งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
พระราชบัญญัติส่งเสริม การพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กองทุนพัฒนา ฝีมือแรงงาน กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

2 พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545
29/12/61 จุดประสงค์ : เพื่อส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการ มีส่วนร่วมในการพัฒนาฝีมือแรงงานมากยิ่งขึ้น โดย 1. ส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้กับลูกจ้างของตน 2. ให้สิทธิและประโยชน์ในการยกเว้นภาษี จำนวนร้อยละร้อย ของค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน 3. กำหนดให้สถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป ต้องส่งเงินสบทบเข้ากองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ยกเว้น สถานประกอบกิจการที่ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้าง ครบร้อยละ 50 ของจำนวนลูกจ้างทั้งหมด ไม่ต้องส่งเงินสมทบเข้ากองทุน 4. ให้เงินกู้ยืมแก่นายจ้าง/ลูกจ้าง เพื่อนำไปฝึกอบรมฝีมือแรงงาน หรือทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน 5. ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

3 กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติส่งเสริม การพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนสำหรับ ใช้จ่ายเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน มาตรา 28 บัญญัติให้ใช้จ่ายเงินกองทุน เพื่อให้กู้ยืมเป็นค่าใช้จ่าย ในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน หรือการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และช่วยเหลือหรืออุดหนุนกิจการใดๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือ แรงงาน กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

4 กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
ภารกิจ ให้กู้ยืมเงิน ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน“ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แรงงานมีผลิตภาพสูงขึ้น เพิ่มขีดความสามารถแข่งขันของประเทศ กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

5 การให้กู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545

6 การให้กู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน มาตรา 28 (1) และ (2) บัญญัติให้ใช้จ่ายเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อให้กู้ยืมเป็นค่าใช้จ่ายในการอบรมฝีมือแรงงาน หรือการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน

7 ผู้มีสิทธิ กู้ยืมเงิน
ผู้รับการฝึก ผู้ดำเนินการฝึก ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน เพี่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินการฝึกอบรมฝีมือแรงงานหรือทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 ผู้ประกอบกิจการ เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการครองชีพระหว่าง การฝึกอบรม

8 วงเงินกู้ยืม ไม่เกิน 13,500 บาทต่อเดือน
วงเงินกู้ยืมสูงสุดไม่เกิน 162,000 บาท ผู้รับการฝึก ไม่เกิน 1,000,000 บาท ต่อครั้ง O ผู้ดำเนินการฝึก O ผู้ดำเนินการทดสอบ มาตรฐานฯ O ผู้ประกอบกิจการ กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

9 ดอกเบี้ยและระยะเวลาการชำระคืน
ประเภทผู้กู้ยืม อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลาการชำระคืน ผู้รับการฝึก ร้อยละ 1 ต่อปี ไม่เกิน 48 เดือน ผู้ดำเนินการฝึก ผู้ดำเนินการทดสอบ มาตรฐานฝีมือแรงงาน ผู้ประกอบกิจการ ร้อยละ 3 ต่อปี ไม่เกิน 12 เดือน กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

10 คุณสมบัติผู้มีสิทธิกู้ยืมเงิน
ผู้ดำเนินการฝึก ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ผู้ประกอบกิจการ เป็นบุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคลที่มีสัญชาติไทย ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย ไม่เป็นลูกหนี้กองทุน เคยกู้แล้ว ถ้าจะกู้ใหม่ต้องดำเนินการฝึกอบรมให้เสร็จสิ้น และปิดบัญชีสัญญาเดิมก่อน

11 การค้ำประกัน ผู้กู้ยืมเป็นนิติบุคคล หลักประกันในการค้ำประกัน
1.พันธบัตรรัฐบาลไทย หรือ 2. หนังสือค้ำประกันของธนาคาร ต้องมีจำนวนเงิน ค้ำประกันไม่น้อยกว่าวงเงินกู้ยืม และต้องมีระยะเวลา ค้ำประกันเกินกว่าระยะเวลาสิ้นสุดสัญญาไม่น้อยกว่า หนึ่งปี หรือ 3. กรณีผู้กู้ยืมจดทะเบียน เป็นนิติบุคคล ให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นผู้ค้ำประกันได้แก่ กรรมการบริหารหุ้นส่วนผู้จัดการ หรือผู้แทนอื่นของ นิติบุคคล แล้วแต่กรณี กรณีผู้ค้ำประกันมี คู่สมรสต้องได้รับความยินยอมจากคู่สมรส โดยให้คู่สมรสลงนามให้ความยินยอมในสัญญา ค้ำประกัน

12 ผู้กู้ยืมเป็นบุคคลธรรมดา
หลักประกัน : หลักประกันในการค้ำประกัน 1.พันธบัตรรัฐบาลไทย หรือ 2. หนังสือค้ำประกันของธนาคาร ต้องมีจำนวนเงินค้ำประกันไม่น้อยกว่าวงเงินกู้ยืม และต้องมีระยะเวลาค้ำประกันเกินกว่าระยะเวลาสิ้นสุดสัญญาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี

13 อัตราดอกเบี้ย ประกาศคณะกรรมการส่งเสริม การพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง กำหนดวงเงินกู้ยืมและการชำระเงินคืนกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ลงวันที่ 13 กรกฎาคม 2559 1. ผู้ดำเนินการฝึก 2. ผู้ดำเนินการทดสอบ มาตรฐานฝีมือแรงงาน 3. ผู้ประกอบกิจการ อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 3 ต่อปี ประกาศคณะกรรมการส่งเสริม การพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง กำหนดวงเงินกู้ยืมและการชำระเงินคืนกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 8 มิถุนายน 2560 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0 ต่อปี เป็นเวลา 1 ปี (ตั้งแต่ 8 มิ.ย. 60 – 7 มิ.ย. 61)

14 ผู้กู้ยืมที่ทำสัญญาตั้งแต่ 8 มิ.ย. 60 – 7 มิ.ย. 61
29/12/61 ผู้กู้ยืมที่ทำสัญญาตั้งแต่ 8 มิ.ย. 60 – 7 มิ.ย. 61 จะได้รับอัตรา ดอกเบี้ย ตลอดอายุสัญญา เริ่ม 8 มิ.ย.60 สิ้นสุด 7 มิ.ย. 61 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0 ตลอดอายุสัญญา ที่มา : ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง กำหนดวงเงินกู้ยืมและการชำระเงินคืนกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 8 มิถุนายน 2560

15 การชำระหนี้เงินกู้ยืม ไม่เกินวันที่ 5 ของเดือนถัดไป
วิธีการชำระเงิน เงินสด เช็ค ตั๋วแลกเงิน หรือธนาณัติ ชำระผ่านธนาคาร เริ่มชำระหนี้คืน หลังจากลงนามในสัญญา และได้รับเช็คแล้ว ไม่เกินวันที่ 5 ของเดือนถัดไป ระยะเวลาผ่อนชำระไม่เกิน 12 เดือน

16 ทำสัญญากู้ยืมและรับเช็ค
วันเริ่มชำระหนี้ กรณีผู้ดำเนินการฝึก ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ผู้ประกอบกิจการ ให้ชำระหนี้เงินกู้ยืมคืนกองทุนหลังจากลงนามในสัญญาและได้รับเช็คแล้ว โดยชำระเป็นรายเดือน ภายในวันที่ 5 ของเดือนถัดไป ตัวอย่าง บริษัท ก จำกัด กู้ยืมเงินกองทุนเพื่อดำเนินการฝึกอบรมให้แก่ลูกจ้าง โดยทำสัญญากู้ยืมเงินและได้รับเช็ควันที่ 8 กรกฎาคม 2560 ดังนั้น บริษัท ก จำกัด จะต้องเริ่มชำระหนี้งวดแรก วันที่ 1 สิงหาคม 2560 8 ก.ค. 60 ภายในวันที่ 5 ส.ค. 60 ทำสัญญากู้ยืมและรับเช็ค เริ่มชำระงวดแรก

17 กู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
ยกเว้นภาษี ค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการฝึกอบรมสามารถนำไปยกเว้นภาษีเงินได้ร้อยละร้อย ประเมินเงินสมทบกองทุน พัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด “ไม่ต้องส่งเงินสมทบเข้ากองทุน” ลดต้นทุน ลูกจ้างได้รับการพัฒนาทักษะฝีมือ เพิ่มผลิตภาพแรงงาน ลดต้นทุนการผลิต กู้ใหม่ ชำระคืนหมดแล้ว ขอกู้ใหม่ได้

18 สถานที่ยื่นคำขอกู้ยืมเงินและทำสัญญา
กรุงเทพมหานคร สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 13 กรุงเทพมหานคร จังหวัดอื่น สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน

19 การติดตามหนี้

20 การแจ้งชำระหนี้เงินกู้ยืม
กำหนดให้ชำระหนี้ภายใน 30 วัน แจ้งให้ลูกหนี้ชำระเงินที่ค้างชำระพร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 15 ต่อปี 1. ดำเนินการแจ้งหนี้ เมื่อลูกหนี้ผิดนัด ชำระหนี้ ทำหนังสือแจ้งผู้ค้ำประกันภายใน 60 วัน (ตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 20) พ.ศ มาตรา 686 2. การทำหนังสือ แจ้งไปยังผู้ค้ำ ประกัน

21 การแจ้งชำระหนี้เงินกู้ยืม
เมื่อตรวจสอบพบว่าลูกหนี้ไม่ชำระหนี้เป็นเวลา 3 งวดติดต่อกัน โดยแจ้งให้ลูกหนี้ชำระเงินที่ค้างชำระพร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 15 ต่อปี หากยังไม่ชำระ ให้ส่งฟ้องคดีตามกฎหมาย 3. แจ้งบอกเลิก สัญญา ส่งหนังสือแบบลงทะเบียนตอบรับ และจัดเก็บ ใบตอบรับ หรือจดหมายตีกลับไว้กับสำเนาหนังสือแจ้งหนี้ทุกครั้ง หากไม่ได้รับใบตอบรับให้ตรวจสอบจากระบบค้นหาสิ่งของฝากส่งทางไปรษณีย์ ที่เว็บไชต์ 4. ข้อปฏิบัติในการ ส่งหนังสือแจ้งหนี้

22 สรุปการให้กู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
29/12/61 สรุปการให้กู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ให้สพร.และศพจ. ดำเนินการดังนี้ 1. ตรวจสอบเอกสารให้ถูกต้องครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด 2. ส่งสำเนาคำขอกู้ยืมเงินให้กองส่งเสริมฯ ภายในวันที่ 20 ของทุกเดือน เพื่อเสนอคณะอนุกรรมการฯ พิจารณาอนุมัติ และเสนอคณะกรรมการ ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน ให้ความเห็นชอบการจ่ายเงินกู้ยืม 3. ส่งแบบติดตามประเมินผลการให้กู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน (แบบ กย.6) ให้กองส่งเสริมฯ เพื่อสรุปรายงานคณะกรรมการส่งเสริมฯ ใส่แบบ กย.6 ฉบับปรับปรุง หนังสือแนวปฏิบัติการให้กู้ยืมเงิน ระบบสารสนเทศกองทุน

23 สาระสำคัญ 1. อายุข้อมูลเครดิตบูโรในการยื่นคำขอกู้ยืมเงิน
- ต้องมีอายุไม่เกิน 30 วัน ณ วันที่ยื่นคำขอกู้ยืมเงิน - กรณีผู้กู้ยืมเงินรายเดิมประสงค์จะขอกู้ยืมเงินใหม่ (ปิดบัญชีแล้ว จะขอกู้ยืมใหม่) ให้ยื่นข้อมูลเครดิตบูโรใหม่ด้วยทุกครั้ง 2. กำหนดเวลาการทำสัญญาเมื่อได้รับอนุมัติให้กู้ยืมเงิน -ให้ทำสัญญาภายใน 30 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งผลการพิจารณา แต่หากมีเหตุจำเป็นสามารถเลื่อนระยะเวลาได้ แต่ไม่เกิน 30 วัน

24 สาระสำคัญ (ต่อ) 3. การเลื่อนเวลาการฝึกอบรมออกไปจากที่แจ้งไว้ในคำขอกู้ยืมเงิน - ให้ผู้กู้ยืมเงินแจ้งเหตุผล พร้อมระบุวันเริ่ม- จบฝึกอบรม หรือทดสอบมาตรฐานฯ ให้สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่ทำสัญญา เพื่อแนบไว้ กับสัญญากู้ยืมเงิน การเปลี่ยนแปลงเวลาการฝึกอบรมต้องไม่กระทบกับวงเงิน กู้ยืมที่ได้รับอนุมัติและสัญญากู้ยืม

25 สาระสำคัญ (ต่อ) 4.จำนวนลูกจ้างที่ระบุในคำขอกู้ยืมเงิน (ข้อ1) ต้องเป็นจำนวนลูกจ้าง ที่นำส่งเงินสมทบประกันสังคม 5.นำเงินกู้ยืมไปใช้ฝึกอบรม/ทดสอบมาตรฐานฯ ตามที่ได้รับอนุมัติ และส่งภาพถ่ายหรือวีดีโอให้กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 6.หากตรวจสอบภายหลังพบว่าผู้กู้ยืมเงินระบุข้อมูลไม่ตรงกับ ความเป็นจริง จะพิจารณายกเลิกการอนุมัติให้กู้ยืมเงินกองทุนฯ

26 ผลการดำเนินงาน การให้กู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ 2560
29/12/61 ผลการดำเนินงาน การให้กู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ 2560 ระหว่างเดือนตุลาคม มิถุนายน 2560 รายการ งบประมาณ อนุมัติ ร้อยละ คงเหลือ งบประมาณให้กู้ยืมเงิน 67,695,300 51,320,800 75.81 16,374,500 24.19

27 ผลการดำเนินงาน การชำระคืนเงินกู้ยืมกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ 2560 ระหว่างเดือนตุลาคม มิถุนายน 2560 รายการ ถึงกำหนดชำระคืน ชำระคืน ร้อยละ ค้างชำระ (บาท) บริษัท บาท 2560 (ต.ค.59-มิ.ย.60) 48,891,776.09 48,659,293.08 99.52 3 232,483.01 0.48

28 ต้องจัดทำสัญญาและจ่ายเงินกู้ยืมให้เสร็จสิ้นภายในเดือนกันยายน 2560
แผนการดำเนินงาน วงเงินกู้คงเหลือ 16,374,500 บาท ต้องจัดทำสัญญาและจ่ายเงินกู้ยืมให้เสร็จสิ้นภายในเดือนกันยายน 2560

29 ให้ตรวจสอบเอกสารให้ถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำหนด
แผนการดำเนินงาน ให้สพร.และสนพ. ส่งสำเนาคำขอกู้ยืมเงินให้กองส่งเสริมฯ เพื่อเสนอคณะอนุกรรมการฯ พิจารณาอนุมัติ เดือน ส่งคำขอกู้ เสนอพิจารณา ก.ค. 60 ภายในวันที่ 20 ก.ค. 60 27 ก.ค. 60 ส.ค. 60 ภายในวันที่ 21 ส.ค. 60 25 ส.ค. 60 ให้ตรวจสอบเอกสารให้ถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำหนด

30 การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 30

31 29/12/61 ความเป็นมา พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ มาตรา 28 (3) บัญญัติให้ใช้จ่ายเงินกองทุนเพื่อช่วยเหลือหรืออุดหนุนกิจการใดๆ ที่เกี่ยวกับ การส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการประกาศกำหนด

32 29/12/61 ความเป็นมา ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อช่วยเหลือหรืออุดหนุนกิจการใดๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน และช่วยเหลือหรืออุดหนุน การดำเนินการของศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถกลาง ลงวันที่ 9 มิถุนายน 2560 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2560 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 2560 เป็นต้นไป

33 29/12/61

34 ผู้มีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน
29/12/61 ผู้มีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน 3 เรื่อง ผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/กลุ่มผู้ประกอบกิจการ 5 เรื่อง ศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถ ตามม. 26/4(2) 1 เรื่อง ศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถกลาง 1 เรื่อง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 1 เรื่อง 34

35 ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน
29/12/61 ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน อุดหนุนแก่ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับอนุญาตตามมาตรา 24 ซึ่งดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และมีผู้ผ่านการทดสอบในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ 100 คน ขึ้นไป ให้เงินอุดหนุนปีละ 10,000 บาทต่อผู้ผ่านการทดสอบ ทุก 100 คน ส่วนที่เกิน 100 คน ถ้ามีจำนวนตั้งแต่ 75 คนขึ้นไป ให้ปัดเป็น 100 คน 1 1. ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ซึ่งดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนปีละ 10,000 บาทต่อผู้ผ่านการทดสอบทุก 100 คน ส่วนที่เกิน 100 คน ถ้ามีจำนวนตั้งแต่ 75 คนขึ้นไป ให้เงินอุดหนุนอีก 10,000 บาท 35

36 ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน
29/12/61 2 อุดหนุนเป็นค่าทดสอบแก่ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับอนุญาตตามมาตรา 24 ซึ่งดำเนินการทดสอบให้แก่ผู้เข้ารับการทดสอบที่กรมพัฒนาฝีมือแรงงานส่งไปทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ในสาขาอาชีพที่จำเป็นต้องให้การส่งเสริมหรือสนับสนุนให้มีผู้ประกอบอาชีพที่มีทักษะฝีมือได้มาตรฐานเพียงพอ ต่อความต้องการของตลาดแรงงาน หรือเป็นสาขาอาชีพที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญ เครื่องมืออุปกรณ์หรือเทคโนโลยีเฉพาะด้าน 2. ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ซึ่งดำเนินการทดสอบให้แก่ผู้เข้ารับการทดสอบที่กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ส่งไปทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเป็นค่าทดสอบ สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน ยังไม่ได้กำหนดสาขาอาขีพ ที่จะส่งผู้เข้ารับการทดสอบ ไปทดสอบกับศูนย์ทดสอบฯ 36

37 29/12/61 ผู้ประกอบกิจการ 3 อุดหนุนแก่ผู้ประกอบกิจการที่ส่งเงินสมทบเข้ากองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานภายในเวลาที่กำหนดในปีที่ผ่านมา และได้ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานตามมาตรา 29 วรรคสองครบครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนดในปีถัดมา ให้เงินอุดหนุนร้อยละ 10 ของเงินสมทบที่นำส่ง 3. ผู้ประกอบกิจการที่ส่งเงินสมทบเข้ากองทุนภายในเวลาที่กำหนดในปีที่ผ่านมา และได้ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงาน ครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนดในปีถัดมา ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนร้อยละ 10 ของเงินสมทบที่นำส่ง ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 29 วรรคสอง ผู้ประกอบกิจการที่จัดให้มีการฝึกอบรมฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างของตน หรือ ส่งลูกจ้างเข้ารับ การทดสอบและผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ หรือ มีลูกจ้างผ่านการรับรอง ความรู้ความสามารถจากศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถ 37

38 ตัวอย่าง ผู้ประกอบกิจการ
29/12/61 ตัวอย่าง ผู้ประกอบกิจการ การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน √ ร้อยละ 10 ของเงินสมทบที่นำส่งเข้ากองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ผู้ประกอบกิจการดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานไม่ครบตามสัดส่วน ที่กฎหมายกำหนด ส่งเงินสมทบ เข้ากองทุนฯ ภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด ยื่นขอรับเงินอุดหนุน ปี พ.ศ. 2558 ภายใน มี.ค. 2559 ปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2560

39 ตัวอย่าง ปี 2558 ปี 2560 1 ม.ค.58 31 ธ.ค.58 1 ม.ค.59 31 ส.ค.60 ปี 2559 31 ธ.ค.59 1 ม.ค.60 ปี พ.ศ ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างไม่ครบตามสัดส่วน ที่กฎหมายกำหนด จำนวน 50 คน ส่งเงินสมทบของปี พ.ศ. 2558 ภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด (ภายในเดือนมีนาคม 2559) จำนวน 54,000 บาท (50 คน X 1,080 บาท) ส่งเงินสมทบ 20 มี.ค. 59 ปี พ.ศ. 2559 ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงาน ให้ลูกจ้าง ครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด ปี พ.ศ.2560 ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือ หรืออุดหนุน จำนวน 5,400 บาท (54,000 x 10%) ปี 2558

40 29/12/61 ผู้ประกอบกิจการ 4 อุดหนุนแก่ผู้ประกอบกิจการที่ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 29 วรรคสอง ในปีที่ผ่านมา ส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 ของลูกจ้างทั้งหมด ให้เงินอุดหนุน 200 บาทต่อลูกจ้าง 1 คน 4. นำผลการพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฝึกอบรม+ทดสอบ+ประเมินความรู้ความสามารถ) ปี พ.ศ รวมกัน ส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 นำมาขอรับเงินอุดหนุน ในปี พ.ศ (เพิ่มเติมใหม่) ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 29 วรรคสอง ผู้ประกอบกิจการที่จัดให้มีการฝึกอบรมฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างของตน หรือ ส่งลูกจ้างเข้ารับ การทดสอบและผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ หรือ มีลูกจ้างผ่านการรับรอง ความรู้ความสามารถจากศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถ 40

41 ตัวอย่าง ผู้ประกอบกิจการ การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน
29/12/61 ตัวอย่าง ผู้ประกอบกิจการ การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน √ จำนวน 200 บาทต่อลูกจ้าง 1 คน ผู้ประกอบกิจการดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้าง (ฝึกอบรม+ทดสอบ+ประเมินความรู้ความสามารถ) ส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 ของลูกจ้างทั้งหมด ขอรับเงินอุดหนุน 200 บาทต่อลูกจ้าง 1 คน 1. ยื่นประเมินเงินสมทบกองทุนฯ ประจำปี พ.ศ. 2560 2. สรุปจำนวนลูกจ้างที่ได้รับการพัฒนาฝีมือแรงงาน ในปี พ.ศ ส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 คือ ตั้งแต่คนที่ 71 เป็นต้นไป (ลูกจ้างที่ได้รับการพัฒนาฝีมือแรงงานต้องไม่ซ้ำคน) นำมาขอรับเงินอุดหนุน จำนวน 200 บาทต่อคน ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561

42 29/12/61 ผู้ประกอบกิจการ 5 อุดหนุนแก่ผู้ประกอบกิจการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ของตนตามมาตรา 26 และได้นำมาตรฐานฝีมือแรงงานดังกล่าวไปใช้ ในการทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน ให้เงินอุดหนุนในแต่ละสาขาระดับละ 10,000 บาท ให้ใช้บังคับกับมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับการรับรองตั้งแต่ ปี พ.ศ เป็นต้นไป 5. ผู้ประกอบกิจการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานของตน และได้นำมาตรฐานฝีมือแรงงานดังกล่าวไปใช้ในการทดสอบ ให้แก่ลูกจ้างของตน ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนในแต่ละสาขาระดับละ 10,000 บาท 42

43 ตัวอย่าง ผู้ประกอบกิจการ
การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน √ เป็นค่าจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานของผู้ประกอบอาชีพและนำไปทดสอบ ให้แก่ลูกจ้างของตน สาขาระดับละ 10,000 บาท ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานของตนตามมาตรา 26 นำมาตรฐานฯ ที่ได้การรับรองไปทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน ยื่นขอรับเงินอุดหนุน ใช้บังคับกับมาตรฐานฝีมือแรงงาน ที่ได้รับการรับรองตั้งแต่ปี พ.ศ เป็นต้นไป ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2560

44 29/12/61 ผู้ประกอบกิจการ 6 อุดหนุนแก่ผู้ประกอบกิจการที่ส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบและผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ และได้จ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างดังกล่าว ตามประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 180 วันก่อนวันยื่นขอรับเงินอุดหนุน ให้เงินอุดหนุน 1,000 บาทต่อลูกจ้าง1 คน ทั้งนี้ไม่เกิน ปีละ 100,000 บาท 6. ผู้ประกอบกิจการที่ส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบและผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ และได้จ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างดังกล่าวตามมาตรฐานฝีมือ ไม่น้อยกว่า 180 วัน ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน 1,000 บาทต่อลูกจ้าง 1 คน ทั้งนี้ ไม่เกินปีละ 100,000 บาท 44

45 ยื่นขอรับเงินอุดหนุน
ตัวอย่าง ผู้ประกอบกิจการ การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน √ รับเงินจำนวน 1,000 บาท ต่อลูกจ้าง 1 คน (ไม่เกินปีละ 100,000 บาท) ผู้ประกอบกิจการ ส่งลูกจ้าง เข้ารับการทดสอบ และผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ จ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือให้แก่ลูกจ้างดังกล่าว ไม่น้อยกว่า 180 วัน ก่อนวันยื่นขอรับเงินอุดหนุน ยื่นขอรับเงินอุดหนุน จ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างที่ผ่านการทดสอบ ตามประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ ปี พ.ศ. 2560

46 29/12/61 ผู้ประกอบกิจการ 7 อุดหนุนแก่ผู้ประกอบกิจการเป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน เพื่อพัฒนาทักษะความรู้ให้แก่ลูกจ้าง เพื่อเป็นการสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ ให้เงินอุดหนุน เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินปีละ 100,000 บาท ทั้งนี้ หลักสูตรการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานประกาศกำหนด 7. ผู้ประกอบกิจการเป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ให้แก่ลูกจ้าง เพื่อเป็นการสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินปีละ 100,000 บาท ทั้งนี้ หลักสูตรการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานประกาศกำหนด (เพิ่มเติมใหม่) อยู่ระหว่างจัดทำร่างประกาศคณะกรรมการส่งเสริมฯ กำหนดหลักเกณฑ์ การพิจารณาหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ให้แก่ลูกจ้างเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมฯ 46

47 ผู้ดำเนินการทดสอบฯ /ศูนย์ประเมินฯ ตามมาตรา 26/4(2)
29/12/61 ผู้ดำเนินการทดสอบฯ /ศูนย์ประเมินฯ ตามมาตรา 26/4(2) 8 อุดหนุนแก่ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานตามมาตรา 24 หรือศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถตามมาตรา 26/4 (2) ที่เป็นหน่วยงานของรัฐ ซึ่งส่งเงินค่าทดสอบหรือค่าธรรมเนียมเข้ากองทุน ให้เงินอุดหนุนเท่ากับจำนวนเงินที่ส่งเข้ากองทุน 8. ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานตามมาตรา 24 หรือศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถตามมาตรา 26/4 (2) ที่เป็นหน่วยงานของรัฐ ซึ่งส่งเงินค่าทดสอบหรือค่าธรรมเนียมเข้ากองทุน ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเท่ากับจำนวนเงินที่ส่งเข้ากองทุน (เพิ่มเติมใหม่) 47

48 ศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถกลาง
29/12/61 ศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถกลาง 9 อุดหนุนแก่ศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถกลาง เป็นค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายอื่นของผู้ประเมิน และค่าใช้จ่ายในการดำเนินการรับรองความรู้ความสามารถ ทั้งนี้ตามระเบียบของทางราชการ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาฝีมือแรงงานในกรณีที่ศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถตามมาตรา 26/4 (2) มีจำนวนไม่เพียงพอต่อการรับรองความรู้ความสามารถ 9. ศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถกลาง เป็นค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายอื่นของผู้ประเมิน และค่าใช้จ่ายในการดำเนินการรับรองความรู้ความสามารถ 48

49 29/12/61 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 10 อุดหนุนแก่กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ในสาขาอาชีพ ตำแหน่งงาน หรือลักษณะงาน ที่อาจเป็นอันตรายต่อสาธารณะหรือต้องใช้ผู้มีความรู้ความสามารถ ในกรณีที่งบประมาณมีจำนวนไม่เพียงพอและจำเป็นต้องดำเนินการเพิ่มเติมจากเป้าหมายที่ได้รับงบประมาณรายจ่ายประจำปี 10. กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ในสาขาอาชีพ ตำแหน่งงาน หรือลักษณะงาน ที่อาจเป็นอันตรายต่อสาธารณะหรือต้องใช้ผู้มีความรู้ความสามารถ ในกรณีที่งบประมาณมีจำนวนไม่เพียงพอและจำเป็นต้องดำเนินการเพิ่มเติม จากเป้าหมายที่ได้รับงบประมาณรายจ่ายประจำปี (เพิ่มเติมใหม่) 49

50 การยื่นขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน
29/12/61 การยื่นขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ผู้ประสงค์จะขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนจากกองทุนพัฒนา ฝีมือแรงงาน กรณีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเกิดมีขึ้นในปีใด ให้ยื่น คำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ภายในวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป 11. ผู้ประสงค์จะขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนจากกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน กรณีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเกิดมีขึ้นในปีใด ให้ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ภายในวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป 50

51 สถานที่ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน
ผู้ประสงค์จะขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนจากกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ให้ยื่นคำขอ ณ หน่วยงานของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานที่ตั้งอยู่ในจังหวัดที่สถานประกอบกิจการ ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานหรือศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถ ตั้งอยู่แล้ว แต่กรณี กรุงเทพมหานคร สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 13 กรุงเทพมหานคร จังหวัดอื่น สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน

52 การพิจารณาอนุมัติ สพร. และ สนพ. ได้รับมอบอำนาจจากอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (คำสั่งที่ 2234/2559 ลงวันที่ 20 ธันวาคม 2559) พิจารณาคำขอรับเงินช่วยเหลือหรือ อุดหนุนพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ หากเห็นว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ให้อนุมัติคำขอและจ่ายเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนแก่ผู้ยื่นคำขอ

53 การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ 2560
(ตุลาคม มิถุนายน 2560) ปีงบประมาณ จำนวนเงินงบประมาณ (บาท) อนุมัติเงินอุดหนุน ร้อยละ งบประมาณคงเหลือ ผู้ดำเนินการทดสอบฯ ตามมาตรา 24 ผู้ประกอบกิจการที่ส่งเงินสมทบเข้ากองทุนฯ ศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถกลาง รวม (แห่ง) รวม(ต.ค.59-มิ.ย.60) 8,626,200 26 780,000 5 29,916 1,771,953.89 31 2,581,869.89 29.93 6,044,330.11 1. ผู้ดำเนินการทดสอบ/ ผู้ประกอบกิจการ 1,000,000 - 809,916.00 80.99 190,084.00 2. ศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถกลาง 7,626,200 23.24 5,854,246.11 หมายเหตุ ข้อมูลศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถกลาง ณ เดือนพฤษภาคม 2560 53

54 สรุปการให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน
สพร.และสนพ. ดำเนินการ ดังนี้ สำรวจข้อมูลผู้มีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ส่งให้กองส่งเสริมฯ เพื่อโอนเงินอุดหนุนให้ต่อไป 2. ดำเนินการอนุมัติจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่ผู้มีสิทธิ 3. รายงานผลการพิจารณาอนุมัติให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน (แบบ ชอ.4) ส่งให้กองส่งเสริมฯ ภายในวันที่ 10 ของเดือน 4. ส่งแบบรายงานผลการดำเนินงานการพัฒนาฝีมือแรงงานของผู้ได้รับ เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนจากกองทุนฯ ส่งให้กองส่งเสริมฯ 54

55 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
29/12/61 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน กลุ่มงานบริหารกองทุน โทร ดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ : 55

56 56

57 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน 081 9134601
สอบถาม ข้อมูลเพิ่มเติม กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน โทร ดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ :


ดาวน์โหลด ppt การส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google