แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
5 สายโซ่คุณค่า คืออะไร ? Value Chain (Supply Chain) 1.
Advertisements

ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement) ลักษณะสำคัญขององค์กร
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ กลุ่มพัฒนาระบบบริหารระดับกระทรวง กรม และจังหวัด กุมภาพันธ์ 2549 สำนักงาน ก.พ.ร.
ลักษณะสำคัญขององค์กร
Good Practice (for Quality Improvement)
Good Practice (for Quality Improvement)
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
1 1 การพัฒนาภาวะผู้นำ กับการบริหารการเปลี่ยนแปลง อนุชิต ฮุนสวัสดิกุล สำนักงาน ก.พ.ร.
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
4 การวัด การวิเคราะห์ และ การจัดการความรู้ Measurement Analysis and Knowledge Management State Enterprise Performance Appraisal.
การฝึกอบรมคืออะไร.
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP
วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่ม ผลผลิต (Work Development with Quality Management.
สิริพินท์ ศิริโสภาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
บทที่ 7 หลักการบริหารงานคุณภาพ
หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.
การใช้เครื่องมือการจัดการในองค์การภาครัฐ
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment Report)
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โดยสรุป 10 ขั้นตอนในการ implement
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน สถานการณ์ปัญหาที่ 1
การเบิก-จ่ายเงินอย่างมืออาชีพ
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ระดับพื้นฐาน (FL)
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การคำนวณต้นทุนผลผลิต วันที่ ก. พ
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
ดร.อัญชลี ประกายเกียรติ
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
Click to edit Master title style
แผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงปี
นายสมชัย ชวลิตธาดา EKACHAI SCHOOl โรงเรียนเอกชัย
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ/ คุณภาพการทำงาน
คลินิกไร้พุงคุณภาพ (DPAC Quality)
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
ผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (10 Product Champion)
การปรับยุทธศาสตร์ (Reprofiling) มหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่
เป็นฐานสำคัญขององค์กร
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
ปศธ.พบดรีมทีม ร่วมสานฝันพัฒนา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในปี2551
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
บทที่ 14 ระบบสารสนเทศ กับการเปลี่ยนแปลงองค์การ
โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
ระดับบริหารทางการพยาบาล จุฑารัตน์ เพ็ญเขตต์วิทย์
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award) PMQA

แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable ความเป็นระบบของกระบวนการต่างๆ ของส่วนราชการที่ทำให้ส่วนราชการสามารถดำเนินการไปได้อย่างชัดเจน และสอดคล้องกันทั่วทั้งองค์การ 2. Sustainable การแสดงถึงความมุ่งมั่น มุ่งเน้นในการนำกระบวนการที่กำหนดไว้อย่างเป็นระบบสู่การปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอและทั่วถึง เพื่อความยั่งยืนของส่วนราชการ 3. Measurable การกำหนดตัวชี้วัดเพื่อใช้ในการควบคุม ติดตาม และประเมินผลการดำเนินการของส่วนราชการ รวมทั้งใช้ในการศึกษาเทียบเคียง (Benchmark) เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาส่วนราชการอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

Approach Deployment Learning Integration แนวทางการจัดการกระบวนการ วิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยภายในและภายนอก Approach กำหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัดกำหนดแผนวิธีการที่ชัดเจน กำหนดแผนประเมิน แผนป้องกัน กำหนดวิธีการปฏิบัติ ตัวชี้วัด (Lead) Deployment วิเคราะห์ความเสี่ยงจัดสรรทรัพยากรและบุคคล ปฏิบัติตามแผน คลอบคลุมสู่ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามประเมินผล สรุปผลลัพธ์ Learning สรุปบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างนวัตกรรม นำไปปรับปรุงแบบก้าวกระโดด บทเรียนต่อกระบวนการอื่น Integration ความสอดคล้อง ตัวชี้วัด เป้า แผนปฏิบัติ วิธีวัด การปรับปรุง ผลของกระบวนการที่ผลักดันสู่เป้าหมายขององค์กร

www.themegallery.com

www.themegallery.com

3 1 4 2 5 6

1 หมวด 1 การนำองค์การ www.themegallery.com

1.1 การนำองค์การโดยผู้บริหารของส่วนราชการ ก.วิสัยทัศน์ ค่านิยม พันธกิจ หมวด 1 การนำองค์การ 1.1 การนำองค์การโดยผู้บริหารของส่วนราชการ ก.วิสัยทัศน์ ค่านิยม พันธกิจ ข. การสื่อสารผลการดำเนินการขององค์การ 1.2 การกำกับดูแลองค์การและความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำกับดูแลองค์การ ข. การประพฤติปฏิบัติตนตามกฎหมายอย่างมีจริยธรรม ค. ความรับผิดชอบต่อสังคมและการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ

ระบบการนำ (Leadership System) กำหนดทิศทาง สื่อสาร ทำให้สอดคล้อง สร้างผู้นำ GOOD GOVERNANCE & GOOD CITIZENSHIP สร้างบรรยากาศ สร้างขวัญกำลังใจ เสริมพลัง ติดตามประเมินผล ดำเนินการ เป็นต้นแบบ

หมวด 1 การนำองค์การ 1.1 การนำองค์การโดยผู้บริหารของส่วนราชการ ก. วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ ข. การสื่อสารและผลการดำเนินการขององค์การ (1). วิสัยทัศน์และค่านิยม (2). การส่งเสริมการประพฤติปฏิบัติตามหลักนิติธรรม ความโปร่งใส และความมีจริยธรรม (3). การสร้างองค์การคุณภาพที่ยั่งยืน (4). การสื่อสาร (5). การทำให้เกิดการปฏิบัติอย่างจริงจัง

หมวด 1 การนำองค์การ 1.2 การกำกับดูแลองค์การและความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำกับดูแลองค์การ ข. การประพฤติปฏิบัติตามกฎหมาย และอย่างมีจริยธรรม ค. ความรับผิดชอบต่อสังคมและการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ (6). ระบบการกำกับดูแลองค์การ (7). การประเมินผลการดำเนินงาน (8). การประพฤติกฎระเบียบ (9). การประพฤติปฏิบัติอย่างมีจริยธรรมปฏิบัติตามกฎหมายและ (10). ความผาสุกของสังคม (11). การสนับสนุนชุมชน

3 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Customer and stakeholder focus) เพื่อให้ส่วนราชการสามารถกำหนดวิธีการที่ใช้รับฟังเสียงของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการใช้สารสนเทศเกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการปรับปรุงและค้นหาโอกาสในการสร้างนวัตกรรม เพื่อสร้างความผูกพันและความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เชื่อมโยงข้อมูลหมวด P ข้อ 7

หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 สารสนเทศผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก.สารสนเทศผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การประเมินความพึงพอใจและการสร้างความผูกพันกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 การสร้างความผูกพันกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ผลผลิต การบริการ และการสนับสนุนผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การสร้างความผูกพันกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 สารสนเทศผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. สารสนเทศผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การประเมินความพึงพอใจ และความผูกพันของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (1). สารสนเทศผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในปัจจุบัน (2). สารสนเทศผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่พึงมีในอนาคต (3). ความพึงพอใจและความผูกพันของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (4). ความพึงพอใจเปรียบเทียบกับคู่แข่ง (5). ความไม่พึงพอใจ

หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 การสร้างความผูกพันกับ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก.ผลผลิต การบริการ และการสนับสนุนผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (6). ผลผลิตและการบริการ (7). การสนับสนุนผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (8). การจำแนกผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (9). การจัดการความสัมพันธ์ (10). การจัดการกับข้อร้องเรียน

อธิบายวิธีการที่องค์กรกำหนดผลิตภัณฑ์และกลไกการสื่อสารต่างๆ 3.1 สารสนเทศผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการเสาะหาสารสนเทศจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อธิบายวิธีการที่องค์กรรับฟังลูกค้า และได้สารสนเทศ ด้านความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ 3.2 การสร้างความผูกพัน: องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการตอบสนองความต้องการกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อสร้างความสัมพันธ์ อธิบายวิธีการที่องค์กรกำหนดผลิตภัณฑ์และกลไกการสื่อสารต่างๆ เพื่อสนับสนุนลูกค้ารวมทั้งอธิบายวิธีการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า 29

SIPOC Model / Value chain model ผู้รับสินค้าหรือบริการคือใคร 1 Customers สินค้าหรือบริการคืออะไร Outcome 2 3 Outputs ความต้องการคืออะไร กระบวนการที่เหมาะสมคืออย่างไร 4 Process ปัจจัยนำเข้าของกระบวนการคืออะไร 5 Inputs ผู้ส่งมอบปัจจัยคือใคร 6 Suppliers 30

การจัดลำดับความสำคัญ ของโอกาสในการปรับปรุง

แนวทางการกำหนด Vital Few เพื่อจัดลำดับความสำคัญ ระดับผลกระทบหากไม่ดำเนินการ น้อย มาก ระดับ การปรับปรุง ง่าย ปรับปรุงง่าย ผลกระทบน้อย ผลกระทบมาก ยาก ปรับปรุงยาก ตารางแบบ 2 ปัจจัย

2 ตารางการจัดลำดับความสำคัญ ระดับผลกระทบ มาก น้อย   ปรับปรุงง่าย ผลกระทบน้อย ปรับปรุงง่าย ผลกระทบมาก ง่าย ความยากง่ายของการปรับปรุง ปรับปรุงยาก ผลกระทบน้อย ยาก   ปรับปรุงยาก ผลกระทบมาก

3การจัดลำดับความสำคัญตามน้ำหนักของ OFI ความรุนแรงของปัญหา โอกาสของความสำเร็จ คะแนน รวม 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 ความถี่ ของปัญหา

ความยาก – ง่าย โอกาสความสำเร็จของการปรับปรุง ระดับการปรับปรุง เปอร์เซนต์ความพร้อมของทรัพยากร (คน เงิน เวลา และ วัสดุอุปกรณ์ ) ง่าย มากกว่าหรือเท่ากับ 50 % ของแต่ละ ทรัพยากรที่ต้องการ ยาก ต่ำกว่า 50% ของแต่ละทรัพยากรที่ ต้องการ

ระดับผลกระทบ / ความรุนแรงของปัญหาของ องค์กรหากไม่ดำเนินการ ความเสียหาย ( ด้านเวลา ) มาก ทำให้เกิดความล่าช้าของโครงการ มากกว่า 3 เดือน น้อย ทำให้เกิดความล่าช้าของโครงการ น้อยกว่า 3 เดือน ความเสียหาย (ด้านการเงิน) มาก มากกว่า 5 แสนบาท น้อย ต่ำกว่า 5 แสนบาท

ระดับผลกระทบ /ความรุนแรงของปัญหา ขององค์กรหากไม่ดำเนินการ (ต่อ) ความเสียหาย(ด้านชื่อเสียง) มาก มีการเผยแพร่ข่าวทั้งจากภายในและต่างประเทศ น้อย มีการเผยแพร่ข่าวในหนังสือพิมพ์ในประเทศหลายฉบับ 2 – 3 วัน ความเสียหาย( ด้านลูกค้า ) มาก ผู้ใช้บริการลดลงมากกว่า 50 คนต่อเดือน น้อย ผู้ใช้บริการลดลงน้อยกว่า 50 คนต่อเดือน

ตารางหาความสัมพันธ์ระหว่างทางเลือกกับเกณฑ์

การกำหนดระดับคะแนนของแต่ละเกณฑ์ ตารางตัวอย่าง การกำหนดระดับคะแนนของแต่ละเกณฑ์

การจัดทำแผนพัฒนาองค์กร

www.themegallery.com

www.themegallery.com

มีกิจกรรมในขั้นเริ่มต้น ระดับการประเมิน ระดับ ความหมาย ไม่มีการดำเนินการ 1 มีกิจกรรมในขั้นเริ่มต้น 2 เริ่มมีแนวทางอย่างเป็นระบบที่ตอบสนองต่อหัวข้ออย่างหลวมๆ 3 มีการดำเนินการที่ชัดเจน และเป็นระบบ มีการนำไปใช้ 4 มีการดำเนินการที่เป็นระบบ ต่อเนื่อง และปรับปรุงมาหลายปี 5 มีผลลัพธ์ที่เป็นเยี่ยมตอบสนองความต้องการของส่วนราชการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย