แนวทางเก็บตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2562 เครือข่ายจังหวัดสกลนคร แนวทางเก็บตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2562 โดย ปิ่นเพชร อำภรณ์ CNO_P จังหวัดสกลนคร ถ่ายทอดระดับจังหวัดและองค์กรพยาบาลทุกแห่ง 08/05/62 QA 26 DEC 2018
ประเด็นนำเสนอ Function based Agenda based ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ตามภารกิจรับผิดชอบ Agenda based ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ บริการพยาบาลระดับประเทศ KPI 8 ตัว KPI 10 ตัว 08/05/62 QA 26 DEC 2018
การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล Function based การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ตามภารกิจรับผิดชอบ ส่วนที่ 1 08/05/62 QA 26 DEC 2018
Function based ร้อยละความสำเร็จขององคกรพยาบาลที่ผานการประเมินคุณภาพบริการ พยาบาลมีคะแนนรอยละ 60 ขึ้นไป รอยละความสำเร็จของหนวยบริการพยาบาลผูคลอดที่มารดาคลอดปกติมีการฝากครรภครบตามเกณฑคุณภาพ และทารกแรกเกิดมีน้ำหนัก 2,500 กรัมขึ้นไป รอยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการพัฒนาระบบการเลี้ยงลูก ดวยนมแมและมีผลการเลี้ยงลูก ดวยนมแมอยางเดียวตามเกณฑ รอยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพในชุมชนที่มีการจัดระบบ การประเมินและคัดกรองกลุมเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองตามเกณฑ์ รอยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่ดำเนินงานตามระบบ การดูแลแบบประคับประคองตามเกณฑ์ ระดับความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการจัดบริการพยาบาลการ ดูแลตอเนื่องของสถานบริการสุขภาพตามเกณฑ รอยละความสำเร็จของสถานบริการที่มีการเยี่ยมบานผูปวยติดเตียง และผูปวยไมมีภาวะแทรกซอนที่ปองกันได้ รอยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการจัดบริการพยาบาล เพื่อความปลอดภัยของผูปวยและบุคลากรพยาบาล (2P Safety) ผานเกณฑ์ 08/05/62 QA 26 DEC 2018
F1. ร้อยละความสำเร็จขององคกรพยาบาลที่ผานการประเมินคุณภาพ บริการพยาบาลมีคะแนนรอยละ 60 ขึ้นไป องค์กรพยาบาลที่ผานการประเมินคุณภาพบริการพยาบาลมีคะแนน รอยละ 60 ขึ้นไป : หมายถึง องคกรพยาบาล / กลุมการ พยาบาล หรือองคกรที่ทำหนาที่คลายคลึงกันของสถานบริการสุขภาพ ที่มีการพัฒนา คุณภาพการพยาบาลของแตละงานบริการพยาบาลตามมาตรฐานการ พยาบาลในโรงพยาบาลของกองการพยาบาล (สำนักการพยาบาล, 2550) และไดดำเนินการประเมินคุณภาพตามเครื่องมือการประเมินคุณภาพของกองการพยาบาล โดยมีคะแนนผลการประเมินคุณภาพการพยาบาล ประจำปงบประมาณ 2562 ตามเกณฑการประกันคุณภาพการพยาบาล : การประเมินคุณภาพการบริหารการพยาบาล และงานบริการพยาบาล มากกวาหรือ เทากับรอยละ 60 ขึ้นไป วัตถุประสงค์ : เพื่อยกระดับคุณภาพบริการพยาบาล ขององค์กรพยาบาลให้สูงขึ้น เกณฑ์เป้าหมาย : ร้อยละ 70 (ภาพรวมจังหวัด/เขต) เกณฑ์ประเมินความสำเร็จ : 5 ระดับ 08/05/62 QA 26 DEC 2018
F1. ร้อยละความสำเร็จขององคกรพยาบาลที่ผานการประเมินคุณภาพ บริการพยาบาลมีคะแนนรอยละ 60 ขึ้นไป ระดับที่ 1 คกก.QA เขตฯเข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเครือข่ายผู้บริหารฯ ระดับที่ 2 คกก.QA เขตฯวิเคราะห์ข้อมูลผลการดำเนินงานปี 2561 และจัดทำแผนระดับ เขต ถ่ายทอดแผนไปยังระดับจังหวัดและองค์กรพยาบาลทุกแห่งในเขต เพื่อให้ NSO ตามเกณฑ์คุณภาพ CNO_R/CNO_P : ทำแผนนิเทศ ติดตาม ให้คำปรึกษา เกณฑ์การประเมิน ความสำเร็จ ระดับที่ 3 CNO_R/CNO_P และQA เขต นิเทศติดตามการนำแผนสู่การปฏิบัติตามแผน QA เขต สรุปรายงานผลการนิเทศรอบแรก(ตค.-กพ.) /ส่งCNO_R+ผู้นิเทศ ภายใน 1 มีนาคม 2562 ระดับที่ 5 QA เขตสรุปรายงานนิเทศ รอบ 6 เดือนหลัง(มีค.-สค.) และรายงาน ผลการดำเนินตามแผนฯ ภายใน 1 กย.2562 ระดับที่ 4 QA เขต ติดตามรายงานผลKPI F1. เสนอต่อ CNO_R/CNO_P+ผู้นิเทศ ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2562 08/05/62 QA 26 DEC 2018
ระยะเวลาประเมินผล ดำเนินการครบถ้วน ดำเนินการครบถ้วน ดำเนินการครบถ้วน ตามระดับทื่ 1-2 3 เดือน ต.ค.–ธ.ค. 61 6 เดือน ม.ค.–มี.ค. 62 9 เดือน เม.ย.–มิ.ย. 62 12 เดือน ก.ค.–ก.ย. 62 ดำเนินการครบถ้วน ตามระดับทื่ 4 และรายงานในระบบผ่าน web application ดำเนินการครบถ้วน ตามระดับทื่ 5 (สรุปรายงานรูปเล่ม) ดำเนินการครบถ้วน ตามระดับทื่ 3 08/05/62 QA 26 DEC 2018
สิ่งที่ดำเนินการ การประเมินคุณภาพการพยาบาล -ห้วงเวลา (กุมภาพันธ์-เมษายน 2562) - รูปแบบ : 1. แบ่งโซน ประเมินตนเองและ นิเทศกำกับโดยคกก.โซน หรือ 2. ประเมินโดยคกก.กลาง ที่ประชุมมีมติ ประเมินแบบโซน และมีการนิเทศเครือข่ายโซนโดยทีมแม่ข่ายรพ.สกลนคร 2. มีแผนการนิเทศและสรุปผลการนิเทศ 2.1 รอบ 6 เดือนแรก (1 ตค. 2561-28 กพ. 2562) 2.2 รอบ 6 เดือนหลัง(1 มีค. 2562-31 สค. 2562) การประเมินคุณภาพการพยาบาล -ห้วงเวลา (กุมภาพันธ์-เมษายน 2562) - รูปแบบ : 1. แบ่งโซน ประเมินตนเองและ นิเทศกำกับโดยคกก.โซน หรือ 2. ประเมินโดยคกก.กลาง 2. มีแผนการนิเทศและสรุปผลการนิเทศ 2.1 รอบ 6 เดือนแรก (1 ตค. 2561-28 กพ. 2562) 2.2 รอบ 6 เดือนหลัง(1 มีค. 2562-31 สค. 2562) 08/05/62 QA 26 DEC 2018
KEY WORDS วัตถุประสงค์ เกณฑ์เป้าหมาย : ร้อยละ 80 โรงพยาบาลระดับ A – M2 F2. ร้อยละความสำเร็จของหน่วยบริการพยาบาลผู้คลอดที่มารดาคลอดปกติ มีการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์คุณภาพ และทารกแรกเกิดมีน้ำหนัก 2,500 กรัมขึ้นไป KEY WORDS วัตถุประสงค์ เพื่อวัดประสิทธิผลของการพยาบาลฝากครรภ์ เพื่อวัดประสิทธิผลการบริการพยาบาลผู้คลอด เพื่อเพิ่มอัตราการเกิดทารกแรกเกิดมากกว่าหรือเท่ากับ 2,500 กรัม 1. หญิงตั้งครรภ์ 2. ฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์กท.สธ. 3. คลอดปกติ 4. ทารกน้ำหนักตัวเฉลี่ยมากกว่า หรือเท่ากับ 2,500 กรัม เกณฑ์เป้าหมาย : ร้อยละ 80 โรงพยาบาลระดับ A – M2 08/05/62 QA 26 DEC 2018
F2. ร้อยละความสำเร็จของหน่วยบริการพยาบาลผู้คลอดที่มารดาคลอดปกติ มีการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์คุณภาพ และทารกแรกเกิดมีน้ำหนัก 2,500 กรัมขึ้นไป ระดับที่ 1 ANC มีการวางแผนปชส. เช่น ติดโปสเตอร์ ให้คำปรึกษาในการ เชิญชวนมาฝากครรภ์ตามนัดและเป็นไปตามเกณฑ์ฯการฝากครั้ง(5 ครั้ง) ระดับที่ 2 ANC นำแผนปชส.ในการชักชวนมาฝากครรภ์ตามนัดและเป็นไปตามเกณฑ์ฯ สู่การปฏิบัติ เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 3 ANC ปฏิบัติการตรวจครรภ์ตามมาตรฐานการบริการพยาบาลทางสูติกรรมและนัดให้มารับการตรวจครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ระดับที่ 5 LR ทำคลอดปกติให้กับหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ทารกแรกเกิดมีน.น.ตัวเฉลี่ย > 2500 gms. ระดับที่ 4 ANC จัดทำทะเบียน/ทำสัญลักษณ์แฟ้มหญิงตั้งครรภ์ครบตามเกณฑ์การฝากครรภ์ฯ เพื่อส่งต่อข้อมูลให้กับ LR 08/05/62 QA 26 DEC 2018
เดือน การเก็บรวบรวมข้อมูล <2,500 กรัม > 2,500 กรัม ทารกแรกเกิดน้ำหนัก > 2,500 กรัม ทารกแรกเกิดน้ำหนัก <2,500 กรัม เดือน รวม มารดาที่ฝากครรภ์ ครบตามเกณฑ์ (จำนวน) ไม่ครบตามเกณฑ์ ตุลาคม 61 พฤศจิกายน 61 ธันวาคม 61 : กันยายน 62 รวม A (ราย) B (ราย) C (ราย) D (ราย) E (ราย) A x 100 A+C เก็บข้อมูลจากหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดปกติ สูตร = 08/05/62 QA 26 DEC 2018
สิ่งที่ดำเนินการ ANC ทำตามขั้นตอนระดับที่ 1-4 LR ทำตามขั้นตอนระดับที่ 5 LR จัดทำรายงานประจำเดือน 08/05/62 QA 26 DEC 2018
ต่ำกว่า6 เดือน กินนมแม่ อย่างเดียว > ร้อยละ 30 F3. รอยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการพัฒนาระบบการเลี้ยง ลูกดวยนมแม และมีผลการเลี้ยงลูกดวยนมแมอยางเดียวตามเกณฑ KEY WORD วัตถุประสงค์ 1.เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในสถานบริการ สุขภาพ 2. เพื่อติดตามการจัดบริการพยาบาลการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในสถานบริการ สุขภาพ การดูแลการเลี้ยงลูกดวยนมแม หมายถึง การจัดบริการพยาบาลการเลี้ยงลูกดวยนมแมในสถานบริการสุขภาพตามบันได 10 ขั้นตอน ขององคการอนามัยโลก (WHO) ตามเกณฑ ในที่นี้หมายถึง การเลี้ยงลูกดวยนมแมอยางเดียว ในระยะ 6 เดือนแรก กลาวคือตั้งแตเด็กแรกเกิดจนถึง 6 เดือน กินนมแมอยางเดียว (รวมถึง ใน 24 ชั่วโมงแรกเกิด ดวย) การพัฒนาระบบการเลี้ยงลูกดวยนมแม่ หมายถึง สถานบริการสุขภาพมีการจัดใหมีระบบการดูแลใหมีการเลี้ยงลูก ดวยนมแมตามเกณฑ ประเมินที่กำหนดไว ครบ 5 ระดับ เกณฑ์ประเมิน : 5 ระดับ และมีทารกอายุ ต่ำกว่า6 เดือน กินนมแม่ อย่างเดียว > ร้อยละ 30 08/05/62 QA 26 DEC 2018
เกณฑประเมิน ระดับที่ 1 มีคลินิกนมแมและมิสนมแมหมายถึงมีหนวยงานและทีมทำงานที่ เปนพยาบาลที่เรียกวา “มิสนมแม”(ตองผานการอบรมตามเกณฑ คือ ทฤษฎี 20 ชั่วโมงและปฏิบัติ 3 ชั่วโมง) ใหบริการดูแลการใหนมแมและใหคำปรึกษา แกปญหาแกพยาบาลประจำหอผูปวยในเรื่องการใหนมแม ระดับที่ 2 มีข้อมูลสถานการณ์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และแผนการดำเนินงาน ระดับที่ 3 มีการกำหนดแนวปฏิบัติครอบคลุมบันได 10 ขั้นตอนของ WHO ระดับที่ 4 มีการปฏิบัติตามแผนและแนวปฏิบัติที่กำหนด ระดับที่ 5 มีข้อมูลผลลัพธ์ทารกต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว มากกว่า หรือเท่ากับร้อยละ 30 08/05/62 QA 26 DEC 2018
สิ่งที่ดำเนินการ มีคลินิกนมแม่ มีพยาบาล ผ่านการอบรม ทฤษฎี 20 ชม.+ปฏิบัติ 3 ชม. 3. มีการกำหนดแนวทาง 10 ขั้นตอน (WHO) 4. มีสรุปรายงานประจำเดือน ประเด็น มีการดำเนินงาน? 08/05/62 QA 26 DEC 2018
งานบริการพยาบาลในชุมชน กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง F4. ร้อยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพในชุมชนที่มีการจัดระบบการประเมินและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองตามเกณฑ์ วัตถุประสงค์ KEY WORDS เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยและได้รับการประเมิน/คัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคหลอด เลือดสมองอย่างทันท่วงที งานบริการพยาบาลในชุมชน กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง การจัดระบบการประเมินและคัดกรอง กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองตามเกณฑ์ กลุ่มเป้าหมาย :รพช. ระดับ M2-F3 เกณฑ์ประเมิน : 5 ระดับ ต้องครบตามเกณฑ์ 5 ระดับ 08/05/62 QA 26 DEC 2018
เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 1 กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมของโรงพยาบาลชุมชน มีการสำรวจและค้นหากลุ่มเสี่ยง ระดับที่ 2 มีการจัดระบบ/แนวทางการประเมินและคัดกรองกลุ่มเสี่ยง โรคหลอดเลือดสมอง ระดับที่ 3 ส่งเสริมศักยภาพให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้และเข้าใจ การประเมินและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง ตามแนวทางการ ประเมินและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองที่กำหนด เพื่อช่วยเหลือประชาชนในชุมชนและแต่ละครัวเรือนที่ได้รับมอบหมาย ในกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง และมีการกำหนดช่องทางการสื่อสารระหว่าง พยาบาลและอาสาสมัครสาธารณสุขและระหว่างพยาบาล และอาสาสมัครสาธารณสุขกับกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง ระดับที่ 4 รณรงค์การประชาสัมพันธ์การประเมินและคัดกรองด้วยตนเองของกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองให้ประชาชนรับทราบอาการดังกล่าวเบื้องต้น เมื่อมีอาการดังกล่าวเบื้องต้น ให้รีบแจ้งทีมสุขภาพรับทราบหรือ โทรด่วน 1669 ระดับที่ 5 มีการจัดระบบส่งต่อกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองไปยังสถานบริการที่มีศักยภาพสูงกว่าได้อย่างทันท่วงทีภายใน 4.5 ชั่วโมง อย่างปลอดภัย 08/05/62 QA 26 DEC 2018
สิ่งที่ดำเนินการ กลุ่มงานด้านปฐมภูมิและองค์รวม มีแนวทางการประเมินและคัดกรอง ต้องมีสถิติข้อมูลจำนวนกลุ่มเสี่ยง 3. มีหลักฐานการส่งเสริมศักยภาพอสม. 4. มีระบบส่งต่อกลุ่มเสี่ยง ประเด็น มีการดำเนินงาน? 08/05/62 QA 26 DEC 2018
F5.รอยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่ดำเนินงานตามระบบ การดูแลแบบประคับประคองตามเกณฑ์ KEY WORDS วัตถุประสงค์ เพื่อให้สถานบริการสุขภาพมีการดำเนินงาน ตามระบบการดูแลแบบประคับประคอง อย่างมีประสิทธิภาพ 1. การดูแลแบบประคับประคอง พยาบาลประคับประคอง พยาบาลประคับประคอง :PCN) พยาบาลประคับประคองของหนวยงาน : PCWN พยาบาลประคับประคองของชุมชน :PCCN 2. ความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่ดำเนินงานตามระบบการดูแลแบบประคับประคองตามเกณฑ์ 3. การประเมินความพึงพอใจของครอบครัวผูปวยประคับประคอง เกณฑ์การประเมิน : 5 ระดับ :ความพึงพอใจของครอบครัว > ร้อยละ 80 08/05/62 QA 26 DEC 2018
เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 3 โรงพยาบาลระดับ A, S, M1 กำหนดให้การดูแลแบบ ประคับประคองเป็นภารกิจส่วนหนึ่งของกลุ่มการพยาบาล มอบหมายให้มีพยาบาลรับผิดชอบ โดยพยาบาลวิชาชีพผ่าน การอบรมหลักสูตร Palliative Care และมีทีม PCWN ครอบคลุม หน่วยงานบริการผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอกที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งดำเนินการ ตามแนวปฏิบัติการดูแลข้างเตียง (Primary Palliative Care) โรงพยาบาลระดับ M2, F1 – F3 มี Palliative Care Nurse Manager/ Coordinator ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative Care และมีทีม PCWN ครอบคลุมหน่วยงานบริการผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอกที่เกี่ยวข้อง ระดับที่ 1 มีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการดูแลแบบประคับประคอง หรือหน่วยงานดูแลแบบประคับประคอง ที่ประกอบด้วยบุคลากรพยาบาล และ/หรือสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง และมีการกำหนดแนวปฏิบัติการดูแลแบบ ประคับประคองของสถานบริการสุขภาพ ระดับที่ 2 มีการดำเนินงานตามแนวปฏิบัติการวางแผนจำหน่ายในกลุ่มที่ต้องการ การดูแลแบบประคับประคอง ตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับบริการที่งานบริการผู้ป่วยนอก/ ผู้ป่วยในจนจำหน่ายส่งต่อในชุมชน เพื่อให้การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ระดับที่ 4 มีการดำเนินการตามแนวปฏิบัติการเยี่ยมโดยทีม Palliative care และมีโครงการ หรือกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ดำเนินงาน อย่างเป็นรูปธรรม ร่วมกับ สสจ. /สสอ./ รพ.สต./ องค์กรใน ท้องถิ่น และ/หรือองค์กรต่าง ๆ เช่น อปท., มูลนิธิ/ อาสาสมัครในชุมชน เป็นต้น ระดับที่ 5 มีการประเมินผลและรายงานสรุปผลการดูแลแบบ ประคับประคอง และมีการประเมินความพึงพอใจของครอบครัว ผู้ป่วย ประคับประคองต่อบริการพยาบาลแบบประคับประคอง ในภาพรวม มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 (มากกว่าหรือเท่ากับ 40 คะแนนขึ้นไป) ตามแบบประเมิน (PC_ND 2562) 08/05/62 QA 26 DEC 2018
สิ่งที่ดำเนินการ มีคกก.เป็นลายลักษณ์อักษร 2. มีแนวปฏิบัติการดูแลแบบประคับประคอง 3. มีการประเมินผลและรายงานสรุปผลการดูแลแบบ ประคับประคอง และมีการประเมินความพึงพอใจของครอบครัวผู้ป่วยฯต่อบริการพยาบาลแบบประคับประคองในภาพรวม มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 80 ประเด็น มีการดำเนินงาน? 08/05/62 QA 26 DEC 2018
KEY WORDS วัตถุประสงค์ เกณฑ์การประเมิน : ระดับความสำเร็จ 5 ระดับ F6. ระดับความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการจัดบริการพยาบาล การดูแลต่อเนื่องของสถานบริการสุขภาพตามเกณฑ์ KEY WORDS วัตถุประสงค์ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา การจัดบริการพยาบาลการดูแลต่อเนื่องของสถานบริการสุขภาพ 1.การจัดบริการพยาบาลการดูแลต่อเนื่อง (Continuing care) ครอบคลุม 4 มิติ : การวางแผนจำหน่าย การส่งต่อ และการบริการสุขภาพที่บ้าน 2. การวางแผนจำหน่าย (Discharge planning) :D METHOD 3. ระดับความสำเร็จของการจัดบริการพยาบาลการดูแล ต่อเนื่องตามเกณฑ์ ในที่นี้หมายถึง สถานบริการสุขภาพที่มี การดำเนินงานการจัดบริการ พยาบาลการดูแลต่อเนื่อง ครบทั้ง 5 ระดับ เกณฑ์การประเมิน : ระดับความสำเร็จ 5 ระดับ 08/05/62 QA 26 DEC 2018
เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 1 มีพยาบาลผู้รับผิดชอบหลักและมีการวางแผนจำหน่ายโดย สหวิชาชีพ ผู้ป่วย/ครอบครัว มีส่วนร่วมในการกำหนดแผนจำหน่ายตั้งแต่แรกรับ ระดับที่ 2 มีระบบการประสานส่งต่อพยาบาลรับผิดชอบงานการดูแลต่อเนื่อง ระดับที่ 3 มีการดูแลตามแผนการดูแลต่อเนื่องร่วมกับทีมสุขภาพตามสภาพปัญหาของผู้ป่วย แต่ละบุคคล ระดับที่ 4 มีการประเมินผลการดูแลต่อเนื่อง พร้อมทั้งปรับปรุงกระบวนการดูแลผู้ป่วยตามสภาพ ปัญหาใหม่ของผู้ป่วยแต่ละบุคคล เพื่อนำไปสู่ภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น ระดับที่ 5 มีการรายงานผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยต่อเนื่อง เพื่อนำข้อมูลป้อนกลับของผู้ป่วยจาก หน่วยรับการส่งต่อ และใช้ข้อมูลป้อนกลับของผู้ป่วยในการปรับปรุงระบบการวางแผน จำหน่ายและการส่งต่อ 08/05/62 QA 26 DEC 2018
สิ่งที่ดำเนินการ IPD มีผู้รับผิดชอบหลักและวางแผนการจำหน่าย มีระบบประสานส่งต่อพยาบาล COC มีการรายงานผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยต่อเนื่อง เพื่อนำข้อมูลป้อนกลับข้อมูลป้อนกลับของผู้ป่วยในการปรับปรุงระบบ ประเด็น มีการดำเนินงาน? 08/05/62 QA 26 DEC 2018
KEY WORDS วัตถุประสงค์ เกณฑ์การประเมิน F 7. ร้อยละความสำเร็จของสถานบริการที่มีการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียง และผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ วัตถุประสงค์ เพื่อติดตามและประเมินผล การดำเนินงานการเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยติดเตียง KEY WORDS ผู้ป่วยติดเตียง หมายถึง ผู้ป่วยกลุ่มที่เป็นโรคเรื้อรังหลายโรคและมี ภาวะแทรกซ้อนฯ การเยี่ยมบ้านผู้ป่วย หมายถึง การจัดบริการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้านของงาน บริการพยาบาลในชุมชนของสถานบริการสุขภาพฯ ภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ หมายถึง การเกิดภาวะ แทรกซ้อนที่บ้าน สามารถป้องกันไม่ให้เกิดได้ 4. ความสำเร็จของสถานบริการที่มีการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียงและผู้ป่วย ไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ : ครบทั้ง 5 ระดับ และผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้มากว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 เกณฑ์การประเมิน : ความสำเร็จ 5 ระดับ และผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อน ที่ป้องกันได้ > ร้อยละ 80 08/05/62 QA 26 DEC 2018
เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 1 สถานบริการสุขภาพสำรวจจำนวนผู้ป่วยติดเตียงที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ และมีการประสานส่งต่อ พยาบาลรับผิดชอบงานการดูแล ต่อเนื่องและงานบริการเยี่ยมบ้าน ระดับที่ 2 มีพยาบาลผู้รับผิดชอบหลักเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียง และวางแผนการเยี่ยมบ้านติดเตียงเป็นรายกรณี ร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ ระดับที่ 3 มีการดำเนินการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยตามเกณฑ์คุณภาพงานเยี่ยมบ้าน และมีผลคะแนนการเยี่ยมบ้าน ครอบคลุมทั้ง Input, Process และ Output ระดับที่ 4 มีการประเมินผลการเยี่ยมบ้านอย่างต่อเนื่อง นำผลคะแนนการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยมาวางแผนการดูแลต่อเนื่อง พร้อมทั้งปรับปรุงกระบวนการ พยาบาลในการเยี่ยมบ้านและดูแลผู้ป่วยตามสภาพปัญหาใหม่ของผู้ป่วยแต่ละ บุคคล เพื่อนำไปสู่ภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น ระดับที่ 5 มีการรายงานผลลัพธ์การเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียง เพื่อนำข้อมูลมาปรับปรุงระบบการเยี่ยมบ้าน รวมถึงมีการ รายงานผลลัพธ์ผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 08/05/62 QA 26 DEC 2018
สิ่งที่ดำเนินการ สำรวจผู้ป่วยติดเตียงในพื้นที่รับผิดชอบ มีข้อมูลจำนวนผู้ป่วยติดเตียง 2. มีการเยี่ยมบ้าน มีผลคะแนนเยี่ยมบ้าน 3. มีผลลัพธ์การเยี่ยม และรายงานผลจำนวนผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ ประเด็น มีการดำเนินงาน? 08/05/62 QA 26 DEC 2018
F8. ร้อยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการจัดบริการพยาบาล เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยและบุคลากรพยาบาล (2P Safety) ผ่านเกณฑ KEY WORDS วัตถุประสงค์ 1. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัด บริการพยาบาลเพื่อความ ปลอดภัยของผู้ป่วย 2. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัด บริการพยาบาลเพื่อความปลอดภัยและ สวัสดิภาพความเป็นอยู่ของบุคลากรพยาบาล การจัดบริการพยาบาลเพื่อความปลอดภัยของผูปวย และบุคลากรพยาบาล (2P Safety) 2. 2P Safety :การสรางระบบในการดูแลความปลอดภัย ผูปวย/ ผูใชบริการ (P: Patient Safety) ในหนวยบริการพยาบาล และ บุคลากรพยาบาล (P : Personnel Safety) ในการปฏิบัติงานใชแนวทาง ในการสรางความปลอดภัย SIMPLE 3. บุคลากรพยาบาล : พยาบาลวิชาชีพ 4. ความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการจัดบริการพยาบาลเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยและบุคลากรพยาบาล (2P Safety)ตามเกณฑ์ เกณฑ์ประเมิน ด้านผู้ป่วย ด้านบุคลากรพยาบาล รพ.ระดับ A-M1 08/05/62 QA 26 DEC 2018
เกณฑ์การประเมิน ดานผูปวย ระดับที่ 1. คณะกรรมการพัฒนาการจัดบริการพยาบาลเพื่อความปลอดภัยของผูปวย (Patient Safety) ประกอบดวยบุคลากรพยาบาลและ /หรือสหวิชาชีพที่เกี่ยวของ มีการประชุมอยางนอยทุก 3 เดือน ระดับที่ 2. วิเคราะหขอมูลความปลอดภัยของผูปวย และจัดทำแผนครอบคลุม SIMPLE ไดแก S: Safe Surgery มีแนวทางการผาตัดอยางปลอดภัย แนวทางการดมยาอยางปลอดภัย I : Infection มีแนวทางการป้องกันควบคุมการติดเชื้อ และการแพร่กระจายเชื้อในหน่วยบริการพยาบาล รวมทั้ง Prevention and Control Spread of Multidrug – Resistant Organisms (MDRO) มีแนวทาง การป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาในผู้ป่วย M : Medication มีแนวทางการให้ยา เลือด และสารน้ำอย่างปลอดภัย P : Patient care มีแนวทางการดูแลผู้ป่วยอย่างปลอดภัย L: Line and Tubing มีแนวทางการใส่สายยางให้อาหาร (NG tube) ใส่สายสวนปัสสาวะ (Foley’s catheter) อย่างปลอดภัย E: Emergency มีแนวทางการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างปลอดภัย ดานผูปวย ระดับที่ 3 นำผลการวิเคราะห์ส่วนขาด มากำหนดแผนจัดทำแนวทางปฏิบัติฯของผู้ป่วยในการสร้างความปลอดภัย SIMPLE ระดับที่ 4 มีการดำเนินการตามแผนเพื่อความปลอดภัยผู้ป่วย ระดับที่ 5 มีการประเมินผลและรายงานสรุปผลการดำเนินการเพื่อความปลอดภัยผู้ป่วย ผ่านเกณฑ์ในระดับปานกลาง (คะแนน 16 - 23 คะแนน) ตามแบบสอบถาม (2P Safety _ND2562) 08/05/62 QA 26 DEC 2018
เกณฑ์การประเมิน ด้านบุคลากรการพยาบาล ระดับที่ 1 คณะกรรมการด้านความปลอดภัย และสวัสดิภาพความเป็นอยู่ ของบุคลากรพยาบาล มีการประชุมอย่างน้อยทุก 3 เดือน ระดับที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูล ความปลอดภัย และสวัสดิภาพความเป็นอยู่ของบุคลากรพยาบาลครอบคลุม SIMPLE ได้แก่ S: Social media and communication มีแนวทางการใช้สื่อทางสังคมอย่างชาญฉลาด และมีแนวทางการสื่อสารข้อมูลความลับของผู้ป่วย ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ I: Infection and Exposure มีแนวทางการป้องกันการติดเชื้อจากการทำงาน M: Mental health and Medication มีแนวทางการดูแลบุคลากร ด้านความรู้สึกไม่ปลอดภัยจากการถูกคุกคามทางร่างกาย และจิตใจ/ แนวทางการดูแลบุคลากรที่ถูกฟ้องร้อง หรือตกเป็นจำเลย P: Process of Work มีแนวทางการดูแลบุคลากรด้านภาระงาน และแนวทางการป้องกันโรคจากการทำงาน L: Lane Traffic and Legal Issues มีแนวทางการดูแลความปลอดภัยของรถพยาบาล และการส่งต่อ E: Environment and Working Conditions มีแนวทางการสร้าง สิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยในการทำงาน และมีแนวทางการสร้างสิ่งแวดล้อมฯ ด้านบุคลากรการพยาบาล ระดับที่ 3 นำผลการวิเคราะห์มากำหนดแผนจัดทำ แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยและสวัสดิภาพ ความเป็นอยู่ของบุคลากรพยาบาล ระดับที่ 4 มีการดำเนินการตามแผนเพื่อความปลอดภัย และสวัสดิภาพ ความเป็นอยู่ของบุคลากรพยาบาล ระดับที่ 5 มีการประเมินผลและรายงานสรุปผลการ ดำเนินการเพื่อความปลอดภัย และสวัสดิภาพความ เป็นอยู่ของบุคลากรพยาบาลผ่านเกณฑ์ในระดับ ปานกลาง (คะแนน 16-23 คะแนน) ตามแบบสอบถาม (2P Safety _ND2562) 08/05/62 QA 26 DEC 2018
สิ่งที่ดำเนินการ มีคกก.และประชุมทุก 3 เดือน 2. มีผลการวิเคราะห์ข้อมูล SIMPLE ทั้งบุคลากรและผู้ป่วย 3. แผน/จัดทำแนวทางปฏิบัติในการสร้างความปลอดภัย ประเด็น มีการดำเนินงาน? 08/05/62 QA 26 DEC 2018
ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ บริการพยาบาลระดับประเทศ Agenda based ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ บริการพยาบาลระดับประเทศ ส่วนที่ 2 08/05/62 QA 26 DEC 2018
วัตถุประสงค์ KEY WORDS A1. ร้อยละของสถานบริการสุขภาพที่ผู้ใช้บริการงานผู้ป่วยใน มีคะแนนความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลตามเกณฑ์ วัตถุประสงค์ KEY WORDS เพื่อนำผลการประเมินความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลของผู้ใช้บริการในโรงพยาบาล งานผู้ป่วยในมาใช้ในการพัฒนาระบบบริการพยาบาลให้สอดคล้อง กับปัญหาความต้องการของผู้ใช้บริการ อย่างตรงประเด็นซึ่งจะส่งผล ให้ระบบ บริการพยาบาลมีคุณภาพเพิ่มการยอมรับ และพึงพอใจของผู้ใช้บริการ 1.ความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลงานผู้ป่วยใน 2. ความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาล ตามเกณฑ์ หมายถึง คะแนน ความพึงพอใจต่อการบริการพยาบาล สำหรับงานผู้ป่วยใน ตอนที่ 3 ข้อ 19 - 25 รวมจำนวน 7 ข้อ ได้คะแนนรวมมากกว่าหรือเท่ากับ 28 คะแนน ซึ่งอยู่ใน ระดับมากถึงมากที่สุด (เกณฑ์การให้คะแนนระบุในคำชี้แจงของแบบประเมิน) 08/05/62 QA 26 DEC 2018
KEY WORDS วัตถุประสงค A 2. รอยละของสถานบริการสุขภาพที่ผูใชบริการงานผูปวยนอก มีคะแนนความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลตามเกณฑ์ วัตถุประสงค KEY WORDS เพื่อนำผลการประเมินความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลของผู้ใช้บริการในโรงพยาบาล งานผู้ป่วยนอกมาใช้ในการพัฒนาระบบบริการพยาบาลให้สอดคล้อง กับปญหาความตองการของผูใชบริการอยางตรงประเด็น ซึ่งจะสงผลใหระบบบริการพยาบาลมีคุณภาพ เพิ่มการยอมรับและ พึงพอใจของผูใชบริการ ความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลงานผูปวยนอก หมายถึง การประเมิน ผลลัพธ์ของการพยาบาลจาก ความคิดเห็นของผู้ใช้บริการพยาบาลงานผู้ป่วยนอก ความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลผานเกณฑในที่นี้หมายถึง คะแนนความพึงพอใจตอการบริการสำหรับ งานผูปวยนอก ตอนที่ 3 ขอ 15 - 21 รวม จำนวน 7 ขอ ไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับ 28 คะแนน อยูในระดับมาก ถึงมากที่สุด 08/05/62 QA 26 DEC 2018
A 3. ร้อยละของสถานบริการสุขภาพผู้ที่ใช้บริการในชุมชน มีคะแนนความพึงพอใจ ในคุณภาพบริการพยาบาลตามเกณฑ์ วัตถุประสงค์ KEY WORDS ความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลของ ประชาชน/ผู้ใช้บริการ 2. ความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาล ตามเกณฑ์ ในที่นี้หมายถึง คะแนน ความพึงพอใจ ของผู้ใช้บริการในชุมชน ส่วนที่ 2 ข้อ 1–10 รวมจำนวน 10 ข้อ ได้คะแนนรวมมากกว่าหรือ เท่ากับ 40 คะแนน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด 3. ประชาชน/ผู้ใช้บริการ หมายถึง ผู้ใช้บริการ งานการพยาบาลในชุมชน สำหรับโรงพยาบาล ศูนย์/ทั่วไป และผู้ใช้บริการพยาบาลในกลุ่มงาน บริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม สำหรับ โรงพยาบาลชุมชน เช่น ใช้บริการในคลินิก การ เยี่ยมบ้าน/ดูแลสุขภาพที่บ้าน บริการสุขภาพ เคลื่อนที่อื่นๆในชุมชน เป็นต้น เพื่อนำผลการประเมินความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลของประชาชน มาใช้ในการพัฒนาระบบบริการพยาบาลให้สอดคล้องกับปัญหาความต้องการของประชาชนอย่างตรงประเด็น ซึ่งจะส่ง ผลให้ระบบบริการพยาบาลมีคุณภาพ เพิ่มการยอมรับและพึงพอใจของประชาชน 08/05/62 QA 26 DEC 2018
KEY WORDS วัตถุประสงค์ เกณฑ์การประเมิน A 4. ร้อยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการดำเนินงาน สร้างเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน KEY WORDS วัตถุประสงค์ การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน หมายถึง การที่ผู้สูงอายุมีการล้มลง หรือทรุดตัวลง เนื่องจากการเสียสมดุลในการทรงตัว ทั้งทางเดิน พื้นที่ยืน และการ พลัดตกจากที่สูง เช่น เก้าอี้ เตียง บันได เป็นต้น ระหว่างอยู่ที่บ้านหรือสถานที่อื่นๆในชุมชน ไม่นับรวมการพลัดตกหกล้มขณะพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ผู้สูงอายุ หมายถึง กลุ่มประชากรที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไป ครอบคลุมทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ ติดสังคม ติดบ้าน และติดเตียง ความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการดำเนินงานสร้างเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน หมายถึง สถานบริการ สุขภาพที่มีการดำเนินงานสร้างเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังการพลัดตกหกล้ม ของผู้สูงอายุในชุมชน ตามเกณฑ์ระดับที่ 1 - 5 และมีอัตราการพลัดตกหกล้ม ของผู้สูงอายุในชุมชน น้อยกว่าร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับจำนวนประชากร ผู้สูงอายุทั้งหมดในเขตรับผิดชอบ เพื่อเสริมสร้างสุขภาพความ แข็งแรงของกล้ามเนื้อและลดปัจจัยเสี่ยงต่อการพลัดตก หกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน เกณฑ์การประเมิน : ความสำเร็จ 5 ระดับ 08/05/62 QA 26 DEC 2018
เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลผู้สูงอายุในชุมชน กำหนดสาเหตุการพลัดตกหกล้ม ของผู้สูงอายุ จำแนกกลุ่มติดสังคม ติดบ้านและติดเตียง ระดับที่ 2 จัดทำแผน/โครงการ/กิจกรรมการสร้างเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ จำแนกกลุ่มติดสังคม ติดบ้านและติดเตียง ระดับที่ 3 ดำเนินการตามแผน/โครงการ/กิจกรรมที่กำหนด ระดับที่ 4 ประเมินผลแผน/โครงการ/กิจกรรมที่กำหนด ระดับที่ 5 รวบรวม วิเคราะห์ อัตราการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน จำแนกกลุ่มติดสังคม ติดบ้าน ติดเตียง และโดยรวมน้อยกว่าร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับจำนวนประชากรผู้สูงอายุทั้งหมดในเขตรับผิดชอบ 08/05/62 QA 26 DEC 2018
สิ่งที่ดำเนินการ มีผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้สูงอายุในชุมชน มีแผนงาน/โครงการ ข้อมูลการพลัดตกหกล้มผู้สูงอายุในชุมชน จำแนกตาม 3.1 กลุ่มติดสังคม 3.2 กลุ่มติดบ้าน 3.3 ติดเตียง 08/05/62 QA 26 DEC 2018
วัตถุประสงค์ 1. แผลกดทับ 2. ความสำเร็จของการจัดบริการพยาบาล A 5.ร้อยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการจัดบริการพยาบาล แผลกดทับผู้สูงอายุที่บ้านตามเกณฑ์ KEY WORDS วัตถุประสงค์ 1. แผลกดทับ 2. ความสำเร็จของการจัดบริการพยาบาล แผลกดทับผู้สูงอายุที่บ้านตามเกณฑ์ 3. ระดับการหายของแผลกดทับ เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน และเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ติดเตียงในชุมชน 08/05/62 QA 26 DEC 2018
เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลผู้สูงอายุติดเตียงและมีแผลกดทับในชุมชน ประสานครอบครัวเพื่อนัดการให้บริการพยาบาลที่บ้าน ระดับที่ 2 จัดทำแผนการพยาบาลที่บ้านสอดคล้องกับข้อมูลผู้สูงอายุ รวมถึง การดูแลแผลกดทับ ระดับที่ 3 ให้บริการพยาบาลผู้สูงอายุติดเตียงที่มีแผลกดทับที่บ้านตามแผนการพยาบาล ประเมินลักษณะแผลกดทับ ให้คะแนนแผลกดทับตามแนวทางที่ กำหนดให้การพยาบาล ประเมินผลและจัดทำแผนการพยาบาลที่บ้านอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับปัญหาความต้องการ ระดับที่ 4 ประเมินผลการพยาบาลที่บ้าน การดูแลแผลกดทับ และการหายของแผล ให้คะแนนแผลกดทับตามแนวทางที่กำหนด ระดับที่ 5 รวบรวม วิเคราะห์ อัตราการหายของแผลกดทับของผู้สูงอายุติดเตียง ในชุมชนตามแนวทางที่กำหนด โดยการหายของแผลกดทับเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ระดับของแผลตำแหน่งใด ตำแหน่งหนึ่ง บางส่วน หรือทั้งหมดของผู้สูงอายุ ติดเตียงในชุมชน มากกว่าร้อยละ 30 เมื่อเทียบ กับจำนวนประชากรผู้สูงอายุติดเตียงทั้งหมดในเขตรับผิดชอบ 08/05/62 QA 26 DEC 2018
สิ่งที่ดำเนินการ มีผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้สูงอายุติดเตียงที่มี แผลกดทับในชุมชน มีแผนการพยาบาล ข้อมูลการวิเคราะห์ อัตราหายของแผล 08/05/62 QA 26 DEC 2018
A 6. ร้อยละความสำเร็จของคลินิกหมอครอบครัวที่มีการจัดบริการพยาบาลตามแนวทางที่กำหนด KEY WORDS การจัดบริการพยาบาลตามแนวทางที่กำหนด หมายถึง การจัดบริการพยาบาลในคลินิกหมอครอบครัวตาม แนวทางที่กองการพยาบาลพัฒนาและเผยแพร่สู่การปฏิบัติ ผ่านเกณฑ์ระดับ 2 ขึ้นไป ซึ่งแนวทางครอบคลุมปัจจัยนำเข้า กระบวนการและผลลัพธ์ ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับ 1 หมายถึง ผลรวมของคะแนนปัจจัย นำเข้า กระบวนการและผลลัพธ์ ได้น้อยกว่า 20 คะแนน ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับ 2 หมายถึง ผลรวมของคะแนนปัจจัย นำเข้า กระบวนการและผลลัพธ์ อยู่ระหว่าง 20 - 27 คะแนน ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับ 3 หมายถึง ผลรวมของคะแนนปัจจัย นำเข้า กระบวนการและผลลัพธ์ ได้มากกว่า 27 คะแนน วัตถุประสงค์ เพื่อให้คลินิกหมอครอบครัวจัด บริการพยาบาลตามแนวทางที่กำหนด 2.เพื่อติดตามการจัดบริการพยาบาล ในคลินิกหมอครอบครัว 08/05/62 QA 26 DEC 2018
เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 1 มีการวิเคราะห์ภาวะสุขภาพของประชาชน และการเจ็บป่วยของผู้ป่วยในพื้นที่ รับผิดชอบ ระดับที่ 2 มีพยาบาลวิชาชีพร่วมเป็นคณะกรรมการจัดบริการพยาบาลคลินิกหมอครอบครัว และมีการวางแผนการดำเนินงานบริการพยาบาลคลินิกหมอครอบครัว ระดับที่ 3 ดำเนินการงานคลินิกหมอครอบครัวครอบคลุมงานบริการพยาบาล การส่งเสริม การป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสุขภาพ ทั้งใน/นอกสถานบริการ สุขภาพและในชุมชน ระดับที่ 4 มีการประเมินผลการดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัว และนำมาพัฒนาปรับปรุง การจัดบริการพยาบาลคลินิกหมอครอบครัวอย่างต่อเนื่อง ระดับที่ 5 มีการประเมินการจัดบริการพยาบาลในคลินิกหมอครอบครัวตาม PCC_ND2562 ผ่านเกณฑ์ระดับ 2 ขึ้นไป 08/05/62 QA 26 DEC 2018
A 7. รอยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการจัดบริการพยาบาลอาชีวอนามัย ในเขต Hot Zone ตามแนวทางที่กำหนด วัตถุประสงค KEY WORDS การพยาบาลอาชีวอนามัย หมายถึง การปฏิบัติการพยาบาลเฉพาะทางที่มุงเนนการดูแลสุขภาพและความปลอดภัยใหกับคนทำงาน ครอบคลุมทั้งการ สงเสริมสุขภาพ การรักษา การฟนฟูสุขภาพและการปองกันการเจ็บปวย บาดเจ็บและอันตรายจากปจจัยเสี่ยงตางๆ ที่สัมพันธกับงาน เขต Hot Zone หมายถึง พื้นที่ที่ถูกกำหนดใหเปนพื้นที่เสี่ยงมลพิษ สิ่งแวดลอม ตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ในป 2561 ทั้งหมด 46 จังหวัด ความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการจัดบริการการพยาบาลอาชีวอนามัยในเขต Hot Zone ตามแนวทางที่กำหนด เพื่อติดตามและประเมินผล การจัดบริการพยาบาล อาชีวอนามัยในเขต Hot Zone ของสถานบริการสุขภาพ HOT ZONE จำนวน 46 แห่งทั้งประเทศ จำนวน 4 แห่งในเขตฯ 8 โรงพยาบาล ระดับ A-M1 08/05/62 QA 26 DEC 2018
A 8.ร้อยละของสถานบริการสุขภาพที่พยาบาลวิชาชีพมีความผูกพันต่อ องค์กรพยาบาลในระดับปานกลางถึงมาก KEY WORDS วัตถุประสงค์ ความผูกพันต่อองค์กรพยาบาล หมายถึง ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร การยอมรับเป้าหมายนโยบายการบริหารขององค์กรการทุ่มเทความพยายาม ในการปฏิบัติงานเพื่อองค์กรความห่วงใยในอนาคตขององค์กรและความ ต้องการที่จะดำรงความเป็นสมาชิกขององค์กร บุคลากรพยาบาล หมายถึง พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการด้านสุขภาพโดยตรง แก่ผู้ป่วยและประชาชน ทั้งผู้ที่ให้บริการพยาบาลในสถานบริการและในชุมชน ความผูกพันต่อองค์กรพยาบาลระดับปานกลางถึงมาก หมายถึง คะแนน ความคิดเห็นต่อข้อคำถามเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์กรพยาบาล ตอนที่ 2 ของแบบสอบถามความผูกพันต่อองค์กรพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 27 ข้อ ได้คะแนนรวมมากกว่าหรือเท่ากับ 81 คะแนน อยู่ในระดับปานกลาง ถึงมาก (เกณฑ์การให้คะแนนระบุในคำชี้แจงของแบบประเมิน) เพื่อนำผลการประเมินความผูกพันต่อองค์กรพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลขององค์กรพยาบาล เพื่อเสริมสร้างความผูกพันอย่างตรงประเด็น ส่งผลให้บุคลากรรักในองค์กรและตั้งใจปฏิบัติงานให้มีประสิทธิผลประสิทธิภาพ และคุณภาพมากยิ่งขึ้น 08/05/62 QA 26 DEC 2018
KEY WORDS วัตถุประสงค์ A 9. ร้อยละความสำเร็จขององค์กรพยาบาลที่มีการดำเนินงานตามแนวทางที่กำหนด และมีอัตราการคงอยู่ของบุคลากรพยาบาลตามเกณฑ์ KEY WORDS วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนาและประเมินผลการดำเนินงานเพื่อการคงอยู่ของบุคลากรพยาบาล 1.การคงอยู่ของบุคลากรพยาบาล 2. บุคลากรพยาบาล หมายถึง ผู้สำเร็จการศึกษา จากหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ และสามารถประกอบ อาชีพในด้านบริการสุขภาพอนามัยทั้งในส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือภาคเอกชน 3.แนวทางการดำเนินงานเพื่อการคงอยู่ของบุคลากร พยาบาล หมายถึง แนวทางที่กองการพยาบาล กำหนดขึ้นให้องค์กรพยาบาลของโรงพยาบาลมี 5 องค์ประกอบ เกณฑ์การประเมิน 5 ระดับ โรงพยาบาลระดับ A-M1 08/05/62 QA 26 DEC 2018
เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 1 องค์กรพยาบาลของสถานบริการสุขภาพรับฟังคำอธิบายตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อการคงอยู่ของบุคลากรพยาบาล ในการการปฏิบัติการ เรื่อง “ปฏิรูประบบบริการพยาบาลในยุค DIGITAL HEALTH” ในระหว่างวันที่ 14-16 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรมริชมอนด์ ถนนรัตนาธิเบศร์ นนทบุรี ระดับที่ 2 องค์กรพยาบาลของสถานบริการสุขภาพกำหนดแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรม ตามปัจจัยที่ส่งผลต่อคงอยู่ของบุคลากรพยาบาลที่วิเคราะห์ ได้ในปี 2561 (ตามเอกสารแนบท้าย) ระดับที่ 3 องค์กรพยาบาลของสถานบริการสุขภาพ ดำเนินงานตามแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรม โดยมีนักวิชาการพยาบาล ผู้นิเทศการพัฒนาบริการพยาบาลประจำเขตสุขภาพ ผู้บริหารการพยาบาล และคณะกรรมการ ทรัพยากรบุคลากรพยาบาลขององค์กรพยาบาล เป็นที่ปรึกษา ติดตามกำกับ ความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ระดับที่ 4 คณะกรรมการทรัพยากรบุคลากรพยาบาลขององค์กรพยาบาลในสถานบริการสุขภาพ ประเมินอัตราการคงอยู่ของบุคลากรพยาบาล ภายหลังการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแบบฟอร์มที่กำหนด ระดับที่ 5 ผู้นิเทศทางการพยาบาลรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปรายงานการดำเนินงาน โดยกำหนดค่าเป้าหมายอัตราการคงอยู่ของบุคลากรพยาบาลที่ระดับร้อยละ 95 เกณฑ์เป้าหมาย 08/05/62 QA 26 DEC 2018
สิ่งที่ดำเนินการ นำปัจจัยที่ส่งผลต่อคงอยู่ฯที่วิเคราะห์ในปี 2561 มากำหนดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมและเป้าหมาย ประเมินการคงอยู่ภายหลังการดำเนินแผนงาน/โครงการ 08/05/62 QA 26 DEC 2018
วัตถุประสงค์ KEY WORDS A 10. ระดับความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่องค์กรพยาบาลมีการนำดัชนีองค์กร ที่มีความสุข (Happy Public Organization Index) ไปใช้ตามแนวทางที่กำหนด KEY WORDS องค์กรพยาบาลที่มีการนำดัชนีองค์กรที่มีความสุข (Happy Work Place Index) ไปใช้ตามแนวทางที่กำหนด หมายถึง องค์กรพยาบาลของสถานบริการสุขภาพทุกระดับที่มีการดำเนินการ พัฒนาองค์กรพยาบาล เพื่อส่งเสริม ความสุขในการทำงานของบุคลากรพยาบาลครบทั้ง 5 ระดับ บุคลากรพยาบาล หมายถึง พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการ ด้านสุขภาพโดยตรง แก่ผู้ป่วยและประชาชน จำแนกเป็นข้าราชการ พนักงานของรัฐ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข และลูกจ้างชั่วคราว ทั้งผู้ที่ให้บริการพยาบาลในสถาน บริการและในชุมชน วัตถุประสงค์ เพื่อนำผลการประเมินดัชนีความสุขของบุคลากรพยาบาล (Happy Public Organization Index) มาใช้ในการพัฒนา องค์กร ส่งเสริมความสุขในการทำงานอย่างตรงประเด็น สนับสนุนให้พยาบาลเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลใน การทำงาน 08/05/62 QA 26 DEC 2018
เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 1 มีการชี้แจงแนวทางการวัดและนำดัชนีความสุขของบุคลากรพยาบาล ไปใช้ ระดับที่ 2 มีการประเมินดัชนีความสุข (Happy Public Organization Index) ของบุคลากรพยาบาล ระดับที่ 3 มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลดัชนีความสุขของบุคลากรพยาบาล ระดับที่ 4 มีการทำแผนพัฒนาความสุขของบุคลากรพยาบาล ระดับที่ 5 มีการดำเนินการตามแผนพัฒนาความสุขของบุคลากรพยาบาล และประเมินผลตามแบบประเมินสุขภาวะภาครัฐ (Happy Public Organization Index) 08/05/62 QA 26 DEC 2018
สิ่งที่ดำเนินการ นำผลการประเมินดัชนีความสุขปี 2561 มาวิเคราะห์ส่วนขาดและกำหนดประเด็นปรับปรุงองค์กรพยาบาล มากำหนดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมปรับปรุงองค์กรพยาบาล เสริมสร้างความสุขในการทำงาน ประเมินผลปรับปรุงองค์กร 08/05/62 QA 26 DEC 2018
ขอบคุณค่ะ 08/05/62 QA 26 DEC 2018