การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ระยอง นายสมชัย ฉายศรีศิริ นายปรพล เจริญพงษ์ นายสมหมาย เอี่ยมมงคลสกุล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
1 นางสรัลพัชร ประ โมทะกะ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายสุชาติ กิมาคม หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายกุลเกียรติ เทพมงคล หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพสธร.
1 นางสรัลพัชร ประ โมทะกะ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายสุชาติ กิมาคม หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายกุลเกียรติ เทพมงคล หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายสรกฤษณ์ เมือง สนธิ์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายวิชัย เพ็ญดี หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นางสุภาภรณ์ ไชยเวช หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายจีระ.
ภูเก็ต นายวงศกร นุ่นชูคันธ์ นายทวี หอมหวล ว่าง นายเฉลิม รักมาก
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
การส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
โดย... นางสาวปวีณ์ริศา เกณิกานนท์ นักวิชาการแรงงานชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (นางอัจฉรา แก้วกำชัยเจริญ)
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
กลุ่มเกษตรกร.
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
โครงการพัฒนาผู้สอบบัญชีภาครัฐเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต CAD - CPA
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
หลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน DSD BANK กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

ประกาศคณะกรรมการส่งเสริม การพัฒนาฝีมือแรงงาน ลงวันที่ 9 มิถุนายน 2560 ประกาศคณะกรรมการส่งเสริม การพัฒนาฝีมือแรงงาน ลงวันที่ 9 มิถุนายน 2560

ผู้มีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/ กลุ่มผู้ประกอบกิจการ

ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/กลุ่มผู้ประกอบกิจการ ข้อ 6 ให้ช่วยเหลืออุดหนุนผู้ประกอบกิจการที่ส่งเงินสมทบเข้ากองทุนภายในเวลาที่กำหนดในปีที่ผ่านมา และได้ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานตามมาตรา 29 วรรคสองครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนดในปีถัดมา โดยมีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลืออุดหนุนในอัตราร้อยละ 10 ของเงินสมทบที่นำส่ง การดำเนินการตามมาตรา 29 วรรคสอง ผู้ประกอบกิจการที่จัดให้มีการฝึกอบรมฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างของตน หรือ ส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบและผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ หรือ มีลูกจ้างผ่านการรับรองความรู้ความสามารถจากศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถ

ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/กลุ่มผู้ประกอบกิจการ การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ตามประกาศฯ ข้อ 6 √ ร้อยละ 10 ของเงินสมทบที่นำส่งเข้ากองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ผู้ประกอบกิจการดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานไม่ครบตามสัดส่วน ที่กฎหมายกำหนด ส่งเงินสมทบ เข้ากองทุนฯ ภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด ยื่นขอรับเงินอุดหนุน ภายในวันที่ 31 สิงหาคม ของทุกปี ปีที่ผ่านมา ปีต่อมา ปีถัดไป

ตัวอย่าง ส่งเงินสมทบ 20 มี.ค. 59 ปี 2558 ปี 2560 1 ม.ค.58 31 ธ.ค.58 1 ม.ค.59 31 ส.ค.60 ปี 2559 31 ธ.ค.59 1 ม.ค.60 ปี พ.ศ. 2558 ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างไม่ครบ ตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด จำนวน 50 คน ส่งเงินสมทบของปี พ.ศ. 2558 ภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด (ภายในเดือนมีนาคม 2559) จำนวน 54,000บาท (50 คน X 1,080 บาท) ส่งเงินสมทบ 20 มี.ค. 59 ปี พ.ศ. 2559 ดำเนินการพัฒนา ฝีมือแรงงานให้ลูกจ้าง ครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด ปี พ.ศ.2560 ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือ หรืออุดหนุน (1 ม.ค.60 – 31 ส.ค.60) จำนวน 5,400 บาท (54,000 x 10%)

ตัวอย่าง คำอธิบาย ในปี พ.ศ. 2558 บริษัท A มีลูกจ้าง 300 คน ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างจำนวน 100 คน ไม่ครบ ตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด จำนวน 50 คน จึงต้อง ส่งเงินสมทบเข้ากองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน จำนวน 54,000 บาท (50 คน x 1,080 บาท) 1. บริษัท A นำส่งเงินสมทบ ประจำปี พ.ศ. 2558 ในวันที่ 20 มีนาคม 2559 ภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด (ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2559) 2. ในปี พ.ศ. 2559 บริษัท A ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้าง ครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด 3. ในปี พ.ศ. 2560 (1 ม.ค. 60 – 31 ส.ค. 60) บริษัท A ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนร้อยละ 10 ของเงินสมทบที่นำส่ง จำนวน 5,400 บาท (54,000 x 10%)

ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/กลุ่มผู้ประกอบกิจการ ข้อ 7 ให้ช่วยเหลือหรืออุดหนุนแก่ผู้ประกอบกิจการที่ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานตามมาตรา29 วรรคสอง ในส่วนที่มีการพัฒนาฝีมือแรงงานเกินกว่าร้อยละ 70 ของลูกจ้างทั้งหมด ซึ่งได้รับการพัฒนาฝีมือแรงงานในปีที่ผ่านมา โดยมีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน 200 บาทต่อลูกจ้าง 1 คน ผู้ประกอบกิจการที่จัดให้มีการฝึกอบรมฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างของตน หรือ ส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบและผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ หรือ มีลูกจ้างผ่านการรับรองความรู้ความสามารถจากศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถ

ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/กลุ่มผู้ประกอบกิจการ การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ตามประกาศฯ ข้อ 7 √ ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 ผู้ประกอบกิจการดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 ของลูกจ้างทั้งหมด ปี 2560 ปี 2561 ยื่นประเมินเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปี 2560 สรุปจำนวนลูกจ้างที่ได้รับการพัฒนาฝีมือแรงงาน ปี 2560 ส่วนที่เกินกว่า ร้อยละ 70 (คนที่71) ยื่นขอรับเงินอุดหนุน ภายในวันที่ 31 สิงหาคม ของทุกปี ปีที่ผ่านมา ปี 2561 ปี 2561

ตัวอย่าง ปี 2560 ปี 2561 1 ม.ค.60 31 ธ.ค.60 1 ม.ค.61 31 ส.ค.61 ปี พ.ศ. 2560 ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้ลูกจ้างส่วนที่เกินร้อยละ 70 ของลูกจ้างทั้งหมด จำนวน 20 คน (ฝึกอบรม+ทดสอบ+รับรองความรู้ความสามารถ) ปี 2560 ปี 2561 1 ม.ค.60 31 ธ.ค.60 1 ม.ค.61 31 ส.ค.61 ปี พ.ศ. 2561 ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือ หรืออุดหนุนส่วนที่เกิน 20 คน = 20*200 บาท = 4,000 บาท (ภายในเดือนสิงหาคม 2561) ปี พ.ศ. 2560 บ.A มีลูกจ้างเฉลี่ยทั้งปี 1,000 คนดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้าง จำนวน 720 คน 1,000 ร้อยละ 70 = 700 คน ดำเนินการฯในปี 2560 = 720 คน ส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 คือคนที่ 701-720 =20 คน

ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/กลุ่มผู้ประกอบกิจการ ข้อ 8 ให้ช่วยเหลือหรืออุดหนุนแก่ผู้ประกอบอาชีพ ผู้ประกอบกิจการหรือกลุ่มผู้ประกอบกิจการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานของตนตามมาตรา 26 และได้นำมาตรฐานฝีมือแรงงานดังกล่าวไปใช้ในการทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน โดยมีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนในแต่ละสาขาระดับละหนึ่งหมื่นบาท ความในวรรคหนึ่งให้ใช้บังคับกับมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับการรับรองตั้งแต่ปี พ.ศ.2560 เป็นต้นไป **ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานของตนตามมาตรา 26 ตั้งแต่ปี พ.ศ.2560 ** นำมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับการรับรองไปใช้ในการทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน และรายงานผลการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน

ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/กลุ่มผู้ประกอบกิจการ การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ตามประกาศฯ ข้อ 8 ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานของตนตามมาตรา 26 นำมาตรฐานฯ ที่ได้การรับรองไปทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน ยื่นขอรับเงินอุดหนุน ภายในวันที่ 31 สิงหาคม ของทุกปี ปีถัดไป ใช้บังคับกับมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับ การรับรองตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป

ตัวอย่าง ปี 2560 ปี 2561 1 ม.ค.60 31 ธ.ค.60 1 ม.ค.61 31 ส.ค.61 ปี พ.ศ. 2560 ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานของตน ตามมาตรา 26 ปี 2560 ปี 2561 1 ม.ค.60 31 ธ.ค.60 1 ม.ค.61 31 ส.ค.61 ปี พ.ศ. 2561 ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือ หรืออุดหนุนในแต่ละสาขาระดับละ 10,000 บาท (1 ม.ค. 61 – 31 ส.ค. 61) ปี พ.ศ. 2560 นำมาตรฐานฯ ที่ได้รับการรับรอง ไปทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน

ตัวอย่าง 4 คำอธิบาย 1. ในปี พ.ศ. 2560 บริษัท B ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานของตน ตามมาตรา 26 2. บริษัท B นำมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับการรับรองในปี พ.ศ. 2560 ไปใช้ทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน ภายในปี พ.ศ. 2560 3. ในปี พ.ศ. 2561 (1 ม.ค. 61 – 31 ส.ค. 61) บริษัท B ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ในแต่ละสาขาระดับละ 10,000 บาท

ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/กลุ่มผู้ประกอบกิจการ ให้ช่วยเหลือหรืออุดหนุนแก่ผู้ประกอบกิจการที่ส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบและผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ และได้จ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างดังกล่าวตามประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ เป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบวัน ก่อนวันยื่นขอรับเงินอุดหนุน โดยมีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน 1,000 บาท ต่อลูกจ้างหนึ่งคน ทั้งนี้ไม่เกินปีละ 100,000 บาท “ประกาศฯ ข้อ 9” ข้อ 9

ยื่นขอรับเงินอุดหนุน ภายในวันที่ 31 สิงหาคม ของทุกปี ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/กลุ่มผู้ประกอบกิจการ การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ตามประกาศฯ ข้อ 9 √ รับเงินจำนวน 1,000 บาท ต่อลูกจ้าง 1 คน (ไม่เกินปีละ 100,000 บาท) ผู้ประกอบกิจการ ส่งลูกจ้าง เข้ารับการทดสอบ และผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ จ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างดังกล่าว ไม่น้อยกว่า 180 วัน ก่อนวันยื่นขอรับเงินอุดหนุน ยื่นขอรับเงินอุดหนุน ภายในวันที่ 31 สิงหาคม ของทุกปี จ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้าง ตามประกาศ คณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ สิทธิเกิดมีขึ้นในระหว่าง 1 ก.ย. – 31 ธ.ค. ให้ยื่นได้ในปีถัดไป

ไม่น้อยกว่า 180 วัน ก่อนวันยื่นคำขอ ตัวอย่าง 5 ผู้ประกอบกิจการ ส่งลูกจ้าง เข้ารับการทดสอบ และผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ จำนวน 40 คน ยื่นขอรับเงินอุดหนุน จำนวน 40,000 บาท (40 คน x 1,000 บาท) ภายในวันที่ 31 ส.ค. 60 1 ก.พ. 60 จ่ายค่าจ้าง ตามมาตรฐานฝีมือ ให้ลูกจ้างที่ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคารระดับ 3 คนละ 600 บาทต่อวัน ไม่น้อยกว่า 180 วัน ก่อนวันยื่นคำขอ 31 ม.ค. 60 31 ม.ค.60 1 ก.พ.60 20 ส.ค.60 ทดสอบ จ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ (ไม่น้อยกว่า 180 วัน ก่อนวันยื่นขอรับเงินอุดหนุน) ยื่นขอรับเงิน 1 ม.ค.60 31 ส.ค.60 31 ธ.ค.60 กรณีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเกิดมีขึ้น ในระหว่างวันที่ 1 ก.ย. 60 ถึง 31 ธ.ค. 60 ให้มีสิทธิยื่นคำขอรับเงินอุดหนุนได้ในปีพ.ศ. 2561

ตัวอย่าง ปี 2560 1 ม.ค.60 1 ก.พ.-30 ก.ค.60 31 มี.ค.61 31 ม.ค.60 1 กพ.60 จ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฯคนละ 600 บ.ต่อวัน (ไม่น้อยกว่า 180 วัน) ปี พ.ศ. 2560 ส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ จำนวน 40 คน ปี 2560 1 ม.ค.60 1 ก.พ.-30 ก.ค.60 31 ม.ค.60 31 มี.ค.61 ยื่นคำขอในปี พ.ศ. 2560 ในแต่ละสาขาระดับละ 10,000 บาท (ไม่เกิน 31 มี.ค. 61) ปี พ.ศ. 2560 นำมาตรฐานฯ ที่ได้รับการรับรอง ไปทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน

ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/กลุ่มผู้ประกอบกิจการ ให้ช่วยเหลือหรืออุดหนุนแก่ผู้ประกอบกิจการเป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ให้แก่ลูกจ้างเพื่อเป็นการสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ โดยมีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินปีละ 100,000 บาท ทั้งนี้ หลักสูตรการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานประกาศกำหนด ข้อ10

1. หลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม : หลักสูตรการฝึกอบรมฝีมือแรงงานที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ ประดิษฐ์เครื่องจักร เครื่องมือ หรืออุปกรณ์ขึ้นใหม่ หรือพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้นเพื่อให้การทำงานได้ผลดี มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ได้แก่ การออกแบบสมองกลฝังตัวในโรงงานอุตสาหกรรม การควบคุมหุ่นยนต์ในระบบงานอุตสาหกรรม การใช้โปรแกรมเมเปิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอร์ขั้นสูง สาขา การสร้างภาพเคลื่อนไหว แบบ 3 มิติ (3D Animation) การจำลองโมเดลสายการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้วยโปรแกรม Automation Plant Simulation

2. หลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ : ต้องเป็นหลักสูตรที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรมเป้าหมาย ระยะเวลาฝึกไม่น้อยกว่า 12 ชั่วโมง และต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ****ต้องเป็นหลักสูตรที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเทคโนโลยีระบบกึ่งอัตโนมัติ ระบบอัตโนมัติ หรือการควบคุมโดยระบบไร้สาย มาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ เพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการผลิตสินค้าหรือให้บริการได้ดียิ่งขึ้น สามารถผลิตสินค้ามีคุณภาพได้ปริมาณมากขึ้น ทำงานได้รวดเร็วขึ้น เพิ่มผลผลิตหรือลดการสูญเสีย

ตัวอย่าง 1 ม.ค.60 1 พย.60 3 พย.60 1 -5 ธ.ค.60 20 ธค.60 - 31 มี.ค.61 ยื่นขอรับความเห็นชอบหลักสูตร การออกแบบสมองกลฝังตัวในโรงงานอุตสาหกรรม ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนค่าใช้จ่ายตามหลักเกณฑ์ (ไม่เกิน 31 มี.ค. 61) จัดฝึกอบรมหลักสูตร 30 ชม. 1 ม.ค.60 1 พย.60 3 พย.60 1 -5 ธ.ค.60 20 ธค.60 - 31 มี.ค.61 ได้รับความเห็นชอบหลักสูตร ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม (จัดฝึกอบรมเอง) 1. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คนๆละ 2,000 บาทต่อชั่วโมง จำนวน 30 ชั่วโมง = 600,000 บาท 2. ค่าวัสดุที่ใช้ในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจำนวน 10 คนๆละ 4,000บาท = 40,000 บาท รวมทั้งสิ้น 100,000 บาท

1 2 ผู้ได้รับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนให้ปฏิบัติตามเงื่อนไข รายงานผลการดำเนินงานการพัฒนาฝีมือแรงงานให้กรมพัฒนาฝีมือแรงงานทราบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ดำเนินการ แล้วเสร็จ (แบบชอ.3) 1 ยินยอมให้นายทะเบียน พนักงานเจ้าหน้าที่ และคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจตรา และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการพัฒนาฝีมือแรงงานตามที่ได้รับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน 2

ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ประโยชน์ที่ได้รับ ส่งเสริมให้มีการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงาน ส่งเสริมให้ผู้ประกอบอาชีพมีทักษะฝีมือที่ได้มาตรฐาน ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ส่งเสริมให้มีการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้าง เพื่อเพิ่มผลิตภาพแรงงาน ส่งเสริมให้มีการจ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ ส่งเสริมให้มีการจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานของตน และนำมาตรฐานฝีมือแรงงานนั้นไปใช้ทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน ผู้ประกอบกิจการ ผู้ประกอบอาชีพ กลุ่มผู้ประกอบกิจการ

ลูกจ้าง ผู้บริโภค ประโยชน์ที่ได้รับ ได้รับการพัฒนาศักยภาพของตนเอง ได้รับค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน ลูกจ้าง ได้รับสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ ผู้บริโภค

สถานที่ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ผู้ประสงค์จะขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนจากกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ให้ยื่นคำขอ ณ หน่วยงานของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานที่ตั้งอยู่ในจังหวัด ที่สถานประกอบกิจการหรือศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานตั้งอยู่ กรุงเทพมหานคร สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 13 กรุงเทพมหานคร จังหวัดอื่น สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 14 ปทุมธานี โทร. 0 2577 5867-9 ต่อ 105-107 ดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ : www.dsd.go.th/sdpaa