การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ สรุปเนื้อหา การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ คือ การบูรณาการกิจกรรมทั้งหมดในการไหลของวัตถุดิบ สินค้ากึ่งสำเร็จรูป สินค้า สำเร็จรูป จากผู้ผลิตวัตถุดิบถึงผู้บริโภค โดยส่งผ่านธุรกิจในหลายๆองค์กรควบคุ่การ จัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงคฺ์ของการจัดการโซ่อุปทาน 2. สามารถเพิ่มรายได้ให้กับธุรกิจ ( Enhance revenue ) ลดต้นทุนเพิ่มกำไร
หลักพื้นฐานในการจัดการโซ่อุปทาน มี 3 ประการ ดังนี้ 3. การจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ( Information technology system ) เพื่อดำเนินงานในขั้นตอนของโซ่อุปทานได้อย่างรวดเร็ว ระบบจัดการทันสมัย
กิจกรรมการจัดการโซ่อุปทาน 4. กิจกรรมการจัดการสารสนเทศ การตลาดและการเงิน ( Information marketing and financial management ) เป็นกิจกรรมรองที่ปฏิบัติควบคู่กิจกิจกรรมหลัก
การจัดการโลจิสติกส์ ความหมาย กระบวนการวางแผน ปฏิบัติและควบคุมการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ ตั้งแต่จุดเริ่มต้นขั้นตอนการเตรียมการผลิตจนถึงจุดการช้งาน เพื่อเป้าหมายการ ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคให้เกิดความพอใจสูงสุด
องค์ประกอบกิจกรรมการจัดการโลจิส
การจัดการโลจิสติกส์ 1.4 การจัดซื้อหรือการจัดหา ( Prochasing or Procurement ) มีความสำคัญตั้งแต่ กระบวนการผลิต สรุปเป็นขั้นตอนได้ ดังต่อไปนี้
• ออกคำสั่งซื้อและติดตามการสั่งซื้อ
สูตรคำนวณ Reorder point จุดสั่งซื้อ = (เวลารอคอย x อัตราใช้) + สินค้าสิ้นรอบ
สูตรคำนวณ EOQ C = ต้นทุนสินค้าคงคลังต่อหน่วย
การจัดการวัสดุเข้าสู่กระบวนการผลิต 4. การบรรจุภัณฑ์ ( Packaging ) เป็นองค์ประกอบบางชี้ผลิตภัณฑ์ ( Product identification ) การออกแบบบรรจุภัณฑ์ช่วยลดต้นทุนการเก็บรักษา รวมทั้งสะดวก รวดเร้วในการขนย้ายกระตุ้นการซื้อของลูกค้า มีส่วนสำคัญย่อยๆ ดังนี้
หน้าที่ของบรรจุภัณฑ์ ( Packaging functions ) การลดต้นทุนในการกระจายสินค้าสู่ลูกค้า ( Low cost distribution ) หากจัดการอย่างเหมาะสมช่วยลดต้นทุน ได้
การกระจายสินค้าสำเร็จรูปสู่ลูกค้า • ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับตลาด ( Market factor ) มีสำคัญๆ 2 อย่างคือ ภาวการณ์แข่งขัน และ ระเบียบข้อบังคับ กฎหมาย
รูปแบบการขนส่ง ( Transportation modes ) 5. การขนส่งทางท่อ ( Pipeline )
การบริหารสินค้าสำเร็จรูปคงคลัง ต้นทุนความเสี่ยง
การกมุนเวียนสินค้าคงคลัง ( Inventory turnover ) การตวจสอบอัตราการหมุนเวียนสินค้าคงคลังว่ามีอัตราการหมุนเวียนเท่าใดสามารถ คำนวณโดยใช้สูตรต่อไปนี้
การบริการลูกค้า องค์ประกอบของการให้บริการภายหลังการทำธุรกรรม ( After practice ) เช่น บริการติดตั้ง รับประกัน ซ่อมแซม บริการอะไหล่และชิ้นส่วน รับเปลี่ยน และรับคืน
สรุป ปัจจุบันการขนส่งที่รวดเร็วทันใจตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ทันท่วงที ถือได้ว่า ครองใจลูกค้าได้มากกว่าครึ่งแล้ว และหากสินค้าคลองใจผู้บริโภคด้วยการผลิตดี การดูแล รักษาดี การขนส่งดี จะยิ่งทำให้ผู้ประกอบการมีรายได้และมีเครดิตดีต่อทั้งสายตาของ ผู้บริโภคและผู้ค้าวัตถุดิบที่ผู้ประกอบการร่วมการค้าขายด้วย