สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบ
Advertisements

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 17 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 1
หน่วยที่ 3 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดแกนเหล็กเคลื่อนที่
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
การสื่อสารข้อมูล (D ATA C OMMUNICATIONS ) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
กิจกรรม บ้านพลังงานแสงอาทิตย์
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
บทที่ 6 เรื่องกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
การสื่อสารข้อมูล.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
การประยุกต์ใช้สื่อผสม นาย ธีรวัฒน์ พิสัยพันธ์ รหัส
โครงสร้างของหุ่นยนต์เดินตาม เส้น. Sensor และหลักการ ทำงาน เซนเซอร์บนตัว หุ่นยนต์ รูปเซนเซอร์ขยายวงจรเซนเซอร์
ไฟฟ้าคืออะไร หนังสือวิทยาศาสตร์ หรือเว็บไซต์ต่างๆ ให้ความหมายที่แตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น - ไฟฟ้า คือ พลังงานรูปหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นได้
3.2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน.
หน่วยที่ 3 กฎของโอห์ม ความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้า ( I ) ความต้านทาน ( R ) และความต่างศักย์ (E, V)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
ครูวัฒนา พุ่มมะลิ (ครูเจ๋ง)
หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
บทที่ 8 คลื่นและคลื่นเสียง
Gas Turbine Power Plant
การคำนวณโหลด Load Calculation
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
ความเค้นและความเครียด
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
DC Voltmeter.
อิเล็กทรอนิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
Basic Electronics.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
งานเชื่อมโลหะโดยเครื่องเชื่อมไฟฟ้า
ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ กลุ่มเรียนที่ 1 อาจารย์ผู้สอน อ.ดร. วรินทร ศรีทะวงศ์ ห้องทำงาน ห้อง 545 ชั้น 5 อาคารวิชาการ 2 (C2) โทรศัพท์ (office)
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
แผ่นดินไหว.
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
การประมาณโหลดไฟฟ้าเบื้องต้น Electrical Load Estimation
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
โครงการประหยัดพลังงาน ฝ่ายการพยาบาล 2559
ศาสนาเชน Jainism.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เรื่อง กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย เรื่อง การวัดปริมาณกระแสไฟฟ้า สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย นางสุพรรษา ทิพย์สิงห์

กระแสไฟฟ้าจะไหลออกจากขั้วบวก การวัดกระแสไฟฟ้า ลักษณะของวงจร + - กระแสไฟฟ้าจะไหลออกจากขั้วบวก ไปตามเส้นลวด

การวัดกระแสไฟฟ้า การนำไฟฟ้าในเส้นลวดตัวนำ หรือ สายไฟเกิดจากการเคลื่อนที่ของประจุบนเส้นลวดตัวนำเมื่อรับพลังงานจากแหล่งกำเนิด

การวัดกระแสไฟฟ้า ปริมาณกระแสที่ไหลในเส้นลวด คือ ปริมาณประจุไฟฟ้า ที่เคลื่อนที่ผ่านพื้นที่ภาคตัดขวางของลวดตัวนำจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งในหนึ่งหน่วยเวลา(วินาที) มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (A)

การวัดกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่ได้จากแหล่งกำเนิดไฟฟ้า มีอยู่ 2 ชนิดคือ 1. กระแสไฟฟ้าตรง (DC) คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลในทิศทางเดียวไม่มีการสลับขั้ว เช่น ถ่ายไฟฉาย แบตเตอร์รี่ 2. กระแสไฟฟ้าสลับ (AC) คือ กระแสไฟฟ้าที่มี การสลับขั้วอยู่ตลอดเวลา เช่น กระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้า

การวัดกระแสไฟฟ้า เราสามารถวัดปริมาณกระแสไฟฟ้า โดยนำเครื่องวัดปริมาณกระแสไฟฟ้า คือ แอมมิเตอร์ มาต่อแบบ อนุกรมเข้าในวงจร

การวัดกระแสไฟฟ้า เซลล์ไฟฟ้า ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจร จะขึ้นอยู่กับจำนวนของเซลล์ไฟฟ้า ถ้าจำนวนเซลล์ไฟฟ้าน้อยปริมาณกระแสก็น้อย ถ้าเซลล์ไฟฟ้ามากปริมาณกระแสในวงจรก็มาก

การวัดกระแสไฟฟ้า ปริมาณกระแสไฟฟ้าในวงจรจะใช้ในการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสง โดยใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า คือ หลอดไฟ

การวัดกระแสไฟฟ้า ปริมาณกระแสไฟฟ้าจะแปรผันตรงกับความสว่างของหลอดไฟ ถ้าปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านวงจรมากจะทำให้หลอดไฟสว่างมาก ถ้ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านวงจรน้อยจะทำให้หลอดไฟสว่างน้อย ตามไปด้วย

การวัดกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าน้อย สว่างน้อย กระแสไฟฟ้ามาก สว่างมาก