ทรัพยากรธรณี เรื่อง ดิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
Advertisements

A wonderful of Bioluminescence
พญ. วนัสริน ไมตรีมิตร 24 มิ.ย. 57
ดิน (Soils).
เขื่อน กับความต้องการของประเทศไทย
“ไม่มีสิ่งมีชีวิตชนิดใด ที่สามารถอยู่ได้ตามลำพัง”
ปัจจัยต่างๆที่มีอิทธิพลต่อการใช้น้ำของพืช
Lab 4: Kunzelstab Penetration Test
Energy Flow and Mineral Cycling
โปรแกรมประเมินค่าเสียหายทางสิ่งแวดล้อมบางประการหลังการทำลายป่าไม้
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
การใช้โปรตีนสกิมเมอร์
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
เกาะคิวชูแหล่งของภูเขาไฟ เพราะมีภูเขาไฟอยู่ เป็นจำนวนมาก ทำให้พื้นดินที่นี่มี ความอบอุ่น และยังเป็นแหล่งของ น้ำพุร้อน.
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา เรื่อง
การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ตามรอยครู :
ปฐพีศาสตร์ทั่วไป (General soil)
กรด-เบส Acid-Base.
Animation update.
Animation.
การจัดการดินและปุ๋ยสำหรับผักสวนครัว
อินทรียวัตถุในดิน (Soil Organic Matter).
ลำดับชั้นหิน.
หิน (ROCK).
งานปูน Cement work.
(Introduction to Soil Science)
ปฐพีศาสตร์ทั่วไป (General soil)
รายการวัสดุอ้างอิง (RM) และตัวอย่างควบคุม (Qc sample) สำหรับห้องปฏิบัติการ NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it.
อุตสาหกรรมการผลิตและ การใช้ประโยชน์จากโซเดียมคลอไรด์
(Introduction to Soil Science)
งานปูน Cement work.
การป้องกันกำจัด ด้วงหนวดยาวอ้อย
Soil Fertility and Plant Nutrition
การอบรมการใช้ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 1
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
การแบ่งเซลล์และวัฏจักรของเซลล์(3)
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
นางสาวเพ็ญศรี ท่องวิถี นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ
ทฤษฎีกรด-เบส โดย อาจารย์ วิชัย ลาธิ.
ข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โดย คณะทำงานจัดทำข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โครงการฝึกอบรมนักบริหารรุ่นใหม่ กรมอนามัย รุ่นที่ 1 ปีงบประมาณ 2558.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) ด้านการประมง
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
สรุปความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนบูรณาการสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
เบส (Base) • สารที่ทําปฏิกริ ิยากบั กรดแล้วได้เกลอื • มีรสฝาด หรือ ขม
Lec Soil Fertility and Plant Nutrition
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 3 ธรณีประวัติ.
สารละลายกรด-เบส.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 ธันวาคม 2560
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรมรชาติ
ระบบบำบัดน้ำเสียแบบ SBR
การกำจัดขยะและสารเคมี
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
ลักษณะเนื้อหินของหินแปร (Texture of Metamorphic Rocks)
ปัจจัยต่างๆเกี่ยวกับเทคโนโลยีและการพัฒนา ที่มีผลกระทบกับทรัพยากร
สมบัติของ สารละลายกรดเบส
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
เรื่อง การผลิตอาหารปลอดภัย
มาทำความรู้จักกับ เห็ดเผาะดาว.
บทที่ 4 อาหารโคเนื้อ.
น.พ. ธิติวัฒน์ ประชาธำรงพิวัฒน์
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทรัพยากรธรณี เรื่อง ดิน

องค์ประกอบสำคัญของดิน อนินทรียวัตถุ  ได้แก่ส่วนของแร่ต่างๆ ภายในหินซึ่งผุพังสึกกร่อนเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย โดยทางเคมี ฟิสิกส์ และชีวเคมี  อินทรียวัตถุ ได้แก่ส่วนที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังหรือสลายตัวของซากพืชซากสัตว์ที่ทับถมกัน น้ำ ในสารละลายซึ่งพบอยู่ในช่องระหว่างเม็ดดิน หรืออนุภาคดิน       อากาศ อยู่ในที่ว่างระหว่างเม็ดดินหรืออนุภาคดิน ก๊าซส่วนใหญ่ที่พบทั่วไปในดิน ได้แก่ ไนโตรเจน ออกซิเจน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์           น้ำหรือ อนินทรียวัตถุหรือ ปริมาตรของแต่ละส่วนประกอบของดินที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูก

หน้าตัดของดิน

ให้นักเรียนทำกิจกรรม การสำรวจหน้าตัดข้างของดิน

ชุดดินในประเทศไทย มี 20 กลุ่มหลัก เช่น ชุดดินโคราช ชุดดินลำปาง

ปัจจัยในการเกิดดิน ภูมิอากาศ พืชและสิ่งมีชีวิตในดิน ภูมิประเทศ หินต้นกำเนิด ระยะเวลา

2. พืชและสิ่งมีชีวิตในดิน (living organisms) 1. ภูมิอากาศ (climate) เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุด ในเขตหนาวหน้าตัดดินจะน้อยและ ดินตื้น ส่วนเขตร้อนชื้นส่งผลต่อการย่อยสลายของจุลินทรีย์ ดินจะลึก และผ่านการผุพังอยู่กับที่มาสูง 2. พืชและสิ่งมีชีวิตในดิน (living organisms) ทำให้เกิดความแตกต่างกันของหน้าตัดดิน เช่น การสะสม อินทรียวัตถุ การผสมคลุกเคล้าภายในหน้าตัดดิน การหมุนเวียนของ ธาตุอาหารพืช และความคงทนของโครงสร้างดิน ดังนั้น ในที่แห้งแล้ง พืชมีน้อย อินทรียวัตถุมีน้อย ดินสร้างตัวได้ช้า

3. ภูมิประเทศ พื้นภูมิประเทศที่มีความชันจะเกิดการกร่อน ทำให้ชั้นดินบาง ส่วนในพื้นที่ราบดินจะมีความหนามากกว่า

4. หินต้นกำเนิด 5. ระยะเวลา มีอิทธิพลต่อสมบัติของดิน เช่น สีดิน เนื้อดิน ซึ่งมีผลต่อการ ควบคุมการไหลของน้ำลงไปตามความลึกของดิน มีผลต่อการผุพังอยู่ กับที่ และส่งผลถึงพืชพรรณธรรมชาติที่เจริญเติบโตในบริเวณนั้น 5. ระยะเวลา ดินอายุนานกว่ามีสภาพหน้าตัดดินที่สมบูรณ์กว่า แต่ถ้าหากเกิด ในภูมิอากาศที่ทำให้สลายตัวเร็ว เช่น เขตร้อนชื้น หน้าตัดดินจะ ค่อนข้างสมบูรณ์กว่าแม้จะเป็นดินอายุน้อย

สมบัติบางประการของดิน เนื้อดิน สมบัติที่บ่งถึงปริมาณอนุภาคอนินทรีย์ต่างๆของดิน ได้แก่ เม็ดทราย (sand) เม็ดทรายแป้ง (silt) ดินเหนียว (clay) ดูตารางหน้า 47 สีของดิน บอกถึงสภาพทางเคมีและทางกายภาพของดิน เช่น ฮิวมัส ทำให้ดินมีสีคล้ำ ธาตุเหล็ก อาจทำให้ดินมีสี เทา แดง หรือเหลือง ขึ้นอยู่กับสารประกอบและความชื้นในดิน ความเป็นกรด-เบส pH = 7 ดินเป็นกลาง pH > 7 ดินเป็นเบส (ดินฝาด) pH < 7 ดินเป็นกรด (ดินเปรี้ยว) ดูตารางหน้า 49

ให้นักเรียนทำกิจกรรม การศึกษาสมบัติบางประการของดิน

การปรับปรุงคุณภาพดิน ดินที่ขาดความอุดมสมบูรณ์ เติมอินทรียวัตถุลงดินอย่างสม่ำเสมอ สามารถช่วยให้ดินมีรูพรุน และร่วนซุยมากขึ้น หรือมีการแลกเปลี่ยนแก๊ส และระบายน้ำได้ดีขึ้น อีกด้วย ดินเปรี้ยว ใส่สารที่เป็นด่างลงไปในดินให้มีปริมาณเท่ากับความเป็นกรด ทั้งหมดของดิน สารที่ใช้กันทั่ว ๆ ไปได้แก่ ปูนขาว (Ca(OH)2) ดินมาร์ล (CaCO3)

การปรับปรุงคุณภาพดิน ดินเค็ม ใช้น้ำจืดชะล้างแล้วทำทางระบายน้ำเกลือทิ้ง หรือใส่แคลเซียม ซัลเฟต หรือกำมะถันผงเพื่อปรับสภาพดิน ให้กลายเป็นเกลือ โซเดียมซัลเฟตที่น้ำชะล้างออกได้ง่าย ดินฝาด เป็นสภาพของดินที่แก้ไขปรับปรุงได้ยาก มีความซับซ้อนมาก การปรับปรุงคุณภาพต้องใช้หลายๆวิธีประกอบกันขึ้นอยู่กับ คุณสมบัติดินแต่ละพื้นที่ (ใส่อินทรียวัตถุ หรือสารที่เป็นกรด)

ดินที่เสื่อมโทรม ดินที่ทำการเพาะปลูก ดินที่ถูกตักเอาหน้าดินออกไป โดยการปลูกพืชชนิดเดียวซ้ำๆ ไม่มีการใส่ปุ๋ย ดินที่ถูกตักเอาหน้าดินออกไป การเผาป่า การใช้ปุ๋ยเคมี และยาฆ่าแมลง การใช้วัสดุที่ไม่สามารถย่อยสลายได้

ดินที่เสื่อมโทรม

แนวทางการอนุรักษ์ดิน การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การปลูกพืชคลุมดิน การใช้ปุ๋ยพืชสด การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชตามแนวระดับ / ขั้นบันได การปลูกพืชสลับเป็นแถบ อื่นๆ

การใส่ปุ๋ยอินทรีย์

การปลูกพืชคลุมดิน

การใช้ปุ๋ยพืชสด

การปลูกพืชหมุนเวียน

การปลูกพืชขั้นบันได

ให้นักเรียนทำกิจกรรม การสำรวจเกี่ยวสภาพปัญหาและการใช้ประโยชน์ที่ดินในท้องถิ่น

ทรัพยากรธรณี เรื่อง หิน

ลำดับแนวความคิดต่อเนื่อง โลกเป็นดาวเคราะห์หิน ประกอบด้วย หิน ดิน น้ำ อากาศ และสิ่งมีชีวิต หินมีหลายชนิด แต่ละชนิดมีลักษณะแตกต่างกัน หินจำแนกเป็น 3 กลุ่ม คือ หินอัคนี, หินตะกอน/หินชั้น และ หินแปร หินประกอบด้วย แร่ ซึ่งอาจมีแร่ชนิดเดียวหรือหลายชนิด รวมอยู่ หินมีการผุพัง มีการกร่อน จนกลายเป็นองค์ประกอบของดิน

รู้จักหิน เราเคยพบหินที่ไหนบ้าง เรารู้ได้อย่างไรว่านั่นคือ หิน หินที่เราเคยพบแต่ละที่ เหมือนหรือแตกต่างกัน หินมีการเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่

เราเคยพบหินที่ไหนบ้าง

เราเคยพบหินที่ไหนบ้าง

เราเคยพบหินที่ไหนบ้าง

รู้ได้อย่างไรว่าเป็นหิน มีรูปร่าง รูปทรง แข็ง มีน้ำหนัก เปลี่ยนแปลงได้ มีการกร่อน

ประเภทของหิน หิน (Rocks)เป็นส่วนหนึ่งของเปลือกโลกส่วนที่เป็นของแข็ง หินประกอบขึ้นด้วยผลึกแร่หลายชนิดรวมกัน หินแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. หินอัคนี มี 2 ลักษณะ - ลักษณะที่แข็งตัวอยู่ภายในเปลือกโลก เรียกว่า หินอัคนีแทรกซอน เย็นตัวช้า ผลึกหยาบ -ลักษณะที่พ้นเปลือกโลกออกมาแข็งตัวตามผิวโลก เรียกว่า หินอัคนีพุ เย็นตัวเร็ว ผลึกละเอียด

2. หินชั้นหรือหินตะกอน เป็นหินที่เกิดจากการทับถมของตะกอนโคลนตมและวัตถุ ต่างๆจนกลายเป็นหินแข็ง เช่น หินทราย เกิดจากการทับถมของ ทราย หินดินดานเกิดจากการทับถมของโคลนตม หินปูนเกิดจาก การทับถมของแคลเซียมคาร์บอเนต มักพบฟอสซิล(ซากดึกดำ บรรพ์) ลักษณะเด่น คือ มีลักษณะเป็นริ้วหรือเป็นชั้น บางชนิดทำ ปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก 3. หินแปร เป็นหินที่เกิดจากการแปรสภาพหรือการเปลี่ยนรูปร่างเนื่องจากถูก กดดันหรือบีบอัดจากแรงภายในและภายนอกโลก เช่นหินอ่อนแปร สภาพจากหินปูน หินชนวนแปรสภาพจากหินดินดาน เป็นต้น

หินอัคนีพุ หินอัคนีแทรกซอน หินไรโอไลต์ หินแอนดีไซต์ หินบะซอลต์ หินอัคนีแทรกซอน หินแกรนิต หินไดออไรต์ หินแกรโบร

แร่ประกอบหินแกรนิต ฮอร์นเบรนด์ (สีดำ) ควอรตซ์ (สีเทาใส) เฟลด์สปาร์ (สีขาวขุ่น) แร่ประกอบหินแกรนิต

แหล่งกำเนิดหินอัคนี

หินตะกอน หินกรวดมน หินทราย หินดินดาน หินตะกอนเคมี หินปูน หินเชิร์ต

การคัดขนาดตะกอนด้วยการพัดพาของน้ำ ตะกอนขนาดใหญ่กับตะกอนขนาดเล็กแบบใดเกิดการพัดพาไปได้ไกลกว่ากัน??

ขั้นตอนที่ตะกอนกลับคืนเป็นหิน

สัดส่วนของหินตะกอนบนเปลือกโลก

หินแปร หินแกรนิต หินไนส์ หินทราย หินควอร์ตไซต์ หินดินดาน หินชนวน หินปูน หินอ่อน

วัฏจักรของหิน

แบบฝึกหัดเรื่อง วัฏจักรของหิน 1 หินชนิดแรกที่เกิดขึ้นในโลก คือ 2 หินอัคนีกลายเป็นหินตะกอนได้อย่างไร 3 หินตะกอนกลายเป็นหินแปรได้อย่างไร 4 หินแปรกลายเป็นหินอัคนีได้อย่างไร 5 หินอัคนีกลายเป็นหินแปรได้อย่างไร 6 หินแปรกลายเป็นหินตะกอนได้อย่างไร 7 หินตะกอนกลายเป็นหินอัคนีได้อย่างไร