ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ศูนย์อนามัยที่ ๑ เชียงใหม่
อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 – 19 ปีไม่เกิน 38 : พัน ตัวชี้วัดปี 2562 อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 – 19 ปีไม่เกิน 38 : พัน อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10 – 14 ปีไม่เกิน1.3 : พัน อัตราตั้งครรภ์ซ้ำ ไม่เกิน ร้อยละ9.0 ร้อยละของวัยรุ่น 15 – 18 ปี สูงดีสมส่วน และอายุ 19 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์
สถานการณ์ เขต1 =27.2ต่อพัน ประเทศ =29.7ต่อพัน เป้าหมาย ไม่เกิน40ต่อพัน เขต1 =27.2ต่อพัน ประเทศ =29.7ต่อพัน ที่มา:ข้อมูล HDC ณ 24 กรกฎาคม 2561
Indicators : Region 1 Best : - Monitoring & Maintain Intervention Cluster Best Fair Poor วัยรุ่น อัตราคลอดมีชีพ ญ.10-14 ปี 1.11:พัน อัตราคลอดมีชีพ ญ.15-19 ปี27.67:พัน - สูงดีสมส่วน 63.88 % - ตั้งครรภ์ซ้ำ <20 ปี 17 % Best : - Monitoring & Maintain Intervention Fair : - Quick win to pass though outcome : KPI Success กอง/สํานักส่วนกลาง --> Coaching Poor : - To be study for new intervention strategy - Rapid KM by focus group produce Strong Effect project กอง/สํานัก --> Facilitator & Responsibility to outcome success.
ประเทศ ร้อยละ16.16 ที่มา : ข้อมูล HDC ณ 16 กรกฎาคม 2561
ร้อยละของหญิง< 20 ปี หลังคลอดหรือหลังแท้งได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีกึ่งถาวร จังหวัด รวมทั้งปีงบประมาณ B A ร้อยละ เชียงใหม่ 189 48 25.4 ลำพูน 19 5 26.32 ลำปาง 139 130 93.53 แพร่ 61 78.69 น่าน 45 42.22 พะเยา 24 12 50 เชียงราย 238 128 53.78 แม่ฮ่องสอน 125 35 28 รวม 840 425 50.60 ข้อมูล HDC ณ 16 กรกฎาคม 2561
ตัวชี้วัดระดับยุทธศาสตร์(ผลลัพธ์) หน่วยนับ ผลงานเดิม เป้าหมายปี 61 อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ10-14 ปี1,000 คน ร้อยละ 1.10 <1.30 อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ15-19 ปี1,000 คน 26.67 <40.00 ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี 16.48 <10.00
ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ หน่วยนับ ผลงานปี 61 เป้าหมายปี 61 จำนวนโรงพยาบาลการประเมินรับรอง YFHS ร้อยละ 91.82 85 จำนวนอำเภออนามัยเจริญพันธุ์ 73.79 75 ร้อยละ อปท.ที่มีแผนงานโครงการกิจกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 25 ร้อยละของหญิงอายุ < 20 ปี ที่ได้รับการคุมกำเนิดทุกวิธี 30.86 80 ร้อยละของหญิงอายุ < 20 ปี ที่ได้รับการคุมกำเนิดกึ่งถาวร 52
ภาพรวมการดำเนินงานในพื้นที่ การขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม พรบ. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.๒๕๕๙ - สนับสนุนการจัดประชุมคณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับจังหวัด - ทุกจังหวัดมีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฯ แนวโน้มการดำเนินงาน แต่ละจังหวัดมีมติในที่ประชุมให้มีการจัดตั้งคณะทำงาน เพื่อขับเคลื่อน พ.ร.บ. และจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของแต่ละกระทรวงให้สอดคล้องกับ 5 ยุทธศาสตร์ของ พ.ร.บ. โดยให้ฝ่ายเลขาเป็นผู้รวบรวมข้อมูล และเตรียมนำเสนอในที่ประชุมในครั้งที่ 2/2561 มี 6 จังหวัดที่ได้จัดการประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครั้งที่ 1/2561 (ขาดจังหวัดลำพูน และจังหวัดพะเยา) และ 4 จังหวัดที่ได้จัดการประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครั้งที่ 2/2561 (ขาดจังหวัดแพร่,แม่ฮ่องสอน พะเยาและลำพูน)
ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ การขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่น ตามบทบาทความรับผิดชอบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตาม พ.ร.บฯ ยังไม่เป็นรูปธรรม - ติดตามความก้าวหน้าคณะทำงาน(ที่ได้รับมอบหมายจากคณะอนุกรรมการฯระดับจังหวัด) ในการจัดทำแผน/กิจกรรมแก้ไขปัญหาวัยรุ่นตามบทบาทของหน่วยงานที่รับผิดชอบที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บฯ อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด(ร้อยละ ๑๖.๔๘) อัตราการให้บริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่หลังคลอด/แท้งต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด (ร้อยละ๓๐.๓๘จากเป้าหมายร้อยละ ๘๐)และอัตราคุมกำเนิดกึ่งถาวรของทุกวิธีต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนดเช่นกัน(ร้อยละ๕๐.๖จากเป้าหมายร้อยละ ๘๐) พัฒนาระบบการให้บริการคุมกำเนิดหลังคลอดหลังแท้งในแม่วัยรุ่น .ให้คำแนะนำและคุมกำเนิดคุมกำเนิดวิธีสมัยใหม่ วิธีใดวิธีหนึ่งก่อนออกโรงพยาบาล และมีระบบส่งต่อ ติดตามผู้รับบริการ และพัฒนาเครือข่ายและการส่งต่อการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย
ปัญหา อุปสรรค การขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม พรบ. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.๒๕๕๙ ประธาน (ผู้ว่า/รองผู้ว่าราชการจังหวัด) ไม่ได้เข้าร่วมประชุม ทำให้ขาดอำนาจในการสั่งการหน่วยงานอื่นๆ ตัวแทนอนุกรรมการฯ ไม่ทราบบทบาทหน้าที่ของตนเอง ยังไม่ได้มีการดำเนินการขับเคลื่อนการดำเนินการแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่ชัดเจน หลังจากจัดการประชุมครั้งที่ 1/2560 ความไม่ชัดเจนในตัวบทกฎหมาย ในเรื่องขอบเขตการตัดสินใจด้วยตนเองของวัยรุ่น ขาดความชัดเจนเรื่องการดำเนินงานจากส่วนกลาง ขาดงบประมาณในการทำงานของคณะทำงานในแต่ละจังหวัด
ข้อเสนอแนะ ควรมีการนำเสนอให้ประธาน (ผู้ว่า/รองผู้ว่าราชการจังหวัด) เห็นความสำคัญของการจัดประชุม และนำเสนอให้ตัวแทนคณะอนุกรรมการรับทราบบทบาทหน้าที่ตนเอง สร้างตัวบทกฎหมายให้ชัดเจน และสร้างแนวทางการดำเนินงานให้ชัดเจน
ภาพรวมการดำเนินงานในพื้นที่ นิเทศ/ติดตามผลการดำเนินงานวัยรุ่นของ อปท. (แหล่งเรียนรู้)/ตำบลบูรณาการ มีตำบลบูรณาการ ต.ออนกลาง อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่ และ ต.ทุ่งช้าง อ.ทุ่งช้าง จ.น่าน ตำบลออนกลางมี best practice ระบบการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ ตำบลทุ่งช้างมี best practice การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย มี 2 กิจกรรมที่ดำเนินการ คือ การขยายผลการดำเนินงานในพื้นที่ของวิทยากร ครู ก ในระดับเขต/ระดับจังหวัด เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว (ฉบับบูรณาการ) และการจัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำวัยรุ่นต้นแบบด้านสุขภาพในชุมชน
ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ นิเทศ/ติดตามผลการดำเนินงานวัยรุ่นของ อปท. (แหล่งเรียนรู้)/ตำบลบูรณาการ ปัญหา อุปสรรค เนื่องจากเป็นการทำงานที่ต้องประสานงานในหลากหลายหน่วยงานจึงทำให้มีความยากลำบากในการนัดประชุม เนื่องจากพื้นที่มีภารกิจที่มากมาย จึงมีปัญหาในการเยี่ยมติดตาม ข้อเสนอแนะ ควรมีความชัดเจนในการดำเนินงานเพื่อกำหนดวันประชุมที่ชัดเจนได้ตั้งแต่ต้น
ภาพรวมการดำเนินงานในพื้นที่ การดำเนินงานจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนและอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ มีโรงพยาบาลที่ได้รับการประเมินซ้ำ (Re-accredit) ตามมาตรฐาน YFHS จำนวน ๑๐ แห่ง เยี่ยมเสริมพลังโรงพยาบาลจำนวน ๒๒ แห่ง ไม่มีโรงพยาบาลและอำเภอได้รับการประเมินใหม่ มีเยาวชนที่ได้ผ่านการอบรมโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำวัยรุ่น จำนวน ๗ รุ่น/๗ จังหวัด ชาย ๕๓ คน หญิง ๑๐๙ คน รวม ๑๗๒ คน มีพ่อแม่ผ่านการอบรมเรื่องเพศคุยได้ในครอบครัวโดยวิทยากรครู ก ๘ รุ่น/๘ จังหวัด รวมทั้งหมด ๒๔๒ คน จัดกิจกรรมให้ความรู้ เรื่อง NEST (จังหวัดพะเยา) เก็บข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพหลังได้รับความรู้รูปแบบพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของวัยรุ่นอายุ 15-21 ปี โรงเรียน 2 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนพะเยาพิทยาคมและโรงเรียนดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา
นิเทศ/ติดตามผล การดำเนินงานวัยรุ่นของ อปท. (แหล่งเรียนรู้)/ตำบลบูรณาการ
ปัญหาอุปสรรค YFHS: ทางพื้นที่ไม่พร้อมให้เข้าประเมินรับรอง โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำวัยรุ่น : ปัญหา อุปสรรค ลักษณะของโครงการมีความซ้ำซ้อนกับกรมอื่นๆ กระทรวงอื่นๆ และซ้ำกับของพื้นที่ ทำให้บางจังหวัดไม่ประสงค์จะจัดอีก กลุ่มเป้าหมายในบางจังหวัดไม่ตรงกับที่โครงการต้องการ จึงควรสื่อสารให้กับพื้นที่ชัดเจนตั้งแต่แรก อบรมเพศคุยได้ในครอบครัวโดยวิทยากรครู ก จำนวนผู้ปกครองมาร่วมอบรมเรื่องเพศคุยได้ ในบางจังหวัดมาเกินกว่าที่ทางศูนย์อนามัยกำหนด ทำให้มีผลต่อการเบิกค่าตอบแทน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม และค่าอาหารกลางวันต้องเพิ่มไปตามจำนวนคน ควรสื่อสารกับพื้นที่และกำหนดจำนวนผู้เข้าร่วมให้ชัดเจน รูปแบบของโครงการมีความซ้ำซ้อนกับหน่วยงานอื่นๆ และของพื้นที่ ควรบูรณาการงานเข้ากับหน่วยงานอื่น
ข้อเสนอแนะ 1. ควรบูรณาการงานให้เข้ากับหน่วยงานอื่นๆเพื่อลดการซ้ำซ้อน YFHS, โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำวัยรุ่น, อบรมเพศคุยได้ในครอบครัวโดยวิทยากรครู ก 1. ควรบูรณาการงานให้เข้ากับหน่วยงานอื่นๆเพื่อลดการซ้ำซ้อน 2. ควรสื่อสารให้กับพื้นที่ชัดเจนตั้งแต่แรก
ปัญหาอุปสรรค NEST 1. การทำงานร่วมกันกับโรงเรียนต้องอาศัยช่วงเวลา เนื่องจากโรงเรียนมีช่วงปิดเทอม และเตรียมสอบ ทำให้การเข้าทำกิจกรรมที่ดำเนินการร่วมกับครูและนักเรียน ต้องรอในช่วงเปิดเทอมหรือช่วงที่ทางโรงเรียนอนุญาตให้เข้าพื้นที่ ซึ่งคาบเกี่ยวปีงบประมาณและปีการศึกษาไม่ตรงกัน 2. การติดต่อประสานงานกับจังหวัดเป้าหมายค่อนข้างยาก เนื่องจากผู้รับผิดชอบงานมีงานที่ได้รับมอบหมายค่อนข้างมาก ทำให้ไม่สามารถติดต่อกลุ่มเป้าหมายให้ได้ 3. ขาดองค์ความรู้เฉพาะทางในการจัดกิจกรรม เช่น โภชนาการ ทันตกรรม การออกกำลังกาย เป็นต้น
ข้อเสนอแนะ ควรมีการทำความเข้าใจ พูดคุยให้ชัดเจนถึงเวลาดำเนินงาน ควรต้องหาผู้เชี่ยวชาญในแต่ละด้านมาร่วมโครงการ ในบางความรู้ที่สามารถพัฒนาบุคลากรเองได้ก็ควรหาโอกาสพัฒนาศักยภาพ
เพศคุยได้ในครอบครัวโดยวิทยากร ครูก
อบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำวัยรุ่น
A2IM วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม ปี 2562 Management Intervention Advocacy Assessment P : - สธ./อปท./สพม./พมจ./สถานศึกษาเอกชน/พชอ./แกนนำสภาเด็กฯ - คณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับจังหวัด -พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายฯ สถานการณ์วัยรุ่นปี2561 - ข้อมูลจาก HDC -ข้อมูลการนิเทศตรวจ ราชการ ฯลฯ -RH DATA สน.อพ. -ผลงานปี 2561 กลุ่มปกติ -Policy: -สื่อสารนโยบาย/ข้อมูลผ่าน คกก.ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นระดับจังหวัด / คกก.อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ Partner: -คืนข้อมูลให้พื้นที่ / เครือข่ายฯ (ท้องถิ่น,ร.ร,ชุมชนฯลฯ) -People: -สร้างความรอบรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพ และอนามัยเจริญพันธุ์วัยรุ่น +การสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัว ชุมชน - ขับเคลื่อน พรบ.ฯการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นของภาคีต่างๆให้เป็นรูปธรรม -ศักยภาพแกนนำวัยรุ่นต้นแบบด้านสุขภาพในชุมชน - สนับสนุนวัยรุ่นไทยสูงดี สมส่วน -ส่งเสริมการ จัดบริการYFHS ให้คำปรึกษาส่งต่อที่เหมาะสม -การขับเคลื่อนอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ -พัฒนาศักยภาพจ.นทให้บริการยาฝังคุมกำเนิด -ให้บริการคุมกำนิดเน้นกึ่งถาวร/ส่งต่อครือข่าย -ให้บริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย/ส่งต่อ I :- งบประมาณจาก อปท./พมจ./กองทุนและทรัพยากรใน พื้นที่ วินิจฉัยสถานการณ์ R: -พ.ร.บฯ การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 - ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ พ.ศ.2560-2569 -พัฒนาระบบข้อมูลเฝ้าระวัง การตั้งครรภ์วัยรุ่น กลุ่มปกติ ทักษะดี สูงดี สมส่วน - เพศสัมพันธ์ไม่ป้องกัน -ขาดความรู้ทักษะดูแลตนเอง -เข้าไม่ถึงบริการฯ(คุมกำเนิดทุกวิธี/กึ่งถาวรต่ำ) -เริ่มผอม /เริ่มอ้วน กลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสี่ยง A :- สื่อสารนโยบาย -ใช้ข้อมูลเฝ้าระวัง ชี้ประเด็นปัญหาให้กับ พื้นที่ - ชี้นำ ชี้แนะ สร้างความตระหนักผลเสียของ การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ให้กับภาคี เครือข่าย เพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกัน - สร้างความความรอบรู้ด้านสุขภาพ ทักษะชีวิต /พฤติกรรมอนามัยเจริญพันธ์ที่เหมาะสม - ส่งเสริมการจัดบริการ YFHS เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการวัยรุ่นที่มีคุณภาพ -ตั้งครรภ์ ตั้งครรภ์ซ้ำ -อ้วน เตี้ย กลุ่มป่วย กลุ่มป่วย B :- พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่จังหวัดในการให้คำปรึกษา /การให้บริการยาฝังคุมกำเนิด -พัฒนาสักยภาพเครือข่าย โรงเรียน/ ท้องถิ่น/ครอบครัว/ชุมชน ในเรื่อง ปัญหาการป้องกันการตั้งครรภ์วัยรุ่น /สุขภาพทางเพศ/อนามัยเจริญพันธุ์
A2IM วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม ปี 2561 Management Intervention Advocacy Assessment P: - สธ./อปท./สพม./พมจ. /สถานศึกษาเอกชน/พชอ./แกนนำสภาเด็กฯ - คณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับจังหวัด กลุ่มปกติ สถานการณ์วัยรุ่น ปี 2560 - ข้อมูลจากระบบรายงาน HDC /MIS/ข้อมูลการนิเทศ ตรวจราชการ ฯลฯ -Policy:สื่อสารนโยบาย/ข้อมูลผ่านคณะอนุกรรมการการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับจังหวัด / คกก.อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ Partner:คืนข้อมูลให้พื้นที่ สนับสนุนการขับเคลื่อนพรบ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 สนับสนุนการดำเนินการบริการ YFHS สนับสนุนการขับเคลื่อนอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ People: สร้างความรอบรู้ในเรื่องพฤตติกรรมสุขภาพ และพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์แก่วัยรุ่น ครอบครัว ชุมชน - การขับเคลื่อน พรบ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น - การพัฒนาศักยภาพแกนนำวัยรุ่นต้นแบบด้านสุขภาพในชุมชน - โครงการเพศคุยได้ในครอบครัว - โครงการวัยรุ่นไทยสูงดี สมส่วนสาวไทยแก้มแดง ส่งเสริมการ จัดบริการYFHS -ให้บริการคุมกำนิดกึ่งถาวร/ส่งต่อที่เหมาะสม - การป้องกันและแก้ไขปัญหาตั้งครรภ์วัยรุ่น ใน อปท./ส่งต่อเครือข่ายฯ I: งบประมาณจาก อปท./พมจ./กองทุนและทรัพยากรใน พื้นที่ วินิจฉัยสถานการณ์ R: พรบ. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 - ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ พ.ศ.2560-2569 กลุ่มปกติ ทักษะดี สูงดี สมส่วน - เพศสัมพันธ์ไม่ป้องกัน - ขาดความรู้ &ทักษะดูแลตัวเอง -เริ่มผอม /เริ่มอ้วน กลุ่มเสี่ยง A:- สื่อสารนโยบาย -ใช้ข้อมูลเฝ้าระวัง ชี้ประเด็นปัญหา ให้กับพื้นที่ - ชี้นำ ชี้แนะ สร้างความตระหนักผลเสียของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ให้กับภาคีเครือข่าย เพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกัน - สร้างความความรอบรู้ด้านสุขภาพ ทักษะชีวิต ด้านพฤติกรรม อนามัยเจริญพันธ์ที่เหมาะสมในเด็กวัยรุ่น - ส่งเสริมการเข้าถึงบริการ YFHS ของวัยรุ่น กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ตั้งครรภ์ ตั้งครรภ์ซ้ำ อ้วน เตี้ย B:- สร้างแกนนำวัยรุ่นและเยาวชน - พัฒนาศักยภาพ แก่เจ้าหน้าที่ เครือข่าย ผู้ปกครอง ในด้านการสื่อสาร การจัดระบบบริการสุขภาพทางเพศฯ กลุ่มป่วย
แผนการดำเนินงานกิจกรรมปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ลำดับ กิจกรรม เป้าหมาย/กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ 1 พัฒนาระบบข้อมูลและการเฝ้าระวังในวัยรุ่นเพื่อแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ซ้ำในกลุ่มวัยรุ่นปกติ และกลุ่มชาติพันธุ์ 1 ระบบ 1 พ.ย. 2561 - 30 ก.ย. 2562 2 เยี่ยมให้คำชี้แนะ(advocate)พัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบงานวัยรุ่นระดับจังหวัด 8 จังหวัด 1 พ.ย. 2561 - 31 ธ.ค. 2561 3 เยี่ยมให้คำชี้แนะ(advocate)นิเทศ/ติดตามการดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นของราชการส่วนท้องถิ่น และคัดเลือก อปท. เป็นแหล่งเรียนรู้จังหวัดละ 1แห่ง 4 สนับสนุนการจัดประชุมคณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับจังหวัด 5 พัฒนาองค์ความรู้ด้านงานวัยรุ่น : เข้าร่วมอบรม/ประชุมสัมมนาของหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก 8 คน 6 เยี่ยมพัฒนาโรงพยาบาล/reaccredit โรงพยาบาล ตามมาตรฐาน YFHS 11 แห่ง
คำขอปีงบประมาณ ๒๕๖๓ งานวิจัยเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์และตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น งาน Health Literacy
บทบาทศูนย์อนามัยในการขับเคลื่อนงานตามภารกิจ สำนักอนามัยเจริญพันธุ์ บทบาทในการกำกับติดตามโรงพยาบาลให้มีการดำเนินงานตามมาตรฐาน YFHS อย่างต่อเนื่อง เยี่ยมเสริมพลัง รพ.ตามมาตรฐานฯ บูรณาการกับการเยี่ยมประเมินอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ สนับสนุน/ให้คำปรึกษาเพื่อให้มีการจัดการดำเนินงานตามมาตรฐาน YFHS อย่างยั่งยืน
บทบาทศูนย์อนามัยในการขับเคลื่อนงานตามภารกิจ สำนักอนามัยเจริญพันธุ์ บทบาทที่จะผลักดันให้สถานบริการในเขตสุขภาพขึ้นทะเบียนการใช้ยายุติการตั้งครรภ์และเบิกยา รวมทั้งการสรรหาแพทย์ที่ให้บริการยุติการตั้งครรภ์ - ป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัยโดยร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเชียงใหม่ในการให้คำปรึกษาและ ให้บริการยุติการตั้งครรภ์ด้วยยา Metabon หรือ วิธีการใช้กระบอกดูดสุญญากาศ (MVA)
บทบาทศูนย์อนามัยในการขับเคลื่อนงานตามภารกิจ สำนักอนามัยเจริญพันธุ์ บทบาทการสนับสนุนการดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับจังหวัดและกลไกรับเรื่องร้องเรียน สนับสนุนการจัดประชุมคณะอนุกรรมการ
บทบาทศูนย์อนามัยในการขับเคลื่อนงานตามภารกิจ สำนักอนามัยเจริญพันธุ์ บทบาทในการผลักดันการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นบูรณาการกับกลไกการดำเนินงานของ พชอ. คัดเลือกแหล่งเรียนรู้ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระหว่างภาคีเครือข่าย พัฒนารูปแบบการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับท้องถิ่นผ่าน พชอ.
บทบาทศูนย์อนามัยในการขับเคลื่อนงานตามภารกิจ สำนักอนามัยเจริญพันธุ์ การดำเนินงานป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ ขับเคลื่อนการดำเนินงานโดยใช้ พรบ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ สนับสนุนให้มีการเพิ่มศักยภาพบุคลากรในโรงพยาบาลต่างๆ ในการฝังยาคุมกำเนิด พัฒนางานวิจัยเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ซ้ำ
ขอบคุณค่ะ