การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
Advertisements

Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและความสำคัญของ Learning Outcome Assessment
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
The Revised Bloom’s Taxonomy
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
การวิเคราะห์ข้อมูล.
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
รศ.ดร. กุลยา ตันติผลาชีวะ
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
Heart : การเสริมสร้างคุณลักษณะและค่านิยม. Heart ประเด็นการนำเสนอ  1. นิยามศัพท์  2. จุดมุ่งหมายการจัดกิจกรรมฯ  3. แนวทางการจัดกิจกรรมฯ  4. รูปแบบการจัดกิจกรรมฯ.
การเขียนแผนการสอน Media Base learning. รายละเอียดแผนการเรียนรู้ 1. สาระสำคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอด หรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกับ.
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
รูปแบบและแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Moderate Class More Knowledge
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
จิตวิทยาการเรียนรู้.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณภาพของเครื่องมือวัด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
การวัดและประเมินการปฏิบัติ
การวัดและประเมินผลการศึกษา
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
การสร้างเครื่องมือในการวิจัย (Instrument)
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
บทที่ 3 ตัวแปรและสมมติฐาน.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
การสำรวจและอธิบายข้อมูล
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
การประเมินคุณภาพหลักสูตรรายวิชา “
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
การจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
Learning Assessment and Evaluation
ความหมายและความสำคัญ ของการประเมินภาคปฏิบัติ (Performance Assessment)
การประเมินผลการเรียนรู้
การประเมินการเรียนการสอน
ครูกับการออกแบบการเรียนรู้ สู่คุณภาพเด็กไทย
การสร้างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
กรอบการประเมินการรู้วิทยาศาสตร์ (PISA 2015 และ 2018)
การวัดและประเมินผลการศึกษา
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การประเมินประสิทธิภาพสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เทคนิคการเขียนข้อสอบ
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
บทที่ 4 การกำหนดกรอบแนวคิดตัวแปร และสมมติฐานของการวิจัย
Medical Communication/Counseling Training for the “Trainers” คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ธันวาคม 2558.
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
[ชื่อผู้นำเสนอ] [วันที่]
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (ครั้งที่ 1) คมโนทัศน์พื้นฐานเกี่ยวกับ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดย ผศ.ดร.สำราญ กำจัดภัย

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ : เกี่ยวข้องกับ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ : เกี่ยวข้องกับ Measurement Evaluation/Assessment Learning มีคำสำคัญ

Learning (การเรียนรู้) คำที่เกี่ยวข้อง - Learning Behavior - changing (enhancing, strengthening, development) - The Experience - Retention

Learning Behavior นักการศึกษาบางท่าน จัดเป็น ตามแนวคิดของ Bloom - Cognitive Behavior - Affective Behavior - Psychomotor Behavior นักการศึกษาบางท่าน จัดเป็น - Knowledge - Skills - Attributes

การเรียนรู้ (Learning) คืออะไร ที่ค่อนข้างถาวร การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม ประสบการณ์

Cognitive Behavior Higher-Order Thinking

1. ความรู้ (Knowledge) เป็นความสามารถ ในการจดจำแนกประสบการณ์ต่างๆ และระลึกเรื่องราวนั้น ๆ ออกมาได้ถูกต้องแม่นยำ

3. การนำความรู้ ความเข้าใจไปประยุกต์ (Application) เป็นความสามารถในการนำหลักการ กฎเกณฑ์และวิธีดำเนินการต่าง ๆ ของเรื่องที่ได้รู้มา นำไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่ได้

4. การวิเคราะห์ (Analysis) เป็นความสามารถใน การแยกแยะเรื่องราวที่สมบูรณ์ให้กระจายออกเป็นส่วนย่อยๆ ได้อย่างชัดเจน ระบุรายละเอียดและความสำคัญ ของแต่ละส่วนย่อย ๆ นั้น (วิเคราะห์ความสำคัญ) บอกความสัมพันธ์หรือความเกี่ยวข้องกันของส่วนต่าง ๆ (วิเคราะห์ความสัมพันธ์) และบอกหลักการของการอยู่รวมกันได้ของส่วนต่าง นั้น (วิเคราะห์หลักการ)

5. การสังเคราะห์ (Synthesis) เป็นความสามารถใน การผสมผสานส่วนย่อยเข้าเป็นเรื่องราวเดียวกัน โดยปรับปรุงของเก่าให้ดีขึ้นและมีคุณภาพสูงขึ้น (บ่งบอกว่ามี Creative thinking)

6. การประเมินค่า (Evaluation) เป็นความสามารถในการวินิจฉัยหรือตัดสินกระทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดลงไป การประเมินเกี่ยวข้องกับการใช้เกณฑ์ คือ มาตรฐาน ในการวัดที่กำหนดไว้

Affective Behavior เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายใจจิตใจของมนุษย์เกี่ยวข้องกับความรู้สึก อารมณ์และจิตใจของบุคคล เช่น ความสนใจ ความซาบซึ้ง เจตคติ ค่านิยม ความต้องการ การปรับตัว คุณธรรม จริยธรรม บุคลิกภาพ เป็นต้น เป็นสิ่งที่สร้างสมขึ้นจนเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล การเกิดจิตพิสัยภายในตัวบุคคลนั้น จะพัฒนาจากระดับต่ำจนถึงระดับสูง ได้แก่ การรับรู้ การตอบสนอง การสร้างคุณค่า การจัดระบบคุณค่า และการสร้างลักษณะนิสัย การพัฒนาให้เกิดจิตพิสัยในระดับสูงต้องอาศัยพื้นฐานระดับการเรียนรู้ที่ต่ำกว่า

Affective Behavior

Psychomotor Behavior เป็นพฤติกรรมที่เกี่ยวกับความสามารถในการปฏิบัติ สิ่งต่างๆของบุคคล เป็นพฤติกรรมที่บุคคลสามารถใช้ กล้ามเนื้อส่วนต่างๆของร่างกายทำงานให้ประสานกับ จิตใจ หรือประสาทสัมผัสได้อย่างรวดเร็ว เช่น การได้ยิน การเห็น การเคลื่อนไหวตามต้องการ การแสดงสีหน้า ท่าทาง การสื่อสารโดยใช้เสียง เป็นต้น

ลำดับขั้น Psychomotor Behavior

1. รับรู้หลักการปฏิบัติที่ถูกต้อง หรือ เป็นการเลือกหาตัวแบบที่สนใจ 2. พยายามฝึกตามแบบที่ตนสนใจและพยายามทำซ้ำ เพื่อที่จะให้เกิดทักษะตามแบบที่ตนสนใจให้ได้ หรือ สามารถปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 3. สามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องชี้แนะ เมื่อได้กระทำซ้ำแล้ว ก็พยายามหาความถูกต้องในการปฏิบัติ 4. กระทำอย่างต่อเนื่องหลังจากตัดสินใจเลือกรูปแบบที่เป็นของตัวเองจะกระทำตามรูปแบบนั้นอย่างต่อเนื่อง จนปฏิบัติงานที่ยุ่งยากซับซ้อนได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง คล่องแคล่ว การที่ผู้เรียนเกิดทักษะได้ ต้องอาศัยการฝึกฝนและกระทำอย่างสม่ำเสมอ 5. กระทำได้อย่างเป็นธรรมชาติ พฤติกรรมที่ได้จากการฝึกอย่างต่อเนื่องจนสามารถปฏิบัติ ได้คล่องแคล่วว่องไวโดยอัตโนมัติ เป็นไปอย่างธรรมชาติ ซึ่งถือเป็นความสามารถของการปฏิบัติในระดับสูง

Bloom กล่าวว่า เมื่อเกิดการเรียนรู้ในแต่ละครั้งจะต้องมี การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น 3 ประการ จึงจะเป็นการเรียนรู้ที่สมบูรณ์

Data การนำเครื่องมือ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง กระตุ้น ผู้เรียน การวัดผล (การเรียนรู้) กระตุ้น ผู้เรียน การนำเครื่องมือ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง Data 1. Nominal Scale 2. Ordinal Scale 3. Interval Scale 4. Ratio Scale ระดับการวัดข้อมูล

เทียบกับเกณฑ์ (Criteria) การประเมินผล (การเรียนรู้) ประมวลผล การนำข้อมูล เทียบกับเกณฑ์ (Criteria) ให้สารสนเทศ ป้อนกลับ (Feedback) เพื่อการพัฒนาผู้เรียน/ การเรียนการสอน รวบรวม เป็นส่วนหนึ่งเพื่อ ตัดสินผลการเรียน

3 คำนี้ต่างกันอย่างไร & เกี่ยวข้องกันอย่างไร Measurement Assessment Evaluation 3 คำนี้ต่างกันอย่างไร & เกี่ยวข้องกันอย่างไร

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ /การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน

บทบาทของผู้สอน

การจัดการเรียนรู้ หลักการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้ ให้ยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คำนึงถึงความแตกต่างระหว่าง บุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความสำคัญทั้งความรู้ และคุณธรรม

กระบวนการเรียนรู้ ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการวิจัย เพราะจะช่วยให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี ดังนั้น ผู้สอนจำเป็นต้องทำความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจ (มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน) แล้วจึงพิจารณาออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้ วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและ ประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด

คิดอย่างไรกับภาพ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คิดว่า ควรมีการปฏิรูปการวัด และประเมินผลการเรียนรู้อย่างไร

กระตุ้นให้คิด การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ควรเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงบรรยายอย่างเป็นระบบ แล้ว (1) นำสารสนเทศที่รวบรวมได้มาเรียบเรียงให้เห็นคุณลักษณะที่แท้จริงทั้งจุดเด่นที่ควรพัฒนาและจุดด้อยที่ควรปรับปรุง หรือ (2) เพื่อตัดสินผลการเรียน

กระตุ้นให้คิด (ต่อ) การนำผลการวัดเชิงปริมาณมาใช้ประเมิน เพียงอย่างเดียวทำให้สถานศึกษาเปรียบเสมือนศาล ที่มีผู้สอนเป็นผู้พิพากษา มีผู้เรียนเป็นจำเลย ในสถานการณ์จริงผู้เรียนไม่ใช่จำเลย ไม่ใช่ผู้ต้องคดี หรือผู้ต้องหา แต่เขาเป็นผู้ที่ต้องการพัฒนาให้เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ

กระตุ้นให้คิด (ต่อ) ดังนั้น การประเมินการเรียนรู้จึงไม่ควรมีความหมายแค่นำผลการวัดเชิงปริมาณที่ได้มาตัดสินว่าสอบได้หรือสอบตก เรียนดี หรือเรียนไม่ดีเท่านั้น แต่ควรเป็นการประเมินที่นำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน

for your best intentions.