งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การยุติปัญหาเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การยุติปัญหาเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การยุติปัญหาเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สถานการณ์ นโยบาย และ การดำเนินงาน การยุติปัญหาเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ ผู้จัดการและประสานงานเอชไอวี STI

2 วัตถุประสงค์ Update ข่าวสาร องค์ความรู้ เอชไอวี และ STI
พัฒนาศักยภาพ HIV Co สามารถนำไปประยุกต์ ปรับปรุง พัฒนา ระบบบริการในการป้องกัน ดูแลรักษา เอชไอวี และ STI

3 คาดประมาณสถานการณ์เอชไอวี/เอดส์ประเทศไทย ปี 2560
ผลการคาดประมาณ ผู้อยู่ร่วมกับเชื้อฯ ที่มีชีวิตอยู่ (PLHIV) 440,000 คน ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ (HIV New Infections) 5,500 คน ผู้เสียชีวิตจากเอดส์ (AIDS Related Death) 14,700 คน

4 แนวโน้มการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำแนกตามประชากรกลุ่มเสี่ยง
Source: AIDS Epidemic Models by Jan. 2018, Estimation & Projection Working Group

5 แนวโน้มการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำแนกตามช่องทางการติดเชื้อฯ
Source: AIDS Epidemic Models by Jan. 2018, Estimation & Projection Working Group

6 มัธยฐานอัตราการติดเชื้อเอชไอวีในประชากรทั่วไป และกลุ่มประชากรหลัก
ที่มา: HSS ปี 2559, สำนักระบาดวิทยา ที่มา: IBBS, สำนักระบาดวิทยา (รายงานความก้าวหน้าระดับประเทศในการดำเนินงานการยุติปัญหาเอดส์ประเทศไทยรอบปี 2560)

7 VL <1,000 (CASE) 77%, 84%, 91%, 98% 68%, 70%, 71%, 70% 81%, 82%, 83%, 83%

8 90-90-90 treatment target: Region 1-6 treatment cascade 2017
(PLHIV registered under government insurances) (CASE) Country 114%,65%,83% 87%,74%,87% 103%,67%,82% 108%,69%,84% 94%,78%,81% 98%,75%,78%

9 90-90-90 treatment target: Region 7-13 treatment cascade 2017
(PLHIV registered under government insurances) (CASE) Country 86%,56%,76% 101%,77%,83% 86%,79%,82% 101%,73%,85% 104%,79%,86% 112%,77%,84% 106%,77%,87%

10 Treatment Cascade By Region 90 FY 2017
104%,79%,86% Region1 87%,74%,87% Region 7 101%,73%,85% Region 2 94%,78%,81% Region 10 106%,77%,87% Region 3 98%,75%,78% Region 4 103%,67%,82% Region 5 108%,69%,84% Region 9 112%,77%,84% Bangkok 86%,56%,76% Region 6 114%,65%,83% Region 11 101%,77%,83% Country Region 12 86%,79%,82%

11 (PLHIV registered under government insurances)
treatment target: Region 3 Nakon Sawan treatment cascade (PLHIV registered under government insurances) (CASE) Country 79%, 85%, 92%, 98% 71%, 74%, 75%, 75% 73%, 77%, 79%, 78%

12 (PLHIV registered under government insurances)
treatment target: Region 4 Saraburi treatment cascade (PLHIV registered under government insurances) (CASE) Country 79%, 87%, 95%, 103% 68%, 70%, 69%, 67% 75%, 76%, 79%, 82%

13 (PLHIV registered under government insurances)
treatment target: Region 13 Bangkok treatment cascade (PLHIV registered under government insurances) (CASE) Country 67%, 74%, 79%, 86% 50%, 52%, 57%, 56% 76%, 78%, 79%, 76%

14 CD4 initiation Late access to services CD4 Median Proportion 500 350
200 100 Proportion Median

15 90-90-90 treatment target: PLHIV ages 15-24 treatment cascade
(PLHIV registered under government insurances) 62% 64% 65% 55% 60% 60% 90% of diagnosed PLHIV are on treatment 90% PLHIV on treatment have suppressed viral load Source: NAP web report, National Heath Security Office (NHSO) at 27th October 2017

16 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจเอชไอวีและมีผลการตรวจเลือดบวก ปี 2558 - 2560
ที่มา : NAP WebReport สปสช. ข้อมูล ณ 7 พฤศจิกายน 2560

17 อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ประเทศไทย ปี พ. ศ
อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ประเทศไทย ปี พ.ศ จำแนกรายโรค เมื่อพิจารณาอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ประเทศไทย ปี พ.ศ จำแนกรายโรค พบว่า โรคหนองใน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากอัตราป่วย 11.7 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2555 เป็น 15.8 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2560 โรคซิฟิลิส มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากอัตราป่วย 3.0 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2555 เป็น 7.7 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ โรคแผลริมอ่อน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากอัตราป่วย 0.9 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2555 เป็น 1.6 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2560 โรคหนองในเทียม มีแนวโน้มลดลง จากอัตราป่วย3.4ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2555 เป็น 3.2 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2560 โรคกามโรคของต่อมและท่อน้ำเหลือง มีแนวโน้มลดลง จากอัตราป่วย 1.1 ต่อประชากรแสนคนในปีงบประมาณ 2555 เป็น 0.5 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2560 ที่มา: รายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา ปรับปรุงข้อมูล 23/3/61

18 อัตราป่วยเฉพาะกลุ่มอายุ โรคซิฟิลิส ประเทศไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558-2560
ที่มา: รายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา ปรับปรุงข้อมูล 23/3/61

19 อัตราป่วยเฉพาะกลุ่มอายุ โรคหนองใน ประเทศไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558-2560
ที่มา: รายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา ปรับปรุงข้อมูล 23/3/61

20 พฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี ในกลุ่มประชากรหลัก
ที่มา: IBBS, สำนักระบาดวิทยา (รายงานความก้าวหน้าระดับประเทศในการดำเนินงานการยุติปัญหาเอดส์ประเทศไทยรอบปี 2560)

21 อายุเฉลี่ยของนักเรียน เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก
กลุ่มเป้าหมาย อายุเฉลี่ย (ปี) 2554 2555 2556 2557 2558 2559 1.นักเรียน ม.5 เพศชาย เพศหญิง 14.7 14.9 15.1 15.2 15.0 15.3 15.4 2.นักเรียน ปวช.ชั้นปีที่ 2 17.0 15.5 ที่มา: BSS สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2559

22 ร้อยละของการใช้ถุงยางอนามัย เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก
กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 2554 2555 2556 2557 2558 2559 1. นักเรียน ม.5 เพศชาย เพศหญิง 51.1 54.1 56.4 53.4 61.2 64.1 65.0 64.2 70.3 71.1 71.9 73.0 2.นักเรียน ปวช.ชั้นปีที่ 2 55.0 50.0 56.2 54.6 59.3 58.8 62.3 64.6 65.9 67.0 ที่มา: BSS สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2559

23 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อเอชไอวีได้รับยาต้านไวรัสฯ เพื่อลดการถ่ายทอดเชื้อฯจากแม่สู่ลูก
แหล่งที่มา : รายงาน PHIMS กรมอนามัย (ข้อมูลจากการสัมมนาจัดทำ GAM 2018)

24 ร้อยละของทารกที่เกิดจากแม่ติดเชื้อฯ ได้รับการตรวจหาเชื้อเอชไอวีฯ (PCR)
ภายใน 2 เดือนหลังคลอด แหล่งที่มา : รายงาน PHIMS กรมอนามัย (ข้อมูลจากการสัมมนาจัดทำ GAM 2018)

25 อัตราการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก ประเทศไทย ปี 2553-2560
แหล่งที่มา: Spectrum-AEM 2017, สำนักระบาดวิทยา (ข้อมูลจากการสัมมนาจัดทำ GAM 2018)

26 เป้าประสงค์และเป้าหมายหลัก ของการยุติปัญหาเอดส์ 2030
2563 เป้าหมาย 2568 2573 ลดการติดเอชไอวีรายใหม่ < 2,000 ราย < 1,200 ราย < 1,000 ราย ลดการเสียชีวิตจากเอดส์ < 12,000 ราย < 8,000 ราย < 4,000 ราย ลดการรังเกียจ การเลือกปฏิบัติ ที่เกี่ยวกับเอดส์และเพศภาวะ ลดลง 50% ลดลง 75% ลดลง 90%

27 Targets towards the end of STI epidemics
In 2030 90 % reduction of T.palidum incidence 90 % reduction in N.gonorrhoeae incidence ≤50 cases of congenital syphilis per live births in 100% of countries 80% HPV vaccine coverage

28 ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการยุติปัญหาเอดส์ 3 เป้าประสงค์ 6 ยุทธศาสตร์ 17 ผลลัพธ์
ลดการติดเชื้อเอชไอวีใหม่ < 1,000 คน/ปี ลดการเสียชีวิตจากเอดส์ < 4,000 คน/ปี ลดการเลือกปฎิบัติจาก เอดส์ร้อยละ90 1. มุ่งเน้นและเร่งรัดจัดชุดบริการที่มีประสิทธิผลสูงให้ครอบคลุมพื้นที่และประชากรที่อยู่ในภาวะเสี่ยงสูง 1.1 บริการรอบด้านที่มีประสิทธผลครอบคลุมประชากรหลัก 95% 2. ยกระดับคุณภาพ และบูรณาการงานป้องกันที่มีประสิทธิผลให้เข้มข้นและยั่งยืน 2.1 ไม่มีเด็กเกิดใหม่ติดเชื้อทุกจังหวัด 2.2 ประชาชนรู้เท่าทันและมีพฤติกรรมปลอดภัย 2.3 งานป้องกันเอชไอวีมีคุณภาพและบูรณาการอยู่ในระบบแผนงานปกติ 3. พัฒนาและเร่งรัดการรักษาดูแล และช่วยเหลือทางสังคมให้มีคุณภาพและยั่งยืน 3.1 ผู้ติดเชื้อรู้สถานะ-รักษา-กดไวรัส; 3.2 ผู้ติดเชื้อเข้าถึงดูแลทางสังคม 75 % 3.3 ผู้ติดเชื้อเสียชีวิตจากวัณโรคลดลง 75% 3.4 ระบบบริการสุขภาพ สังคม ชุมชนมีความเชื่อมโยง 4. ปรับภาพลักษณ์ ความเข้าใจ เสริมสร้างความเข้มแข็งระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน รวมทั้งกลไกการคุ้มครองสิทธิ 4.1 ประชาชนมีความเข้าใจเอชไอวี สิทธิมนุษยชน และความหลากหลายทางเพศ 4.2 หน่วยงานมีนโยบาย และการดำเนินการที่ส่งเสริมความเข้าใจและไม่มีการเลือกปฏิบัติ 4.3 ผู้ติดเชื้อ ผู้ได้รับผลกระทบตระหนักถึงคุณค่าตนเอง 4.4 ทุกจังหวัดมีกลไกการคุ้มครองสิทธิ 5. เพิ่มความร่วมรับผิดชอบ การลงทุนและประสิทธิภาพการจัดการในทุกภาคส่วนและทุกระดับ 5.1 จำนวน/สัดส่วนงบประมาณสนับสนุนเอดส์จากพื้นที่และภายในประเทศเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะให้กับชุมชนและองค์กรพัฒนาเอกชน 5.2 จำนวนองค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรชุมชนผ่านเกณฑ์มาตรฐานการบริการโดยชุมชน 5.3 ทุกจังหวัดมีแผนงาน การจัดการตามเกณฑ์ 6. ส่งเสริมและพัฒนาการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์และการวิจัยที่รอบด้านและมีประสิทธิภาพ 6.1 ร้อยละของหน่วยงานที่ใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ในการวางแผนและบริหารจัดการ 6.2 จำนวนการวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ปรับปรุงการดำเนินงาน

29 ยุทธศาสตร์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แห่งชาติ พ. ศ
ยุทธศาสตร์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ – 2564 ยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มพูนศักยภาพของบุคลากรสาธารณสุขและอาสาสมัคร เพื่อการป้องกันเชิงรุก และการตรวจรักษาตามมาตรฐานและเป็นมิตร ยุทธศาสตร์ที่ 3 ขยายความครอบคลุมและเพิ่มความต่อเนื่อง ในการใช้นวัตกรรมการสื่อสาร เพื่อส่งเสริมการป้องกัน และรับการตรวจรักษา รวมทั้งการใช้ถุงยางอนามัย ในเยาวชนกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนา ส่งเสริม และยกย่องเชิดชูนวัตกรรม องค์ความรู้ต้นแบบ และความสำเร็จของการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจและใช้ประโยชน์ เชิงนโยบาย แผนงาน และประเมินผลที่เชื่อมโยงทุกระดับ ยุทธศาสตร์ที่ 1 เร่งรัดการป้องกันและรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ให้ได้ผลและครอบคลุม โดยใช้นวัตกรรม

30 ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการยุติปัญหาเอดส์ 3 เป้าประสงค์ 6 ยุทธศาสตร์ 17 ผลลัพธ์
ลดการติดเชื้อเอชไอวีใหม่ < 1,000 คน/ปี ลดการเสียชีวิตจากเอดส์ < 4,000 คน/ปี ลดการเลือกปฎิบัติจาก เอดส์ร้อยละ90 1. มุ่งเน้นและเร่งรัดจัดชุดบริการที่มีประสิทธิผลสูงให้ครอบคลุมพื้นที่และประชากรที่อยู่ในภาวะเสี่ยงสูง ชุดบริการในกลุ่มเฉพาะ นำร่อง PrEP Harm Reduction 2. ยกระดับคุณภาพ และบูรณาการงานป้องกันที่มีประสิทธิผลให้เข้มข้นและยั่งยืน EMTCT งานในกลุ่มเยาวชน Health Literacy การสื่อสารประชาสัมพันธ์ สนับสนุน ถุงยาง 3. พัฒนาและเร่งรัดการรักษาดูแล และช่วยเหลือทางสังคมให้มีคุณภาพและยั่งยืน มาตรฐานงานเอชไอวี Same day result early Rx DSC มาตรฐานงาน STI ACC Congenital Syphilis การวินิจฉัย และรักษาวัณโรคแฝง Differentiated Care and Task Sharing DHS 4. ปรับภาพลักษณ์ ความเข้าใจ เสริมสร้างความเข้มแข็งระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน รวมทั้งกลไกการคุ้มครองสิทธิ การลด S & D ในสถานพยาบาล องค์กรดูแล ห่วงใยใส่ใจเอดส์ 5. เพิ่มความร่วมรับผิดชอบ การลงทุนและประสิทธิภาพการจัดการในทุกภาคส่วนและทุกระดับ - การใช้กลไก PCM ในการยุติปัญหาเอดส์ระดับจังหวัด - การใช้ ระบบสุขภาพอำเภอ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตอำเภอในการยุติปัญหาเอดส์ระดับอำเภอ - การสร้างเครือข่ายร่วมกับองค์กรชุมชนต่างๆ 6. ส่งเสริมและพัฒนาการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์และการวิจัยที่รอบด้านและมีประสิทธิภาพ - การปรับปรุงระบบสารสนเทศ

31 หน่วยงานหลักในการจัดการ คือ สปสช. สำนักเอดส์ฯ สนับสนุนทางวิชาการ
โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันเอชไอวีตามแผนปฏิบัติการยุติปัญหาเอดส์ ชุดบริการในการป้องกันในกลุ่มเฉพาะ ปี 2561 งบ 200 ล้าน จากสปสช. สนับสนุนการจัดชุดบริการป้องกันใน เป้าหมายเฉพาะ ให้ทั้งรัฐ ภาคประชาสังคม หน่วยงานหลักในการจัดการ คือ สปสช. สำนักเอดส์ฯ สนับสนุนทางวิชาการ

32 การสนับสนุนถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น
โดย สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กลุ่มเป้าหมายตามโครงการจัดซื้อถุงยาง 1. กลุ่มผู้ให้บริการทางเพศ (ทั้งชายและหญิง) 2. กลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย 3. วัยรุ่น เยาวชน (ทั้งชายและหญิง) 4. กลุ่มที่มีพฤติกรรมเสี่ยง และไม่เปิดเผยสถานะ (ทั้งชายและหญิง) 5. ผู้ที่มารับบริการตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (ยกเว้น HIV ได้จากสปสช.)

33 การป้องกัน และรักษาด้วยยาต้านไวรัส
ก่อนรับเชื้อ ช่วงรับเชื้อใหม่ๆ หลังติดเชื้อแล้ว กินยาต้านไวรัสเพื่อรักษา PrEP PEP อยู่ระหว่าง นำร่อง ให้ในการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน และการล่วงละเมิดทางเพศ เน้น รักษาเร็วทุก CD4 กินยาสม่ำเสมอ กดไวรัสได้สำเร็จ

34 PEP = Post – Exposure Prophylaxis
คือ ยาที่กินหลังการรับเชื้อไวรัสเอชไอวี - HIV Occupational PEP (oPEP) - HIV non-Occupational PEP (nPEP) กินให้เร็วที่สุด หลังมีพฤติกรรมเสี่ยง เพื่อให้ ยาต่อสู้กับเชื้อไวรัสได้เร็วที่สุด ต้องกินให้เร็วที่สุดภายใน 1-2 ชั่วโมง ไม่เกิน 72 ชั่วโมง กินครบ 4 สัปดาห์ กินเฉพาะฉุกเฉิน

35 PrEP = Pre- Exposure Prophylaxis ยาต้านไวรัสเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี รูปยา

36 REACH TEST RETAIN TREAT RECRUIT
การจัดบริการ PreP ทราบผลวันที่ตรวจ กินยาต้านไวรัสเร็ว ติดตามต่อเนื่อง REACH TEST RECRUIT TREAT RETAIN + รับยาต้านไวรัส แนะนำ PrEP ถุงยาง ป้องกันภาวะเสี่ยง - PDI, ปากต่อปากฝาก peer educators ไปบอก ฯลฯ - Mobile clinic ส่งต่อเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพ + รักษายาต่อเนื่อง กดไวรัส - นัดกลับมาตรวจ นัดทุกหกเดือน ให้ลบตลอด นำสู่การตรวจฯ We use RRTTR Strategy with included Reach, Recruit, Test ,Treat and Retain. Our goal is to improve access for key populations, MSM and TG to HIV prevention and care services จัดบริการร่วมในสถานบริการสุขภาพ โดยจัดให้กลุ่มเป้าหมายเฉพาะเข้าถึงง่าย และเป็นมิตร เช่น ในARV Clinic แยกคลินิกเฉพาะ PrEP ฯลฯ สร้างการเข้ามารับบริการให้มากขึ้น - ควรมีการเตรียมหน่วยบริการ บุคลากร เข้าใจลักษณะของกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ - มีระบบการติดตามประเมินผล

37 ความก้าวหน้า PrEP เสนอเข้าชุดสิทธิประโยชน์ ของ สปสช.
เสนอเข้าชุดสิทธิประโยชน์ ของ สปสช. - สวรส. ร่วมกับ HITAP อยู่ระหว่างศึกษาความเป็นไปได้ และ ความคุ้มค่า ยา Teno EM ผ่านอย. ให้เป็นยาป้องกันได้ และอยู่ในบัญชี ก สอวพ. - ดำเนินการนำร่อง จากงบ GF TUC ในกลุ่ม MSM TG PWID - จัดทำแนวทางการจัดบริการเพื่อใช้ในระดับประเทศ - เตรียมระบบข้อมูล โดยใช้ PrEPthai.net (อนาคตอาจจะรวมใน NAP)

38 (ร่าง)

39 ประกอบด้วย บทที่ 1 สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ บทที่ 2 ความเป็นมาของการดำเนินงานเพร็พในประเทศไทย บทที่ 3 ข้อมูลคลินิก บทที่ 4 แนวทางการดำเนินงานเพร็พในประเทศไทย บทที่ 5 รูปแบบการจัดบริการเพร็พ บทที่ 6 รูปแบบการจัดบริการเพร็พในกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ บทที่ 7การให้บริการปรึกษาเรื่องยาเพร็พ บทที่ 8 การสื่อสาร เพื่อสร้างความเข้าใจ บทที่ 9 การติดตามและประเมินผล

40 สรุปจำนวน รพ.ที่พร้อมในการจัดบริการ ปี 2561
แหล่งงบประมาณ/ กลุ่มเป้าหมาย จำนวนจังหวัด จำนวนโรงพยาบาล GF ในกลุ่ม MSM/TG 7 11 GF ในกลุ่ม PWID 14 TUC ในกลุ่ม MSM/TG 13 27 รวม  25 จังหวัด 52 โรงพยาบาล

41 งบประมาณกองทุนโลก ในกลุ่ม MSM / TG 7 จังหวัด
มีโรงพยาบาลที่เข้าร่วม 11 โรงพยาบาล ( 6 จังหวัด) จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 3 โรงพยาบาล จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 2 โรงพยาบาล โรงพยาบาลพรหมพิราม โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ โรงพยาบาลเนินมะปราง โรงพยาบาลท่าตะโก โรงพยาบาลค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน โรงพยาบาล จังหวัดนครปฐม จำนวน 2 โรงพยาบาล โรงพยาบาลเสนา โรงพยาบาลจันทรุเบกษา โรงพยาบาลหลวงพ่อเปิ่น จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 2 โรงพยาบาล จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 2 โรงพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช โรงพยาบาลเกาะสมุย โรงพยาบาลพุนพิน

42 งบประมาณกองทุนโลก ในกลุ่ม PWID 19 จังหวัด
มีโรงพยาบาลที่เข้าร่วม 14 โรงพยาบาล (14 จังหวัด) จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 1 โรงพยาบาล โรงพยาบาลเชียงดาว จังหวัดนนทบุรี จำนวน 1 โรงพยาบาล โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า จังหวัดปทุมธานี จำนวน 1 โรงพยาบาล สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 1 โรงพยาบาล โรงพยาบาลสมุทรปราการ จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 1 โรงพยาบาล โรงพยาบาลชะอวด จังหวัดขอนแก่น จำนวน 1 โรงพยาบาล โรงพยาบาลธัญญารักษ์ขอนแก่น จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 1 โรงพยาบาล โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี จังหวัดตรัง จำนวน 1 โรงพยาบาล โรงพยาบาลตรัง จังหวัดพัทลุง จำนวน 1 โรงพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง จังหวัดปัตตานี จำนวน 1 โรงพยาบาล โรงพยาบาลหนองจิก จังหวัดสงขลา จำนวน 1 โรงพยาบาล โรงพยาบาลสะเดา จังหวัดสตูล จำนวน 1 โรงพยาบาล โรงพยาบาลละงู จังหวัดนราธิวาส จำนวน 1 โรงพยาบาล โรงพยาบาลแว้ง กรุงเทพมหานคร จำนวน 1 โรงพยาบาล โรงพยาบาลตากสิน

43 งบประมาณ TUC ในกลุ่ม MSM / TG 13 จังหวัด
มีโรงพยาบาลที่เข้าร่วม 27 โรงพยาบาล จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 2 โรงพยาบาล จังหวัดนนทบุรี จำนวน 2 โรงพยาบาล โรงพยาบาลฝาง โรงพยาบาลบางกรวย โรงพยาบาลสันป่าตอง โรงพยาบาลปากเกร็ด จังหวัดปทุมธานี จำนวน 2 โรงพยาบาล จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 2 โรงพยาบาล โรงพยาบาลปทุมธานี โรงพยาบาลบางบ่อ โรงพยาบาลประชาธิปัตย์ โรงพยาบาลเซ็นทรัลปาร์ค จังหวัดขอนแก่น จำนวน 2 โรงพยาบาล จังหวัดอุดรธานี จำนวน 2 โรงพยาบาล โรงพยาบาลชุมแพ โรงพยาบาลบ้านผือ ศูนย์แพทย์ชาตะผดุง โรงพยาบาลกุมภวาปี จังหวัดภูเก็ต จำนวน 1 โรงพยาบาล จังหวัดสงขลา จำนวน 2 โรงพยาบาล โรงพยาบาลองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต โรงพยาบาลหาดใหญ่ โรงพยาบาลจะนะ

44 งบประมาณ TUC ในกลุ่ม MSM/TG 13 จังหวัด
มีโรงพยาบาลที่เข้าร่วม 27 โรงพยาบาล จังหวัดเชียงราย จำนวน 4 โรงพยาบาล โรงพยาบาลพญาเม็งราย โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร โรงพยาบาลเชียงแสน โรงพยาบาลแม่สาย จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 4 โรงพยาบาล โรงพยาบาลด่านขุดทด โรงพยาบาลพิมาย โรงพยาบาลสีคิ้ว โรงพยาบาลโกลเด้นเกท จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 2 โรงพยาบาล โรงพยาบาลวารินชำราบ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ กรุงเทพมหานคร จำนวน 2 โรงพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลตากสิน

45 แผนบูรณาการการพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย
กลุ่มวัยรุ่น ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ ) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ ) แผนบูรณาการพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย : กลุ่มวัยรุ่น ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ เป้าหมายที่ 2 คนในสังคมไทย ทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้และความสามารถเพิ่มขึ้น เป้าหมายที่ 5 สถาบันทางสังคม มีความเข้มแข็ง และมีส่วนร่วม ในการพัฒนาประเทศเพิ่มขึ้นฯ แนวทางที่ 3 ส่งเสริมทักษะชีวิต และทักษะการทำงาน เป้าหมายที่ คนไทยมีศักยภาพ ตลอดช่วงวัย เป้าหมายที่ 3 คนไทยมีครอบครัวอบอุ่น เข้มแข็ง มีคุณธรรม จริยธรรม แนวทางที่ 3 เสริมสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและ การก้าวสู่การเป็นผู้ใหญ่ แผนงานบูรณาการ การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย : กลุ่มวัยรุ่น ห่างไกลสิ่งเสพติด เป้าหมาย มีทักษะชีวิต ตัวชี้วัด อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 – 19 ปี ไม่เกิน 40 ต่อประชากรหญิง อายุ 15 – 19 ปี พันคน มาตรการ การจัดบริการ การเฝ้าระวัง การบริหารจัดการ

46 บูรณาการงานวัยรุ่น โดย 3 กรม พัฒนารูปแบบการดำเนินงานกลุ่มวัยรุ่นในชุมชน
ปี 58 ส่งเสริมให้พื้นที่ดำเนินกิจกรรมเพื่อสื่อสารเรื่องเพศกับลูกวัยรุ่น ปี 59 พัฒนารูปแบบการดำเนินงานกลุ่มวัยรุ่นในชุมชน (นำร่อง 2 จังหวัด) ปี 60 พัฒนารูปแบบการดำเนินงานกลุ่มวัยรุ่นในชุมชน โดยขยายเพิ่ม (4 จังหวัด ได้แก่ ฉะเชิงเทรา พระนครศรีอยุธยา นครศรีธรรมราช และอุดรธานี) พัฒนารูปแบบการดำเนินงานกลุ่มวัยรุ่นในชุมชน ปี 59 มี 2 จังหวัด อุดร ฉะเชิงเทรา ปี 60 ขยายเพิ่มอีก 2 จังหวัด นครศรีธรรมราช และอยุธยา รวมเป็น 4 จังหวัด

47 Model 4 พื้นที่ Youth Counselor สภาเด็กและเยาวชนในระดับตำบล
การสื่อสารในครอบครัว การพัฒนาศักยภาพ แกนนำวัยรุ่น การจัดบริการที่เป็นมิตรในโรงพยาบาล มีพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเยาวชน สภาเด็กและเยาวชนในระดับตำบล

48 แนวทางในการดำเนินงาน
แนวทางที่ 1 กลไกการประสานงานการยุติปัญหาเอดส์ แนวทางที่ 2 การรณรงค์สื่อสาร เรื่องโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่ประชาชน แนวทางที่ 3 การส่งเสริมการเข้าถึงบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การป้องกันและรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี แนวทางที่ 4 การส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัย แนวทางที่ 5 การบูรณาการงานยุติปัญหาเอดส์ /โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์กับงานด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง แนวทางที่ 6 การกำกับ ติดตาม ประเมินผลและนวัตกรรม

49 การพัฒนาระบบบริการดูแลรักษาเอชไอวี และ STI
ยึดหลักการ รู้เร็ว รักษาเร็ว ทุก CD4 ต่อเนื่อง กดไวรัสได้ เฝ้าระวังดื้อยา พัฒนาคุณภาพข้อมูลที่เกี่ยวข้อง : NAP (ครอบคลุมทุกสิทธิ์) ใช้ประโยชน์จากข้อมูล ในการพัฒนาคุณภาพบริการ ป้องกัน ค้นหา และรักษา โรคฉวยโอกาส และโรคร่วม เช่น TB HIV เครื่องมือ (คุณภาพ มาตรฐาน ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง) บูรณาการ มาตรฐานและคุณภาพการรักษา จาก - มาตรฐาน HIV และ STI - DSC (Disease Specific Certification HIV STI) - DIC (Drop In Center) โดยหน่วยบริการและ CBO ฯลฯ - Differentiated Care and Task Shifting – Sharing (Patient Center Care and Continuum Care)

50 มาตรฐานกรมควบคุมโรค ด้านโรคเอดส์ สำหรับสถานบริการสาธารณสุข
มาตรฐานกรมควบคุมโรค ด้านโรคเอดส์ สำหรับสถานบริการสาธารณสุข

51 วัตถุประสงค์การจัดทำมาตรฐาน
1. เพื่อให้ รพ นำไปใช้เป็นแนวทางในการประเมินตนเองด้านเอดส์ เพื่อการพัฒนาตนเอง ให้ได้ตามมาตรฐานการดำเนินงานเอดส์ 2. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการรับรองการประเมินคุณภาพการบริการโรงพยาบาล (HA) (ถือเป็นเป้าหมายการทำงาน) 3. เพื่อใช้เป็นคู่มือในการนิเทศ ประเมินมาตรฐานการบริการ

52 มาตรฐาน กรมควบคุมโรค ด้านเอดส์
1. มาตรฐานการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ 2. มาตรฐานการรักษาด้วยยาต้านไวรัส 3. มาตรฐานการป้องกันและรักษาโรคติดเชื้อฉวยโอกาส 4. มาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในแม่และเด็ก 5. มาตรฐานบริการให้การปรึกษา มาตรฐานบริการทางสังคม 6. มาตรฐานจริยธรรมและสิทธิ 7. มาตรฐานการจัดองค์กร ระบบบริหารจัดการ 8. มาตรฐานด้านการป้องกัน 9. มาตรฐานการดำเนินงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 9 ด้าน

53 มาตรฐานการดำเนินงาน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แบ่งออกเป็น 3 ด้าน
มาตรฐานการดำเนินงาน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แบ่งออกเป็น 3 ด้าน ด้านที่ 1. มาตรฐานด้านการบริหารจัดการ ด้านที่ 2. มาตรฐานด้านการดำเนินงาน ด้านที่ 3. มาตรฐานด้านการติดตามประเมินผล

54 มาตรฐานการดำเนินงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
R Reach Mapping – สุขศึกษา สำรวจเยี่ยม - แนะนำบริการ มาตรฐานด้านการบริหารจัดการ R Recruit เข้าถึงบริการ กลุ่ม KAPs T Test - VDRL - Gram’s stain - HIV Wet, Pap smear มาตรฐานด้านการดำเนินงาน T Treat - ดูแลรักษา - ส่งต่อการรักษา - ให้สุขศึกษาและการปรึกษา - สอนสาธิตการใช้ถุงยางอนามัย มาตรฐานด้านการ ติดตาม ประเมินผล R Retain - ติดตามผู้ป่วย ผู้สัมผัส - ให้สุขศึกษาและการปรึกษา ICD 10 506 RIHIS

55 แบบรายงานร้อยละตัวชี้วัด 3 ด้าน

56 ผลการประเมินการดำเนินงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
77จังหวัด (ข้อมูล 29/05/2560) ประเภทโรงพยาบาล จำนวน ทั้งหมด จำนวนเป้าหมาย ที่กำหนด ผลงาน ปี (แห่ง) ( ร้อยละ = แห่ง ) (ร้อยละ) โรงพยาบาลชุมชน 723 050% = 362 85 011.8% โรงพยาบาลทั่วไป 75 075% = 056 48 064.0% โรงพยาบาลศูนย์ 26 100% = 026 100.0%

57 ผลการประเมินการดำเนินงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 77จังหวัด

58 Disease Specific Certification (DSC-HIV/STI)
มาตรฐานการรับรองคุณภาพบริการเฉพาะรายโรคเอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ DSC การรับรองสู่ความเป็นเลิศในคุณภาพบริการ เฉพาะรายโรคเอชไอวีและ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ดำเนินการตามกลยุทธ์ RRTTR: Reach Recruit Test Treat and Retrain เพื่อมุ่งเป้า Getting to 3 ZERO Disease Specific Certification (DSC-HIV/STI) ความร่วมมือระหว่าง กรมควบคุมโรค สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ศูนย์ความร่วมมือไทย – สหรัฐ ด้านสาธารณสุข

59 มาตรฐานคุณภาพการป้องกัน ดูแล รักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ : ก้าวสู่เป้าหมายยุติปัญหาเอดส์ ภายในปี 2573 คุณภาพและความปลอดภัยของผู้รับบริการในด้านเอชไอวี/เอดส์/โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เป้าหมาย REACH:RECRUIT R:R TEST T TREAT T RETAIN R

60 รพ.ที่ได้รับการรับรอง
ผลการดำเนินงาน จำนวนโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ ระยะการดำเนินงาน รพศ./รพท. รพช. รพ.ที่ได้รับการรับรอง ระยะที่ 1 ( ) 7 แห่ง 5 แห่ง รพ.ขุขันธ์ (2559) รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์ (2560) รพ.ค่ายสุรนารี (2561) ระยะที่ 2 ( ) 10 แห่ง 9 แห่ง รพ.จอมทอง(2561) รพ.เชียงแสน(2561) ระยะที่ 3 ( ) 11 แห่ง 1 = 9 จังหวัด 2 = 8 จังหวัด 3 = 12 จังหวัด 29 จังหวัด 38%

61 ประเด็นคุณภาพสู่ Ending AIDS : รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์
HIV + Not entry t care 2558 659 108 16.4% 2559 642 23 3.7% R T RRT

62 ประเด็นคุณภาพสู่ Ending AIDS : รพ.ค่ายสุรนารี นครราชสีมา
RRT

63 อนาคตของ DSC อยู่ในระบบปกติของการรับรองมาตรฐานฯ ของสรพ.
สอวพ. สนับสนุน การมีพี่เลี้ยง (ไม่มีงบในการออกเยี่ยม) เขต จังหวัด รพ. สนับสนุนการพัฒนาภายในเขต, จังหวัด ต่อยอดการพัฒนาระบบโรคอื่น ต่อในพื้นที่ บูรณาการกับมาตรฐาน เอชไอวี, โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์, Drop In Center (DIC)

64 การจัดบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวีในรูปแบบเครือข่ายบริการสุขภาพ Differentiated Care Task sharing (Patient Center Care and Continuum Care)

65 หลักการและแนวคิด แนวคิด differentiated care คือ การจำแนกการดูแลตามความต้องการของผู้รับบริการ - เพิ่มคุณภาพการดูแลรักษาและการคงอยู่ในระบบบริการสุขภาพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี (Treat & Retain ) - เพิ่มความพึงพอใจของผู้รับบริการและบุคลากร - การลดความแออัดของโรงพยาบาลใหญ่ แนวคิดการดูแลแบบ Task sharing คือการปรับระบบบริการจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขา ไปสู่ผู้ที่มีความเป็นวิชาชีพ โดยใช้ศักยภาพของหน่วยงานระดับชุมชน - เพิ่มคุณภาพการดูแลรักษาและการคงอยู่ในระบบบริการสุขภาพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี (Treat & Retain ) - เป็นการเชื่อมต่อระบบระหว่าง Primary care และ Second care เพื่อให้เกิดการดูแลต่อเนื่องแบบ ใกล้บ้าน ใกล้ใจ - การลดความแออัดของโรงพยาบาลใหญ่

66 การจำแนกกลุ่มและการดูแลที่เหมาะสม
กลุ่มเป้าหมาย ปี 2561 ผู้ติดเชื้อเอชไอวี การจำแนกกลุ่มและการดูแลที่เหมาะสม ผู้ที่ยังมีสุขภาพดี สนับสนุนให้กินยาต่อเนื่องสม่ำเสมอและคงอยู่ในการรักษา ผู้ที่อยู่ในระยะโรครุนแรง แพคแกจการรักษาที่ลดการป่วยและเสียชีวิต ผู้ที่กินยาต่อเนื่อง ลดความถี่ในการเข้ารับการตรวจและใช้รูปแบบการรับยา ต้านไวรัส ต่อเนื่องที่ชุมชน ผู้ที่กินยาไม่ต่อเนื่อง สนับสนุนการกินยาต่อเนื่องสม่ำเสมอ ตรวจ VL สลับไปใช้ยา สูตรสองหรือสามตามข้อบ่งชี้ ติดตามการ ดื้อยา - นำร่อง 20 โรงพยาบาล - เก็บข้อมูลการจัดบริการของรพ.ทุกแห่ง

67 การจัดบริการในรูปแบบ Differentiated Care (สำรวจจากโรงพยาบาล)
การจัดบริการในรูปแบบ Diff-care จำนวน (%) มี การจัดบริการ diff-care 56 (56.0%) นัดรับยานาน 3-6 เดือน 45 (84.9%) ส่งไปรับบริการที่รพ.สต. 2 (3.8%) ไม่มี การจัดบริการ diff-care 44 (44.0%)

68 การจัดบริการในรูปแบบ Differentiated Care สำหรับกลุ่มผู้รับบริการต่างๆ
การจัดบริการ Diff-care ให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ควรจัดเพิ่ม ยังไม่จำเป็น 1. สำหรับผู้ที่มีอาการคงที่ (stable) 39 (65.0%) 21 (35.0%) 2.สำหรับผู้ที่มีไวรัสในกระแสเลือดสูง (high viral load) หรือดื้อยา 22 (37.9%) 36 (62.1%) 3.สำหรับผู้ที่ต้องการการดูแลอื่น ๆ (other medical needs) เช่น โรคเรื้อรัง TB อื่นๆ 28 (48.3%) 30 (51.7%) 4.สำหรับวัยรุ่น (adolescents) 29 (50.9%) 28 (49.1%) 5.สำหรับประชากรกลุ่มเสี่ยง (key populations) 31 (57.4%) 23 (42.6%)

69 สถานการณ์วัณโรคในประเทศไทย
จำนวนผู้ป่วยสูงติดอันดับที่ 19 ในTop 22 ของโลก อัตราป่วยยังสูง สูงกว่าประเทศพัฒนาแล้ว 30 เท่า อัตราตายระหว่างรักษา 7% (ทุก 15 คน มีเสียชีวิต 1 คน) และในกลุ่ม TB/HIV อัตราตาย 13-14% (ทุก 7 คน มีเสียชีวิต 1 คน) คาดประมาณป่วยวัณโรค 120,000 รายต่อปี ขึ้นทะเบียนรักษา 80,000 รายต่อปี AEC เพิ่มโอกาสการระบาดของวัณโรคสูงขึ้น มีแนวทางการคัดกรองวัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวี มีแนวทางการคัดกรองวัณโรคแฝง และให้ยารักษา วัณโรคแฝงด้วยยา INH 9 เดือนในผู้ติดเชื้อเอชไอวี ปี 2561 นำร่อง IPT ในจังหวัด GF อยู่ระหว่างเสนอของบประมาณ ชดเชยการคัดกรอง CXR IPT

70 แนวทางการคัดกรองและวินิจฉัยวัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวี
รายใหม่ รายเก่า คัดกรองอาการ 4 ข้อ CXR มีอาการสงสัย ไม่มีอาการ ปกติ ผิดปกติ ตรวจเสมหะ molecular test & AFB smear & TB culture นัด follow up คัดกรองอาการทุกครั้ง ถ้ามีอาการสงสัยวัณโรค ให้เก็บเสมหะส่งตรวจด้วย ที่มา จากคู่มือแนวทางการปฏิบัติการผสมผสานวัณโรคและเอดส์ MTB detected MTB not detected แพทย์พิจารณาตัดสินใจ ตรวจหาวัณโรคนอกปอด ถ้าสงสัยรอผล TB culture R resistant รักษาวัณโรค ส่ง DST สงสัยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ตรวจ lab หรือ x-pert MTB/RIF ร่วมกับ TB Culture +DST ที่มา แนวทางการปฏิบัติการผสมผสานวัณโรคและเอดส์

71 แนวทางวินิจฉัยและรักษาวัณโรคแฝงในผู้ติดเชื้อเอชไอวี (ผู้ใหญ่)
-ประวัติการป่วยเป็นวัณโรค -ประวัติการได้รับ IPT -ประวัติการทำ TST แล้วมีผลบวก ไม่มี มี คัดกรองอาการสงสัยวัณโรค ไม่ให้ IPT ส่งตรวจวินิจฉัยวัณโรค ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายเก่า ประวัติสัมผัสวัณโรค TST -ได้ยาต้านไวรัสมากกว่า 3 เดือน หรือ -ไม่ได้รับยาต้านไวรัส ไม่เป็นวัณโรค รักษาวัณโรค -กรณีผล TST บวก > 5 มม. และ -มีผลเอกซเรย์ปอดปกติภายในไม่เกิน 3 เดือนและ -มีผลตรวจร่างกายไม่พบต่อมน้ำเหลืองโต ให้ IPT (ยา INH) 9 เดือน - 1 เดือน ติดตามผลข้างเคียงของการรักษา - หากมีอาการของตับอักเสบให้ตรวจตรวจ AST, ALT พิจารณาหยุดยา INH หากมีผลข้างเคียง กรณีผล TST เป็นลบ พิจารณาทำซ้ำทุก 1 ปี - ผู้ต้องขังในเรือนจำให้ทำ TST ร่วมกับการคัดกรอง -กรณีผล TST ลบ < 5 มม. ให้ IPT (ยา INH) 9 เดือน เป็นวัณโรค ติดตามอาการ *คัดกรองอาการสงสัยวัณโรค ไอไม่มีสาเหตุ เหงื่อออกผิดปกติตอนกลางคืน ไข้ภายใน 1 เดือน น้ำหนักลด (ตั้งแต่ 2 อาการขึ้นไป) ไอเป็นเลือดหรือไอนานกว่า 2 สัปดาห์ ข้อพิจารณา 1. ก่อนเริ่มให้ INH ควรมีผลเอกซเรย์ปอดปกติภายในไม่เกิน 3 เดือน 2. ระหว่างการให้ INH จะตรวจเอกซเรย์และห้องปฏิบัติการเมื่อมีอาการผิดปกติ 3. หลังการให้ INH ครบ 9 เดือน ไม่จำเป็นต้องตรวจเอกซเรย์และห้องปฏิบัติการเพิ่ม 4. การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีให้ปฏิบัติตามแนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี

72 การคัดกรองวัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวี ในการของบชดเชยบริการ สปสช
การคัดกรองวัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวี ในการของบชดเชยบริการ สปสช. (ตามมติที่ประชุมกับรมว.)   ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายเก่า CXR ทุกราย เป้าหมาย 100 % verbal screening เป้าหมาย 100 % คัดกรอง พบ 1 ใน 4 ข้อไอ ไข้ เหงื่อออกกลางคืน นน.ลด เป็น TB ไม่เป็น TB ไม่มีอาการสงสัย รักษา TB ทำ TST รักษาภายใน 6 เดือน และหรือ CD4 < 200 cells/μl เฝ้าระวังต่อ ซักประวัติทุกครั้งที่มารับยา CXR เป็น LTBI ไม่เป็น LTBI เป็น TB ไม่เป็น TB ของบฯ รักษา LTBI เฝ้าระวังต่อ ซักประวัติทุกครั้งที่มารับยา รักษา TB เฝ้าระวังต่อ ซักประวัติทุกครั้งที่มารับยา

73 ความท้าทาย การพัฒนาคุณภาพบริการ
เป้าหมาย การยุติเอดส์ STI ระบบบริการที่ซับซ้อน ภาระงานประจำ สังคมที่ซับซ้อน เปลี่ยนเร็ว กลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่เข้าถึงยากกว่าเดิม งบประมาณจำกัด

74 การจัดบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวีในรูปแบบเครือข่ายบริการสุขภาพ
คุณภาพชีวิต ผู้ติดเชื้อ ครอบครัว ชุมชน กลุ่มเสี่ยง Test Treat Retain (Pos) Patient Center Care (Differentiated Care&Task Sharing) Friendly Service Reach Recruit Retain (Neg) Reach Recruit Test (คัดกรอง) Treat (รับส่งต่อ) Retain(Neg) 3 90 รู้สถานะ รักษา กดไวรัส เป้าหมาย ลดตาย ลดติด ลดตีตรา ลดโรคร่วม STI TB ภาคีเครือข่าย - ภาคประชาสังคม - อาสาสมัคร - พชอ. DHS ฯลฯ Reach Recruit Test Retain(Neg) ลดการตีตรา เลือกปฏิบัติ ระบบจัดการทรัพยากร

75 เปิดใจ...เข้าใจเอชไอวี เราเป็นเพื่อนกันได้

76 นิยามการตีตราและการเลือกปฏิบัติ
การตีตรา (Stigmatization) กระบวนการทางสังคมในบริบทเชิงอำนาจที่ลดคุณค่าบุคคล/กลุ่มบุคคล ส่งผลให้มีเจตคติ ความเชื่อ พฤติกรรมเชิงลบ ต่อบุคคล/กลุ่มบุคคลนั้น รูปแบบการตีตรา Perceived stigma (การรับรู้การตีตรา) ตระหนักหรือรับรู้ว่าเกิดการตีตราขึ้นในสังคม Anticipated stigma (การตีตราที่คาดว่าจะเกิด) มีความคิด กังวลและรู้สึกกลัวว่าอาจเกิดเหตุการณ์ขึ้น ไม่ว่าจะมีขึ้นจริงหรือไม่ก็ตาม Experienced stigma (ประสบการณ์ถูกตีตรา) เหตุการณ์ถูกตีตรา รังเกียจที่เกิดขึ้นกับตนเอง Observed stigma (สังเกตพบการตีตรา) ประสบ/พบเหตุการณ์ตีตรา รังเกียจขึ้น Internalized/Self stigma (การตีตราตนเอง) การยอมรับการถูกตีตรา หรือตำหนิตัวเอง ว่าไม่เหมือนคนอื่น/ด้อยกว่าผู้อื่น Compound/double stigma (การตีตราซ้อน) การถูกตีตราเนื่องจากสถานะที่มากกว่า 1 สถานะ เช่นเป็นผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีดและติดเชื้อเอชไอวี Secondary stigma (การตีตราทุติยภูมิ) การต้องถูกตีตราเนื่องจากไปเกี่ยวข้องกับบุคคล/กลุ่มบุคคลที่ถูกตีตรา Enacted Stigma (พฤติกรรมตีตรา) พฤติกรรม เหตุการณ์การกระทำ ที่เป็นผลจากการตีตราแต่ (not legally actionable vs legally actionable, Discrimination) การเลือกปฏิบัติ (Discrimination) การปฏิบัติที่ไม่เท่าเทียมหรือไม่เป็นธรรมต่อปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มบุคคล จากสถานภาพการติดเชื้อเอชไอวีหรือการมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับผู้ติดเชื้อ สถานภาพทางเศรษฐกิจสังคม เพศและเชื้อชาติ เพศวิถี เพศสภาพ Sources: Stigmatization Process: Link, B.G. and J.C. Phelan “Conceptualizing Stigma.” Annual Review of Sociology:

77 ผลการสำรวจทัศนคติของประชาชนเกี่ยวกับเอชไอวี พ.ศ. 2557
ที่มา: Stigmatizing attitudes towards people living with HIV among general adult Thai population: Results from the 5th NHES

78 ลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ลดการเสียชีวิตจากเอดส์
ลดการตีตราและเลือกปฏิบัติ เพิ่มการเข้าถึงบริการ ประชาชนที่มีทัศนคติตีตราและเลือกปฏิบัติลดลงร้อยละ90 สถานบริการสุขภาพ คนทั่วไป HCW 23.7% สังเกตพบการไม่เต็มใจให้บริการหรือบริการต่อผู้ติดเชื้อด้อยคุณภาพกว่าทั่วไปของบุคคลากรในสถานพยาบาล HCW 60.9% มีความกลัว/กังวลที่จะติดเชื้อหากสัมผัสเสื้อผ้า/ทำแผล/เจาะเลือดผู้ติดเชื้อ HCW 53.7% มีการป้องกันตนเองเกินจำเป็น เมื่อต้องเกี่ยวข้องกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี HCW 84.5% มีทัศนคติเชิงลบต่อผู้ติดเชื้ออย่างน้อย 1 ข้อจาก 5 ข้อ 58.4% มีเจตคติรังเกียจผู้มีเชื้อเอชไอวี (รู้สึกรังเกียจที่จะซื้ออาหารจากผู้มีเชื้อเอชไอวี หรือ คิดว่าเด็กมีเชื้อเอชไอวีไม่ควรเรียนร่วมห้องกับเด็กคนอื่น สถานศึกษา สถานที่ทำงาน วัด ชุมชน MSM TG 12.8% 18.9% ประสบการณ์ถูกตีตราในที่ทำงาน/สถานศึกษา PLHIV ไม่อนุญาตให้บวชพระ PLHIV ขับไล่ออกจากชุมชน การตีตราภายนอก PLHIV 12.1% เคยถูกปฏิเสธการรักษาหรือเลือกปฏิบัติโดยจัดบริการเป็นคิวท้ายหรือเอาใจใส่น้อยกว่าผู้ป่วยอื่น PLHIV 24.5% เคยถูกให้ตรวจเลือดก่อนรักษาหรือเปิดเผยผลเลือด โดยไม่ขอการยินยอม หรือทำสัญลักษณ์ในเอกสาร PLHIV ปฏิเสธรับเข้าเรียน PLHIV ปฏิเสธรับเข้าทำงาน / ให้ออกจากงาน กลไกสิทธิ MSM TG MSW FSW 8.9% 9.9% 6.6% 6.2% ประสบการณ์ถูกตีตราในสถานบริการสุขภาพ ผู้ที่ถูกตีตรา การตีตราตนเอง PLHIV 31.4% มีการตีตราตนเอง PLHIV 13.0% เคยเลี่ยงหรือไปรับบริการช้า เนื่องจากกลัวว่าจะถูกรังเกียจ MSM TG MSW FSW 19.4% 22.1% 19.9% 52.2% การตีตราตนเอง 7.9% 7.4% 10.0% 1.8% เคยตัดสินใจไม่ไปสถานพยาบาลหรือไปช้ากว่าทีควรเพราะกลัวถูกตีตรา การสำรวจในประชาชนทั่วไป (NHES V) การสำรวจในสถานบริการสุขภาพ การสำรวจในกลุ่ม KPs (IBBS) รายงานเรื่องร้องเรียน (เฉพาะที่มีบันทึก)

79 ชุดการดำเนินงาน 3 x 4 เพื่อส่งเสริมสถานบริการสุขภาพที่ปราศจาก S&D
คณะกรรมการบริหารหรือที่เกี่ยวข้องของโรงพยาบาล กำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติเพื่อลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติในโรงพยาบาล ประชุมติดตามความก้าวหน้าและสรุปผลการดำเนินงานทุก 3-4 เดือน ทีมคณะทำงาน/ทีมแชมป์เปี้ยน มาตรการเชื่อมประสานกับชุมชน มาตรการเชิงโครงสร้าง มาตรการเชิงบุคคล จัดกิจกรรมเชื่อมประสาน จัดกิจกรรมเพื่อปรับจัดระบบ จัดกิจกรรมเรียนรู้รายบุคคล การรวบรวมข้อมูล Baseline + Endline การจัดทำแผนปฏิบัติการของ รพ. การจัดประชุมกรณีศึกษาเพื่อปรับปรุงระบบบริการ/การทำงาน การกำหนดแนวปฏิบัติเรื่องเอดส์ในที่ทำงาน และการให้บริการที่ปราศจากการตีตราและเลือกปฏิบัติ การประชุมทีมอย่างน้อยทุก 2-3 เดือน การจัดอบรมสร้างความเข้าใจเรื่องการตีตราและเลือกปฏิบัติ (อย่างน้อย 50%) + ทบทวนแนวปฏิบัติ การจัดอบรมกลุ่มเล็ก เฉพาะ:เรื่องหรือเฉพาะกลุ่ม (บางแผนก) หรือการอบรมเพื่อฟื้นฟู/การอบรมเจ้าหน้าที่ใหม่ การเรียนรู้ผ่าน E-learning กลไกการคุ้มครองสิทธิระดับจังหวัด การส่งต่อ และรับเรื่อง ชุดการดำเนินงาน 3x4 เพื่อส่งเสริมสถานบริการสุขภาพที่ปราศจากการตีตราและเลือกปฏิบัติ โดย 3 หมายถึงมาตรการ 3 ส่วนที่ต้องดำเนินการควบคู่กันไป ประกอบด้วย 1) มาตรการเชิงบุคคล 2) มาตรการเชิงโครงสร้างหรือระบบ และ 3) มาตรการเชื่อมประสานระหว่างสถานบริการสุขภาพกับชุมชน เพื่อจัดการกับปัจจัย 4 ด้าน ได้แก่ 1) ความตระหนักรู้ (เพราะหลายกรณีเกิดขึ้นจากความไม่รู้ไม่ตระหนักว่าสิ่งที่ทำนั้นเป็นการตีตราเลือกปฏิบัติ) 2) ความกลัวการติดเชื้อเอชไอวี 3) การตีตราทางสังคมในเชิงตัดสิน เหมารวม ตำหนิ ทำให้อาย 4) สภาวะแวดลล้อมในสถานบริการสุขภาพ เช่น นโยบาย กฎ ระเบียบ แนวปฏิบัติ (อาจจะเป็นลายลักษณ์อักษร หรือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติ ด้วยความเคยชินก็ได้) ชุมชน ผู้รับบริการ ประชากรหลัก การรับฟังความคิดเห็น Empowerment Self-stigma การดำเนินงานตามมาตรการหลัก 3 มาตรการ มาตรการระดับบุคคล มาตรการระดับโครงสร้าง/ระบบ มาตรการเชื่อมประสานระหว่างสถานบริการสุขภาพ-ชุมชน ปัจจัย 4 ด้าน เพื่อลดการตีตราและเลือกปฏิบัติ ความไม่ตระหนักรู้ ความกลัวการติดเชื้อเอชไอวี ทัศนคติทางสังคม ในเชิงเหมารวม ตัดสิน ตำหนิ สภาวะแวดล้อมในสถานบริการสุขภาพ

80

81

82 ผลการดำเนินงาน โครงการสร้างความเข้าใจ และลดการตีตราและเลือกปฏิบัติและการคุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ ปีงบประมาณ 2560 ผลการดำเนินงาน การส่งเสริมการดำเนินงานตามแนวปฏิบัติแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและบริหารจัดการด้านเอดส์ในสถานที่ทำงาน องค์กรที่สมัครเข้าร่วมโครงการฯ ปี 59 จำนวน 124 องค์กร ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับเขตจำนวน 86 องค์กร คิดเป็นร้อยละ 90.5 และได้รับรางวัลระดับประเทศ (ชนะเลิศ รองชนะเลิศ และดีเด่นระดับเขต) จำนวน 26 องค์กร องค์กรที่สมัครเข้าร่วมโครงการฯ ปี 60 จำนวน 151 องค์กร แบ่งเป็น 4 ประเภท - ด้านสารธารณสุข จำนวน 45 องค์กร - ด้านการศึกษา จำนวน 53 องค์กร - ด้านองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 47 องค์กร - ด้านอื่นๆ จำนวน 6 องค์กร จัดทำคู่มือการแนวทางการดำเนินงานองค์กร “ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ในที่ทำงาน” ปี 2560 จัดทำชุดสื่อการจัดกิจกรรมส่งเสริมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี การประชาสัมพันธ์โครงการผ่านเว็ปไซต์ สอวพ.ทาง แฟนเพจ facebook “โครงการองค์กร "ดูแล ห่วงใย ใส่ใจ ป้องกันเอดส์ในที่ทำงาน” เยี่ยมประเมินองค์กรฯ ที่สมัครเข้าร่วมโครงการฯ โดยทีมงานของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12

83 Update / เรื่องฝาก Phase Out d4T
- WHO เสนอแนะให้เลิกใช้เนื่องจากผลข้างเคียง - เหตุผลในการใช้ ที่ยังคงอยู่คือ ยังไม่มีผลข้างเคียง ผู้ป่วยและแพทย์ยังต้องการใช้ มีผลข้างเคียงจากยาตัวอื่น จึงต้องใช้ d4T - จากการประชุมร่วมฯ มีมติ ให้ยกเลิกการใช้ภายในสิ้น ปี 2561 และองค์การเภสัชกรรมเลิกผลิตแล้ว จะมีการทำหนังสือแจ้งพื้นที่เพื่อปรับเปลี่ยนสูตรยา และยกเลิกการใช้ภายในสิ้นปีนี้ การคัดกรองและรักษาไวรัสตับอักเสบซี (ดังสไลด์)

84 การจ่ายชดเชย กรณีการตรวจคัดกรอง
และการตรวจยืนยันไวรัสตับอักเสบซี ปีงบประมาณ 2561 แผนงานสนับสนุนระบบบริการเอดส์ วัณโรคและผู้ติดเชื้อ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2561

85 การจ่ายชดเชยกรณีตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV
2

86 การจ่ายชดเชยกรณีตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV
งบ ๖๗,๓๒๒,๕๔๔ บาท 3

87 ประเภทบริการ : บริการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสและบริการที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายชดเชยกรณีตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV ประเภทบริการ : บริการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสและบริการที่เกี่ยวข้อง การตรวจคัดกรองและการตรวจยืนยันไวรัสตับอักเสบซี ในผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ และกลุ่มเสี่ยงการติดเชื้อ 4

88 เกณฑ์ และเงื่อนไขการเบิกจ่ายชดเชย
การจ่ายชดเชยกรณีตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV เกณฑ์ และเงื่อนไขการเบิกจ่ายชดเชย 6

89 ผู้มีสิทธิได้รับบริการ
การจ่ายชดเชยกรณีตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV ผู้มีสิทธิได้รับบริการ มีสิทธิ UC หรือสิทธิว่าง และมีข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้ 1) ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ลงทะเบียนรักษาในโปรแกรม NAP 2) ผู้ใช้สารเสพติดด้วยวิธีฉีดที่มารับบริการ VCT ทุกราย 7

90 การจ่ายชดเชยกรณีตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV
สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ การตรวจคัดกรอง (Anti HCV) ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งดังนี้ 1.1) Rapid test หรือ 1.2) เครื่องอัตโนมัติ การตรวจยืนยัน (HCV Viral load : HCV RNA-Quantitative) การตรวจประเมินก่อนการรักษา 2 รายการ 3.1) ตรวจสภาพความยืดหยุ่นในตับ ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งดังนี้ 3.1.1) Transient elastography (Fibroscan ®) หรือ 3.1.2) Fibro marker panel 3.2) ตรวจหาสายพันธุ์ไวรัสตับอักเสบซี HCV genotype) 8

91 การจ่ายชดเชยกรณีตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV
A B 1. ตรวจคัดกรอง (Anti HCV) 2. ตรวจยืนยัน (HCV viral load) Not detected1 Not detected2 - ve2 <5,000 IU/ml2 C + ve 3. ตรวจประเมินก่อนการรักษา >=5,000 IU/ml 1) Fibro marker panel 3.2) ตรวจหาสายพันธุ์ไวรัส (HCV Genotype) 3.1) ตรวจความยืดหยุ่นในตับ >= F2 < F2 2 หรือ 2) Fibroscan® A,B,C เบิกจาก NAP พิจารณาเกณฑ์การใช้ยาตามแนวทางกำกับการใช้ยา No >=7 kPa >=5และ<7 kPa 2 <5 kPa 3 1 =นัดตรวจซ้ำ >6 เดือน และ <12 เดือน เพื่อตรวจยืนยันการติดเชื้อ 2 = นัดตรวจซ้ำ >12 เดือน หากมีความเสี่ยงในภายหลัง = นัดตรวจซ้ำ >24 เดือน 9

92 การจ่ายชดเชยกรณีตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV
A B 1 ตรวจคัดกรอง (Anti HCV) 2 ตรวจยืนยัน (HCV viral load) Not detected1 Not detected2 - ve2 <5,000 IU/ml2 + ve C >=5,000 IU/ml 3 ตรวจประเมินก่อนการรักษา 1) Fibro marker panel 3.2) ตรวจหาสายพันธุ์ไวรัส (HCV Genotype) 3.1) ตรวจความยืดหยุ่นในตับ >= F2 < F2 2 หรือ 2) Fibroscan® พิจารณาเกณฑ์การใช้ยาตามแนวทางกำกับการใช้ยา A,B เบิกจาก NAP C เบิกจาก จ(2) Yes >=7 kPa >=5และ<7 kPa 2 <5 kPa 3 1 =นัดตรวจซ้ำ >6 เดือน และ <12 เดือน เพื่อตรวจยืนยันการติดเชื้อ 2 = นัดตรวจซ้ำ >12 เดือน หากมีความเสี่ยงในภายหลัง 3 = นัดตรวจซ้ำ >24 เดือน 10

93 การจ่ายชดเชยกรณีตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV
การตรวจคัดกรอง (Anti HCV) ด้วยเครื่องอัตโนมัติ หรือ Rapid test การตรวจยืนยัน (HCV Viral load : HCV RNA-Quantitative) การตรวจประเมินก่อนการรักษา 2 รายการ 3.1) ตรวจสภาพความยืดหยุ่นในตับ ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งดังนี้ 3.1.1) Transient elastography (Fibroscan ®) หรือ 3.1.2) Fibro marker panel 3.2) ตรวจหาสายพันธุ์ไวรัสตับอักเสบซี HCV genotype) 11

94 ตรวจประเมินก่อนการรักษา
การจ่ายชดเชยกรณีตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV 3) รายละเอียดของการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจคัดกรอง (Anti HCV) ตรวจยืนยัน (HCV VL) ตรวจประเมินก่อนการรักษา การดำเนินการ Fibroscan® Fibro marker -ve N -ไม่พบเชื้อ HCV หากมีความเสี่ยงเกิดขึ้นในภายหลัง สามารถตรวจซ้ำได้ ห่างจากครั้งล่าสุดมากกว่า 12 เดือน +ve 1) >=5,000 IU/ml -ผล <5 kPa -นัดตรวจ Fibro scan ซ้ำ ห่างจากครั้งล่าสุดมากกว่า 24 เดือน -ผล >=5 kPa และ <7 kPa < F2 -นัดตรวจ Fibro scan ซ้ำ ห่างจากครั้งล่าสุดมากกว่า 12 เดือน -ผล >=7 kPa >=F2 -เข้าสู่กระบวนการรักษา โดยตรวจ Genotype และพิจารณาให้เป็นไปตามแนวทางกำกับการใช้ยารักษาโรคไวรัสตับอักเสบซี 12

95 การจ่ายชดเชยกรณีตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV
3) รายละเอียดของการตรวจทางห้องปฏิบัติการ (ต่อ) ตรวจคัดกรอง (Anti HCV) ตรวจยืนยัน (HCV VL) ตรวจประเมินการรักษา การดำเนินการ Fibroscan® Fibro marker 2) <5,000 IU/ml N -นัดตรวจ HCV VL ซ้ำ ห่างจากครั้งล่าสุดมากกว่า 12 เดือน 3) Not detected -นัดตรวจ HCV VL ซ้ำ ห่างจากครั้งล่าสุดมากกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 12 เดือน หากได้ผล not detect อีกถือว่าไม่ติดเชื้อ HCV หากมีความเสี่ยงภายหลังสามารถตรวจซ้ำได้ ห่างจากครั้งล่าสุดมากกว่า 12 เดือน 13

96 การจ่ายชดเชยกรณีตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV
สปสช. จ่ายชดเชยแบบเหมาจ่าย ตามรายการและราคาดังต่อไปนี้ ลำดับ การตรวจ รายการ ราคา (บาท) 1 ตรวจคัดกรอง -Anti HCV - ใช้เครื่องอัตโนมัติ 300 / test หรือ - Rapid test 70 / test 2 ตรวจยืนยัน -HCV Viral load 1,500 / test 3 ตรวจประเมินการรักษา -ตรวจสภาพความยืดหยุ่นในตับ -Transient elastography (Fibroscan ®) 2,000 / ครั้ง หรือ –Fibro marker panel 2,000/ครั้ง -ตรวจหาสายพันธุ์ไวรัส -HCV genotype 2,800/ครั้ง หมายเหตุ : ) ราคาชดเชยเป็นการจ่ายชดเชยต่อการรู้ผล 2) ราคาชดเชยรวมค่าวัสดุอุปกรณ์เจาะ/เก็บเลือดและค่าขนส่ง 3) หากการตรวจกรณีเดียวกันมีหลายวิธีให้เลือก สปสช. จะชดเชยเพียง 1 วิธีการตรวจ เท่านั้น 11 14

97 คุณสมบัติหน่วยบริการ
การจ่ายชดเชยกรณีตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV คุณสมบัติหน่วยบริการ หน่วยบริการที่ผ่านการประเมินขึ้นทะเบียนศักยภาพ ในการบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวีทุกกรณี และสำรวจเพิ่มเติมในการให้บริการทั้งการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV ตามรายการที่ สปสช.กำหนด 15

98 เงื่อนไขการเบิกจ่ายชดเชย
การจ่ายชดเชยกรณีตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV เงื่อนไขการเบิกจ่ายชดเชย เป็นบริการที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 หน่วยบริการส่งข้อมูลเบิกจ่ายผ่านโปรแกรม NAP ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการตรวจคัดกรอง ตรวจยืนยัน ตรวจประเมินก่อนการรักษา ที่เป็นไปตามเกณฑ์และเงื่อนไข หน่วยบริการที่ให้บริการจะได้รับการชดเชยแบบเหมาจ่ายตามรายการ และราคา จาก สปสช. โดยไม่มีส่วนเกินที่ต้องเรียกเก็บจากต้นสังกัด กรณีบริการที่นอกเหนือข้อ 3) รวมอยู่ในงบเหมาจ่ายรายหัว หรือเป็นไปตามประกาศของ สปสช. ผู้มีสิทธิควรเข้ารับบริการที่หน่วยบริการประจำ แต่หากมีความจำเป็นก็สามารถเข้ารับบริการที่หน่วยบริการอื่นได้ 16

99 การจ่ายชดเชยกรณีตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV
การส่งข้อมูลเบิกจ่ายชดเชย 1) เป็นข้อมูลบริการตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 2) หน่วยบริการบันทึกข้อมูลในโปรแกรม NAP โดยสามารถส่งข้อมูลได้ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2561 รายละเอียดการบันทึกข้อมูลสามารถ download ได้ที่ หน้า website โปรแกรม NAP 3) สปสช.ชดเชยค่าบริการที่บันทึกผ่านโปรแกรม NAP โดยตัดยอดข้อมูลและประมวลผลการจ่าย ชดเชยเป็นรายเดือน ตามวันที่ตัดยอดข้อมูลในตารางรอบการประมวลผลการชดเชยบริการ ปีงบประมาณ 2561 17

100 รอบการประมวลผลชดเชยการให้บริการ ปีงบประมาณ 2561
การจ่ายชดเชยกรณีตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV รอบการประมวลผลชดเชยการให้บริการ ปีงบประมาณ 2561 ลำดับ เดือนที่ส่งข้อมูล (Sent date) วันที่ตัดข้อมูล 1 เมษายน 2561 30 เมษายน 2561 2 พฤษภาคม 2561 31 พฤษภาคม 2561 3 มิถุนายน 2561 30 มิถุนายน 2561 4 กรกฎาคม 2561 31 กรกฎาคม 2561 5 สิงหาคม 2561 31 สิงหาคม 2561 6 กันยายน 2561 25 กันยายน 2561 18

101 แผนการดำเนินงาน การจ่ายชดเชยกรณีตรวจคัดกรองและตรวจยืนยัน HCV ลำดับ
กิจกรรม เวลา 1 -ชี้แจงแนวทางให้กับ สปสช. เขต (Tele conference) -ทำหนังสือแจ้งเวียนหน่วยบริการ / สปสช.เขต -15 ก.พ.61 -ภายในเดือน ก.พ.61 2 -โปรแกรม NAP เปิดรับข้อมูลการเบิกจ่ายจากหน่วยบริการ -1 เม.ย. 61 3 -โปรแกรม NAP ประมวลผล/ออกรายงานจ่ายชดเชย -พ.ค.61 19

102 Together we will END AIDS STI and TB


ดาวน์โหลด ppt การยุติปัญหาเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google