งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สมบัติของ สารละลายกรดเบส

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สมบัติของ สารละลายกรดเบส"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สมบัติของ สารละลายกรดเบส

2 สารละลายกรด กรด (acid) • สารที่มีธาตุไฮโดรเจนเป็ นองค์ประกอบ
• สารที่มีธาตุไฮโดรเจนเป็ นองค์ประกอบ • ละลายนํ้าแล้วแตกตัวให้ H+ • H+ เมื่อละลายนํ้าแล้วจะแตกตัวให้ H3O+ (ไฮโดรเนียมไอออน)

3 สารละลายกรด เช่น กรดเกลอื กรดแอซิติก HCl H+ + Cl- CH3COOH
H+ + CH3COO -

4 สมบตั ของสารละลายกรด • มีรสเปรี้ยว • มีฤทธ์ิกดั กร่อน
สมบตั ของสารละลายกรด • มีรสเปรี้ยว • มีฤทธ์ิกดั กร่อน • ค่า pH น้อยกว่า 7 • เปลยี่ นสีกระดาษลตมัสจากสีแดงเป็ นสีนํ้าเงิน • นําไฟฟ้ าได้ (สารละลายอเิ ล็กโตรไลต์)

5 สมบตั ของสารละลายกรด • ละลายนํ้าแล้วแตกตัวให้ H+ HCl(aq) + H2O(l)
สมบตั ของสารละลายกรด • ละลายนํ้าแล้วแตกตัวให้ H+ HCl(aq) + H2O(l) H3O+ (aq) Cl-(aq) HClO4(aq) H3O+(aq) ClO4-(aq) HNO3(aq) NO3-(aq) HMnO4(aq) MnO4-(aq) CH3COOH(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + CH3COO-(aq)

6 สมบตั ของสารละลายกรด • เปลยี่ นสีฟี นอล์ฟทาลนี จากสีแดง หรือ สีชมพู เป็ น ไม่มีสี • ทําปฏิกริ ิยากบั โลหะได้แก๊สไฮโดรเจน ยกเว้น ทองคํา ทองแดง ทองคําขาว เงิน ปรอท กรด + โลหะ เกลอื + แก๊สไฮโดรเจน Mg(s) + 2HCl(aq) Zn(s) + H2SO4(aq) MgCl2(aq) ZnSO4(aq) + H2(g)

7 FeCl2(aq) + H2(g) CaSO4(aq) + H2(g) 2AlCl3(aq) + 2H2(g)
สมบตั ของสารละลายกรด • ทําปฏิกริ ิยากบั โลหะได้แก๊สไฮโดรเจน ยกเว้น ทองคํา ทองแดง ทองคําขาว เงิน ปรอท FeCl2(aq) + H2(g) CaSO4(aq) + H2(g) 2AlCl3(aq) + 2H2(g) Fe(s) + 2HCl(aq) Ca(s) + H2SO4(aq) 2Al(s) + 6HCl(aq)

8 สมบตั ของสารละลายกรด • ทําปฏิกริ ิยากบั คาร์บอเนต เช่น หินปูน (CaCO3) เปลอื กไข่ จะได้แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ กรด + สารประกอบคาร์บอเนต เกลอื + นํ้า + แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ CaCO3(s) + 2HCl(aq) CaCl2(aq) + H2O(l) + CO2(g) NaHCO3(s) + HCl(aq) NaCl(aq) + H2O(l) + CO2(g)

9 สมบตั ของสารละลายกรด • ทําปฏิกิริยากับเบส ได้ เกลือ กับ นํ้า เรียกว่า ปฏิกิริยาสะเทิน กรด + เบส เกลอื + นํ้า NaOH(s) + HCl(aq) NaCl(aq) + H2O(l) Ba(OH)2(s) + H2SO4(aq) BaSO4(aq) + 2H2O(l)

10 ประเภทของกรด จําแนกตามการแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน (H+) เมื่อละลายนํ้า จําแนกได้เป็ น 2 พวก – กรดแก่ คือ กรดที่ละลายนํ้าแล้วแตกตัวให้ H+ ได้ 100% โดยไม่ ขน้ กบความเข้มข้น ได้แก่ HClO4 , HCl , HBr , HI , HNO3 , H2SO4 – กรดอ่อน คือ กรดที่เมื่อละลายนํ้าจะแตกตัวให้ H+ ได้ไม่ 100% เช่น H2CO3 , CH3COOH

11 ประเภทของกรด กรดอ่อน ถ้ามีความเข้มข้นกบสารละลายกรดแก่
• จะนําไฟฟ้ าได้ดน้อยกว่า • เกดปฏิกริ ิยากบั โลหะหรือเกลอื คาร์บอเนตได้ช้ากว่า • มี pH มากกว่ากรดแก่

12 จําแนกตามแหลง่ ทเี่ กดิ จําแนกได้เป็ น 2 พวก
ประเภทของกรด จําแนกตามแหลง่ ทเี่ กดิ จําแนกได้เป็ น 2 พวก – กรดอน ทรย์ี เป็ นกรดทไี่ ด้จากสิ่งมชี ีวติ จะม หี มู่ –COOH เป็ นองค์ประกอบ เช่น HCOOH , CH3COOH กรดอะมโน กรดแอสคอร์บกิ – กรดอนินทรย์ี เป็ นกรดทเ่ี กดิ จากแร่ธาตุ สามารถแบ่งออกได้ 2 ชนิด • กรดไฮโดร เป็ นกรดท่มี ธาตุี ไฮโดรเจน (H) เป็ นองค์ประกอบ • กรดออกซี เป็ นกรดท่มี ธาตุี ไฮโดรเจน (H) และ ออกซเจนิ (O) เป็ นองค์ประกอบ

13 ประเภทของกรด • กรดไฮโดร เป็ นกรดทมี่ ธี าตุไฮโดรเจน (H) เป็ นองค์ประกอบ เช่น HCl , HF , HBr • กรดออกซี เป็ นกรดทม่ี ธาตุไฮโดรเจน (H) และ ออกซเจิ น (O) เป็ นองค์ประกอบ เช่น HNO3 , H2CO3 , H2SO4 สามารถตรวจสอบกรดแร่และกรดอนิ ทรีย์โดยใช้เจนเชียนไวโอเลต ถ้าเป็ น กรดอนิ ทรีย์จะไม่เปลย่ี นสี ถ้าเป็ นกรดแร่จะเปลย่ี นสีจากสีม่วงเป็ นสีเขยี ว


ดาวน์โหลด ppt สมบัติของ สารละลายกรดเบส

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google