การป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of interests)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุป assignment ที่ 1 มีทั้งหมด สอง file เป็น slide ประกอบเสียงเปิด เสียงฟังดังๆ จะเปลี่ยนรูปเอง โดยอัตโนมัติค่ะ.
Advertisements

การกระจายผลิตภัณฑ์ในเชิงกายภาพ
สป./กรม สปสช. สสข.*(New) กสธ.ส่วนกลาง เครือข่ายบริการ คปสข. National Health Service Delivery Board สป./กรม สปสช. National Health Authority : Strategic.
OOP (Object-Oriented Programming)
Adjectives Ending in -ing or -ed
จรรยาบรรณวิชาชีพ และความรับผิดชอบต่อ สังคม ของวิชาชีพวิศวกรรม ปัญญรักษ์ งามศรีตระกูล พฤศจิกายน 2550.
จรรยาบรรณ ( Code of Ethic) กลุ่มบริษัท อาร์เอ็กซ์ จำกัด R.X.Group ประกาศต่อผู้บริหารระดับสูง - ต้น 270 คน เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2548 ณ S.D. Avenue Hotel.
โครงการผ่าตัดต้อกระจก ขจัดตาบอดจากต้อกระจก
การบริหารการทดสอบ O-NET
และการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
โอฬาร เก่งรักษ์สัตว์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการลูกเสือ
Office of The National Anti-Corruption Commission
ความขัดแย้ง-การเปลี่ยนแปลง- การสร้างทีมงาน และภาวะผู้นำของผู้บริหาร : กรอบคิดเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ รองศาสตราจารย์ ดร.ภาณุวัฒน์ ภักดีวงศ์ ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา.
Chapter 6 Entrepreneurship Financing - Innofund
15 กันยายน 2559.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law
เอกสารรายวิชา: : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
กฎหมายการค้าของเอกชนระหว่างประเทศ วิวัฒนาการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law (ตอน 02)
สำนักงานวิจัยนวัตกรรมและพันธมิตร มจธ.
เราคนคลัง รู้เท่าทันผลประโยชน์ทับซ้อน โดย.. นายพิเศษ นาคะพันธุ์
Inheritance and Method Overriding
ศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน ประชุมคณะทำงานพหุภาคี ครั้งที่ 1
หลักการให้คำปรึกษา (สำหรับผู้ตรวจสอบภายใน)
“หลักการแก้ปัญหา”.
การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคล กับ ผลประโยชน์ส่วนรวม
ภาพรวมของ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศอ5
ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ
คู่มือวิชาโดยสังเขป ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
UML (Unified Modeling Language)
25/02/62 Equality Human dignity Human Rights Pitak kerdhom.
หลักการและแนวทาง การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาและการบริหารราชการ ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค.
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การติดตามผล (Monitoring) โดย สงวน พงศ์หว่าน 18 กันยายน พ.ศ. 2553
วิชา กฎหมายกับสังคม (Law and Society) (SSP 2403) อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขา สังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 1-4.
ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช.
การวัดผลและประเมินผลพฤติกรรมของมนุษย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มหาวิทยาลัยนเรศวร
“มิติใหม่ของ QR Code กับ งานสุขศึกษา” อุบัติเหตุ 1
จิตวิทยาการบริการ THM 1203 Service Industry Psychology
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
Starting JAVA : JAVA PROGRAMMING (การ โปรแกรมภาษาจาวา) มัลลิกา เกลี้ยงเคล้า | SC1419.
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สิงหาคม 2558.
อาจารย์ณรงค์ชัย มุ่งแฝงกลาง คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน และ
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
Method and Encapsulation
เนื้อหา บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเงินธุรกิจ
การตรวจสอบย้อนกลับ TRACEABILITY
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
Overload Method and Poly Morphism
บทที่ 4 การทำงบการเงินรวมหลังวันซื้อหุ้น
หน่วยที่ 9 เครื่องโทรศัพท์.
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ทบทวน ;) จริยธรรมนักกฎหมายต่างจากจริยธรรมทั่วไปอย่างไร?
4 กรกฎาคม 2556 ณ.โรงแรมเอเซีย แอร์พอร์ต จังหวัดปทุมธานี
ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflicts of Interest: COI)
การมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ
แนวคิดและตัวอย่างวิธีการวิเคราะห์ เพื่อการถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการ
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
องค์กรออกใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ Certificate Authority
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
บทที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างงานโภชนาการ กับการสาธารณสุข
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒ วันศุกร์ที่ ๑๒ กรกฏาคม ๒๕๖๒
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of interests) 3.2 คำสั่ง

สภาพปัญหาเกี่ยวกับประโยชน์ทับซ้อนของจังหวัดสระแก้ว ปัจจุบัน พบว่า มีบุคลากรในสังกัดหรือบุคคลใน ครอบครัว ได้ทำการจดทะเบียนหุ้นส่วน หรือจด ทะเบียนพาณิชย์ เพื่อประกอบธุรกิจหรือทำการค้ากับ หน่วยงานหรือหน่วยบริการ ในสังกัดสำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว ปราฏฏบุคลากรหลายราย จำหน่ายสินค้าผ่านสื่อออนไลน์ การรับผลประโยชน์จาก บุคคลภายนอกอันมีความเกี่ยวเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ หรือการใช้ทรัพย์สินของทางราชการเพื่อประโยชน์ ส่วนตัวในรูปแบบต่างๆ กรณีจึงอาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อนกับการปฏิบัติ หน้าที่และเป็นการกระทำที่อาจผิดกฎหมายที่เกี่ยวข้องได้

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน ผลประโยชน์ส่วนตน (Private Interests) เป็นผลตอบแทนที่บุคคลได้รับ โดยเห็นว่ามีคุณค่าที่จะสนองตอบ ความ ต้องการของตนเองหรือของกลุ่มที่ตนเองเกี่ยวข้อง ผลประโยชน์เป็นสิ่งจูงใจให้คนเรามีพฤติกรรมต่างๆ เพื่อสนอง ความต้องการทั้งหลาย ผลประโยชน์ส่วนตน มี ๒ ประเภท คือที่เกี่ยวกับเงิน (pecuniary) และที่ไม่เกี่ยวกับเงิน (non-pecuniary) ๑. ผลประโยชน์ส่วนตนที่เกี่ยวกับเงิน ไม่ได้ เกี่ยวกับการได้มาซึ่งเงินทองเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวกับการเพิ่มพูน ประโยชน์หรือปกป้องการสูญเสียของสิ่งที่มีอยู่แล้ว เช่น ที่ดิน หุ้น ตำแหน่งในบริษัทที่รับงานจากหน่วยงาน รวมถึงการได้มา ซึ่งผลประโยชน์อื่นๆ ที่ไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน เช่น สัมปทาน ส่วนลดของขวัญ หรือของที่แสดงน้ำใจไมตรีอื่นๆ ๒. ผลประโยชน์ที่ไม่เกี่ยวกับเงิน เกิดจาก ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ครอบครัว หรือกิจกรรมทางสังคม วัฒนธรรมอื่น ๆ เช่น สถาบันการศึกษา สมาคม ลัทธิแนวคิด มักอยู่ในรูปความลำเอียง/อคติ/เลือกที่รักมักที่ชัง และมีข้อสังเกต ว่าแม้แต่ความเชื่อ/ความคิดเห็นส่วนตัวก็จัดอยู่ในประเภทนี้

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน หน้าที่สาธารณะ (public duty) หน้าที่สาธารณะของผู้ที่ ทำงานให้ภาครัฐคือ การให้ความสำคัญอันดับต้นแก่ประโยชน์ สาธารณะ (public interest) คนเหล่านี้ไม่จำกัดเฉพาะเจ้าหน้าที่ ของรัฐทั้งระดับท้องถิ่นและระดับประเทศเท่านั้น แต่ยังรวมถึงคน อื่น ๆ ที่ทำงานให้ภาครัฐ เช่น ที่ปรึกษา อาสาสมัคร ผลประโยชน์สาธารณะ คือ ประโยชน์ของชุมชนโดยรวม ไม่ใช่ผลรวมของผลประโยชน์ของปัจเจกบุคคล และไม่ใช่ ผลประโยชน์ของกลุ่มคน

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน ความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วน ตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict Of Interests) เป็นสถานการณ์ที่บุคคลในฐานะ พนักงานหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ใช้ตำแหน่งหรือ อำนาจหน้าที่ในการแสวงประโยชน์แก่ ตนเอง กลุ่มหรือพวกพ้อง ซึ่งเป็นการละเมิดทางจริยธรรม และส่งผลกระทบหรือความเสียหายต่อประโยชน์ สาธารณะ โดยมีคำอื่นที่หมายถึงความขัดแย้งกันแห่ง ผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม ได้แก่ การมี ผลประโยชน์ทับซ้อน ความขัดกันระหว่าง ผลประโยชน์ของผู้ดำรงตำแหน่งสาธารณะ และ รวมถึงคอร์รัปชั่น เชิงนโยบาย คอร์รัปชันสีเทา

ตัวอย่างประโยชน์ทับซ้อน

ตัวอย่างประโยชน์ทับซ้อน -การรับผลประโยชน์หรือการเรียกร้องสิ่งตอบแทนจากการปฏิบัติงานในหน้าที่ความ รับผิดชอบ -การรับงานนอกหรือการทำธุรกิจที่เบียดบังเวลาราชการ/งานโดยรวมของหน่วยงาน -การทำงานหลังเกษียณให้กับหน่วยงานที่มีผลประโยชน์ขัดกับหน่วยงานต้นสังกัดเดิม -การนำรถราชการไปใช้ในกิจธุระส่วนตัวและในหลายกรณีมีการเบิกค่าน้ำมันด้วย -การนำบุคลากรของหน่วยงานไปใช้เพื่อการส่วนตัว -การรับงานจากภายนอกจนกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ประจำ -การใช้สิทธิในการเบิกจ่ายยาให้แก่ญาติแล้วนำยาไปใช้ที่คลินิกส่วนตัว -การรับประโยชน์จากระบบการล็อคบัตรคิวให้แก่เจ้าหน้าที่หรือญาติเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน

มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับประโยชน์ทับซ้อน ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน ได้กำหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของข้าราชการ ในการป้องกันปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนในการปฏิบัติราชการหลายประการ คือ ข้อ 5 ข้าราชการต้องแยกเรื่องส่วนตัวออกจาก ตำแหน่งหน้าที่และยึดถือประโยชน์ส่วนรวมของ ประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน (1) ไม่นำความสัมพันธ์ส่วนตัวที่ตนมีต่อบุคคลอื่นมาประกอบการใช้ดุลพินิจให้ เป็นคุณ หรือโทษต่อบุคคลอื่น (2) ไม่ใช้เวลาราชการ เงิน ทรัพย์สิน บุคลากร หรือสิ่งอำนวยความสะดวก ของ ทางราชการไปเป็นประโยชน์ ส่วนตัวของตนหรือผู้อื่น (3) ไม่กระทำการใด หรือดำรงตำแหน่ง หรือปฏิบัติการใดในฐานะส่วนตัว ก่อให้เกิด ความเคลือบแคลง หรือสงสัยว่าจะขัดกับประโยชน์ส่วนรวมที่อยู่ในความ รับผิดชอบ ของหน้าที่ (4) ในการปฏิบัติหน้าที่ที่รับผิดชอบในหน่วยงานโดยตรง หรือหน้าที่อื่น ต้อง ยึดหลักถือ ประโยชน์ของทางราชการ

มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับประโยชน์ทับซ้อน ข้อ 6 ข้าราชการต้องละเว้นจากการแสวงหาประโยชน์ ที่มิชอบ โดยอาศัยตำแหน่งหน้าที่ และไม่กระทำการอันเป็น การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม (1) ไม่เรียก รับ หรือยอมจะรับ หรือยอมให้บุคคลอื่นเรียก รับ หรือยอมรับ ซึ่งของขวัญแทนตน หรือญาติของตน ไม่ว่าก่อน หรือหลังดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ ไม่ว่าจะเกี่ยวข้องหรือไม่ เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่หรือไม่ก็ตาม เว้นแต่เป็นการให้โดย ธรรมจรรยา หรือเป็นการให้ตามประเพณีหรือให้แก่บุคคลทั่วไป (2) ไม่ใช้ตำแหน่ง หรือกระทำการที่เป็นคุณ หรือเป็นโทษแก่ บุคคลใด เพราะมีอคติ (3) ไม่เสนอ หรืออนุมัติโครงการ การดำเนินการ หรือการ กระทำนิติกรรมหรือสัญญาซึ่งตนเองหรือบุคคลอื่นจะได้ประโยชน์อันมิ ควรได้ โดยชอบด้วยกฎหมายหรือประมวลจริยธรรมนี้

มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับประโยชน์ทับซ้อน พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ 2 ) พ.ศ. 2554 หมวด 9 การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ ส่วนรวม มาตรา 100 ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดดำเนินกิจการดังต่อไปนี้ (๑) เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้เสียในสัญญาที่ทำกับหน่วยงานของรัฐที่ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นปฏิบัติหน้าที่ในฐานะที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมีอำนาจกำกับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรือดำเนินคดี (๒) เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่เข้าเป็นคู่สัญญากับ หน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นปฏิบัติหน้าที่ในฐานะที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งมีอำนาจกำกับดูแล ควบคุม ตรวจสอบ หรือดำเนินคดี (๓) รับสัมปทานหรือคงถือไว้ซึ่งสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐรัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐรัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่นอันมีลักษณะ เป็นการผูกขาดตัดตอน ทั้งนี้ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรือเป็นหุ้นส่วนหรือ ผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่รับสัมปทานหรือเข้าเป็นคู่สัญญาในลักษณะ ดังกล่าว (๔) เข้าไปมีส่วนได้เสียในฐานะเป็นกรรมการ ที่ปรึกษา ตัวแทน พนักงานหรือลูกจ้างในธุรกิจของเอกชนซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับ ดูแล ควบคุม หรือตรวจสอบของหน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นสังกัดอยู่หรือปฏิบัติ หน้าที่ในฐานะเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งโดยสภาพของผลประโยชน์ของธุรกิจของ เอกชนนั้นอาจขัดหรือแย้งต่อประโยชน์ส่วนรวม หรือประโยชน์ทางราชการหรือ กระทบต่อความมีอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้น

กฎหมายที่เกี่ยวข้องการให้หรือรับของขวัญและ ผลประโยชน์ มาตรา 103 ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด จากบุคคล นอกเหนือจากทรัพย์สินหรือประโยชน์อันควรได้ตามกฎหมาย หรือกฎ ข้อบังคับที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เว้นแต่การรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยา ตามหลักเกณฑ์และจำนวนที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.กำหนด บัญญัติในวรรคหนึ่งให้ใช้บังคับกับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดของ ผู้อื่น ซึ่งพ้นจากการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐมาแล้วยังไม่ถึงสองปีด้วยโดยอนุโลม มาตรา 103/1 บรรดาความผิดที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้ให้ถือเป็นความผิดฐาน ทุจริตต่อหน้าที่หรือความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการหรือความผิดต่อตำแหน่ง หน้าที่ในการยุติธรรมตามประมวลกฎหมายอาญาด้วย บทลงโทษ มาตรา 122 เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดฝ่าฝืนบทบัญญัติมาตรา ๑๐๐ มาตรา ๑๐๑ หรือมาตรา ๑๐๓ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่น บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ กรณีความผิดตามมาตรา ๑๐๐ วรรคสาม หากเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดพิสูจน์ ได้ว่า ตนมิได้รู้เห็นยินยอมด้วยในการที่คู่สมรสของตนดำเนินกิจการตามมาตรา ๑๐๐ วรรคหนึ่ง ให้ถือว่าผู้นั้นไม่มีความผิด

การให้หรือรับของขวัญและผลประโยชน์

กฎหมายที่เกี่ยวข้องการให้หรือรับของขวัญและ ผลประโยชน์ ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่องหลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยา ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2543 ข้อ 5 เจ้าหน้าที่ของรัฐจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดย ธรรมจรรยาได้ ดังต่อไปนี้ (1) รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดจากญาติซึ่งให้โดยเสน่หาตามจำนวนที่ เหมาะสมตามฐานานุรูป (2) รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดจากบุคคลอื่นซึ่งมิใช่ญาติ ราคาหรือ มูลค่าในการรับจากแต่ละบุคคลแต่ละโอกาสไม่เกินสามพันบาท (3)รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดที่การให้นั้นเป็นการให้ในลักษณะให้กับ บุคคลทั่วไป

กฎหมายที่เกี่ยวข้องการให้หรือรับของขวัญและ ผลประโยชน์ “การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยา” หมายความว่า การรับ ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดจากญาติหรือจากบุคคลที่ให้กันในโอกาสต่าง ๆ โดยปกติตามขนบธรรมเนียม ประเพณี หรือวัฒนธรรม หรือให้กันตามมารยาทที่ ปฏิบัติกันในสังคม “ประโยชน์อื่นใด” หมายความว่า สิ่งที่มีมูลค่า ได้แก่ การลดราคา การรับ ความบันเทิง การรับบริการ การรับการฝึกอบรม หรือสิ่งอื่นใดในลักษณะเดียวกัน "ปกติประเพณีนิยม" หมายความว่า เทศกาลหรือวันสำคัญซึ่งอาจมีการให้ ของขวัญกัน และให้หมายความรวมถึงโอกาสในการแสดงความยินดี การแสดงความขอบคุณ การต้อนรับ การแสดงความเสียใจ หรือการให้ความช่วยเหลือตามมารยาทที่ถือปฏิบัติกันใน สังคมด้วย

มีความจำเป็นต้องรับเพื่อรักษาไมตรี ? 1.แจ้งผู้บังคับบัญชา ซึ่งเป็นหัวหน้าส่วนราชการให้วินิจฉัย 2.มีเหตุผลสมควร ให้รับไว้ 3.ไม่มีเหตุผลสมควร ให้ส่งคืน หากส่งคืนไม่ได้ ต้องมอบให้ส่วนราชการ

แนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน

แนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน มาตรการของรัฐในการป้องกันความขัดแย้งกันระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม 1. กำหนดคุณสมบัติพึงประสงค์และคุณสมบัติต้องห้ามของรัฐ 2. การเปิดเผยข้อมูลทรัพย์สิน หนี้สิน และธุรกิจครอบครัวต่อ สาธารณะ 3. การกำหนดข้อพึงปฏิบัติ (Code of Conduct)

แนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน ตัวอย่างข้อไม่พึงปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐไม่พึงรับของตอบแทน ที่เป็นเงินและไม่ใช่ตัวเงินที่มูลค่าสูง เกินความเหมาะสมและได้มาโดยมิชอบ เจ้าหน้าที่ของรัฐไม่พึงตัดสินใจในหน้าที่การทำงาน โดยมีเรื่องของการเงิน และการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น การลงคะแนนเสียงของข้าราชการเพื่อ ออกกฎหมายหรือกระทำอื่นใดที่มีผลกระทบต่อส่วนรวม เจ้าหน้าที่ของรัฐไม่พึงทำงานในตำแหน่งที่เกี่ยวข้องในภาคธุรกิจ หลังพ้น ตำแหน่งราชการ เป็นการป้องกันมิให้ผู้ดำรงตำแหน่งทางราชการนำข้อมูลลับ ภายในหน่วยงานราชการที่ทราบไปใช้ประโยชน์หลังออกจากตำแหน่งแล้ว และป้องกันการใช้สิทธิพิเศษในการติดต่อกับหน่วยงานราชการ ในฐานะที่ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญในหน่วยงานราชการมาแล้ว

แนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน หลักการ 4 ประการสำหรับการจัดการผลประโยชน์ทับซ้อน 1. ป้องกันผลประโยชน์สาธารณะ 2. สนับสนุนความโปร่งใสและความพร้อมรับผิด 3. ส่งเสริมความรับผิดชอบส่วนบุคคลและปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง 4. สร้างวัฒนธรรมองค์กร แนวทางการบริหารเพื่อป้องกัน ผลประโยชน์ทับซ้อน

แนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน หลักการ 4 ประการสำหรับการจัดการผลประโยชน์ทับซ้อน 1. ป้องกันผลประโยชน์สาธารณะ 2. สนับสนุนความโปร่งใสและความพร้อมรับผิด 3. ส่งเสริมความรับผิดชอบส่วนบุคคลและปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง 4. สร้างวัฒนธรรมองค์กร แนวทางการบริหารเพื่อป้องกัน ผลประโยชน์ทับซ้อน