน การยุติปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แพทย์หญิงศิริลักษณ์ ไทยเจริญ ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช โครงการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพการบริการป้องกัน การดูแลรักษาเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

คาดประมาณสถานการณ์เอชไอวี/เอดส์ประเทศไทย ปี 2560 ผลการคาดประมาณ ประเทศไทย เขตสุขภาพที่ 11 ผู้อยู่ร่วมกับเชื้อฯ ที่มีชีวิตอยู่ (PLHIV) 440,000 คน 27,545 ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ (HIV New Infections) 5,500 คน 190 ผู้เสียชีวิตจากเอดส์ (AIDS Related Death) 14,700 คน 1,063

แนวโน้มการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำแนกตามประชากรกลุ่มเสี่ยง ,ประเทศไทย Source: AIDS Epidemic Models by Jan. 2018, Estimation & Projection Working Group

แนวโน้มการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำแนกตามช่องทางการติดเชื้อฯ , ประเทศไทย Source: AIDS Epidemic Models by Jan. 2018, Estimation & Projection Working Group

สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวี ในเขตสุขภาพที่ 11 จำนวน (ราย) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ที่มีชีวิต เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ 2560 ที่มา : NAP Web Report ทุกสิทธิ์การรักษา ณ 7 ตุลาคม 2560

สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวี ในเขตสุขภาพที่ 11 (ต่อ) จำนวนผู้ที่ได้รับการตรวจเลือด และผลเอชไอวี Positive ในเขตสุขภาพที่ 11 จำนวนผู้ที่ได้รับการตรวจเลือดและผลเอชไอวี Positive ในเขตสุขภาพที่ 11 จำแนกรายอายุ จำนวน (ราย) ปีงบ 2560 ระดับประเทศ = 30,366 ราย จำนวน (ราย) อายุ ที่มา : NAP Web Report ทุกสิทธิ์การรักษา ณ 7 ตุลาคม 2560

VL <1,000 (CASE) 77%, 84%, 91%, 98% 68%, 70%, 71%, 70% 81%, 82%, 83%, 83%

Treatment Cascade By Region 90 2560 104%,79%,86% Region1 87%,74%,87% Region 7 101%,73%,85% Region 2 94%,78%,81% Region 10 106%,77%,87% Region 3 98%,75%,78% Region 4 103%,67%,82% Region 5 108%,69%,84% Region 9 112%,77%,84% Bangkok 86%,56%,76% Region 6 114%,65%,83% Region 11 101%,77%,83% Country 98 70 83 Region 12 86%,79%,82%

90-90-90 treatment target: Region 11 treatment cascade 2014-2017 (PLHIV registered under government insurances) (CASE) Country 98 70 83 79%, 86%, 94%, 101% 73%, 75%, 77%, 77% 83%, 84%, 84%, 83%

สถานการณ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เขตสุขภาพที่ 11 อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในเขตสุขภาพที่ 11 เปรียบเทียบกับระดับภาคใต้และระดับประเทศ ปี 2551 – 2560 อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์จำแนกตามกลุ่มอายุ ในเขตสุขภาพที่ 11 ปี2556 – 2560 เมื่อพิจารณาอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2555- 2560 จำแนกรายโรค พบว่า โรคหนองใน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากอัตราป่วย 11.7 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2555 เป็น 15.8 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2560 โรคซิฟิลิส มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากอัตราป่วย 3.0 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2555 เป็น 7.7 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2560.4 โรคแผลริมอ่อน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากอัตราป่วย 0.9 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2555 เป็น 1.6 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2560 โรคหนองในเทียม มีแนวโน้มลดลง จากอัตราป่วย3.4ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2555 เป็น 3.2 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2560 โรคกามโรคของต่อมและท่อน้ำเหลือง มีแนวโน้มลดลง จากอัตราป่วย 1.1 ต่อประชากรแสนคนในปีงบประมาณ 2555 เป็น 0.5 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2560 ที่มา: รายงาน 506 สคร.11 นครศรีธรรมราช ณ มกราคม 2561

สถานการณ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เขตสุขภาพที่ 11 เป้าหมาย ปี 2564 *Syphilis ไม่เกิน 3.5 ต่อแสนประชากร *GC ไม่เกิน 8.0 ต่อแสนประชากร 10.46 8.70 ที่มา: รายงาน 506 สคร.11 นครศรีธรรมราช ณ มกราคม 2561

เป้าประสงค์และเป้าหมายหลัก ของการยุติปัญหาเอดส์ 2573 2563 เป้าหมาย 2568 2573 ลดการติดเอชไอวีรายใหม่ < 2,000 ราย < 1,200 ราย < 1,000 ราย ลดการเสียชีวิตจากเอดส์ < 12,000 ราย < 8,000 ราย < 4,000 ราย ลดการรังเกียจ การเลือกปฏิบัติ ที่เกี่ยวกับเอดส์และเพศภาวะ ลดลง 50% ลดลง 75% ลดลง 90%

ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการยุติปัญหาเอดส์ 3 เป้าประสงค์ 6 ยุทธศาสตร์ 17 ผลลัพธ์ ลดการติดเชื้อเอชไอวีใหม่ < 1,000 คน/ปี ลดการเสียชีวิตจากเอดส์ < 4,000 คน/ปี ลดการเลือกปฎิบัติจาก เอดส์ร้อยละ90 1. มุ่งเน้นและเร่งรัดจัดชุดบริการที่มีประสิทธิผลสูงให้ครอบคลุมพื้นที่และประชากรที่อยู่ในภาวะเสี่ยงสูง 1.1 บริการรอบด้านที่มีประสิทธผลครอบคลุมประชากรหลัก 95% 2. ยกระดับคุณภาพ และบูรณาการงานป้องกันที่มีประสิทธิผลให้เข้มข้นและยั่งยืน 2.1 ไม่มีเด็กเกิดใหม่ติดเชื้อทุกจังหวัด 2.2 ประชาชนรู้เท่าทันและมีพฤติกรรมปลอดภัย 2.3 งานป้องกันเอชไอวีมีคุณภาพและบูรณาการอยู่ในระบบแผนงานปกติ 3. พัฒนาและเร่งรัดการรักษาดูแล และช่วยเหลือทางสังคมให้มีคุณภาพและยั่งยืน 3.1 ผู้ติดเชื้อรู้สถานะ-รักษา-กดไวรัส;95-95-95 3.2 ผู้ติดเชื้อเข้าถึงดูแลทางสังคม 75 % 3.3 ผู้ติดเชื้อเสียชีวิตจากวัณโรคลดลง 75% 3.4 ระบบบริการสุขภาพ สังคม ชุมชนมีความเชื่อมโยง 4. ปรับภาพลักษณ์ ความเข้าใจ เสริมสร้างความเข้มแข็งระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน รวมทั้งกลไกการคุ้มครองสิทธิ 4.1 ประชาชนมีความเข้าใจเอชไอวี สิทธิมนุษยชน และความหลากหลายทางเพศ 4.2 หน่วยงานมีนโยบาย และการดำเนินการที่ส่งเสริมความเข้าใจและไม่มีการเลือกปฏิบัติ 4.3 ผู้ติดเชื้อ ผู้ได้รับผลกระทบตระหนักถึงคุณค่าตนเอง 4.4 ทุกจังหวัดมีกลไกการคุ้มครองสิทธิ 5. เพิ่มความร่วมรับผิดชอบ การลงทุนและประสิทธิภาพการจัดการในทุกภาคส่วนและทุกระดับ 5.1 จำนวน/สัดส่วนงบประมาณสนับสนุนเอดส์จากพื้นที่และภายในประเทศเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะให้กับชุมชนและองค์กรพัฒนาเอกชน 5.2 จำนวนองค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรชุมชนผ่านเกณฑ์มาตรฐานการบริการโดยชุมชน 5.3 ทุกจังหวัดมีแผนงาน การจัดการตามเกณฑ์ 6. ส่งเสริมและพัฒนาการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์และการวิจัยที่รอบด้านและมีประสิทธิภาพ 6.1 ร้อยละของหน่วยงานที่ใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ในการวางแผนและบริหารจัดการ 6.2 จำนวนการวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ปรับปรุงการดำเนินงาน

สถานการณ์วัณโรคในประเทศไทยและการคัดกรอง TB ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี แนวทางการดำเนินงาน HIV-TB จำนวนผู้ป่วยสูงติดอันดับที่ 19 ในTop 22 ของโลก อัตราป่วยยังสูง สูงกว่าประเทศพัฒนาแล้ว 30 เท่า อัตราตายระหว่างรักษา 7% (ทุก 15 คน มีเสียชีวิต 1 คน) และในกลุ่ม TB/HIV อัตราตาย 13-14% (ทุก 7 คน มีเสียชีวิต 1 คน) คาดประมาณป่วยวัณโรค 120,000 รายต่อปี ขึ้นทะเบียนรักษา 80,000 รายต่อปี AEC เพิ่มโอกาสการระบาดของวัณโรคสูงขึ้น 1. แนวทางการคัดกรองวัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวี 2. มีแนวทางการคัดกรองวัณโรคแฝง และให้ยารักษาวัณโรคแฝงด้วยยา INH 9 เดือนในผู้ติดเชื้อเอชไอวี - ปี 2561 นำร่อง IPT ในจังหวัด GF

ระบบปกติ การคัดกรองตามมาตรการเร่งรัดยุติปัญหาวัณโรค การคัดกรองวัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวี ปี 2560 สรุปจากการประชุม การบริหารจัดการเชิงนโยบายเร่งรัดการดำเนินงาน เพื่อยุติปัญหาวัณโรคและเอดส์ ครั้งที่ 2/2560   ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายเก่า ระบบปกติ การคัดกรองตามมาตรการเร่งรัดยุติปัญหาวัณโรค verbal screening เป้าหมาย 100 % CXR ทุกราย เป้าหมาย 100 % คัดกรอง พบ 1 ใน 4 ข้อคำถาม ไอผิดปกติ ไข้ น้ำหนักลด เหงื่อออกกลางคืน ไม่เป็น TB ไม่มีอาการสงสัย เป็น TB รักษา TB ทำ TST เฝ้าระวังต่อ ซักประวัติทุกครั้งที่มารับยา ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายเก่ารายและรายใหม่ทุกรายได้รับการคัดกรองด้วย CXR CXR เป็น LTBI ไม่เป็น LTBI เป็น TB ไม่เป็น TB รักษา LTBI เฝ้าระวังต่อ ซักประวัติทุกครั้งที่มารับยา รักษา TB เฝ้าระวังต่อ ซักประวัติทุกครั้งที่มารับยา

95 %

Together we will END AIDS STI and TB