เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ อาจารย์พรพิสิทธิ์ เลี้ยงอยู่ www.elfhs.ssru.ac.th/pornpisit
รู้จัก คำอธิบายรายวิชา รายวิชาที่เรียน มุ่งเน้นให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่อง อะไรบ้าง อ่านและทำความเข้าใจ ในสิ่งที่เรียนรู้ ความรับผิดชอบ สำคัญมากสำหรับนักศึกษา ต่อตัวเอง เข้าเรียนให้ครบตามข้อกำหนดมหาวิทยาลัย ต่องาน ติดตาม งานที่อาจารย์สั่ง การสอบเก็บคะแนน เพื่อนร่วมกลุ่ม การทำงานกลุ่ม ต้องช่วยกันทำ ต่อสังคม ช่วยกันทำงานส่วนรวม เสียสละบ้าง
เมื่อคุณเรียนมหาวิทยาลัย นักเรียน นักศึกษา, นิสิต เรียนตามหลักสูตร ที่ กระทรวงศึกษาธิการกำหนด มีหนังสือ ตำราเรียนครบทุกรายวิชา ครู คอยติดตามการเรียน การส่งงาน โดดเรียน ไม่ได้ เป็นความผิด นักศึกษา คือ ผู้ศึกษาได้ด้วยตนเอง ตาม แนวทางที่อาจารย์ กำหนด ซึ่งเป็นไปตาม หลักสูตรที่ สกอ. รับรอง อาจารย์ Lecturer ผู้มีหน้าที่บรรยาย ตามหัวข้อการเรียนการสอน ตามคำอธิบาย รายวิชา นักศึกษา จะต้องมี ความรับผิดชอบ ส่งงานตามที่อาจารย์กำหนด มาสอบตามวันเวลา ที่กำหนด เข้าเรียนให้ครบ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด
เมื่อคุณเรียนมหาวิทยาลัย การจด Lecture คือการจดตามความเข้าใจ ไม่ใช่ การจดทุกตัวอักษร (ทำความเข้าใจให้ถูกต้อง) การจดตามความเข้าใจ ตั้งข้อสงสัย ตั้งคำถาม ถามอาจารย์ผู้สอน อภิปราย (พูดคุย แลกเปลี่ยนทำความเข้าใจ) จดบันทึก สาระสำคัญ การสรุปสาระสำคัญ (การย่อความ)
ทำไมถึงจำสิ่งที่เรียนไม่ได้ เมื่อนั่งฟัง แบบผ่าน ไม่จด เล่นโทรศัพท์ เมื่อนั่งเรียน ตั้งใจฟัง จดสรุปสาระสำคัญของการเรียน อาจารย์บรรยาย ฟังแบบผ่าน ๆ ไม่ได้เข้าไปในหัวสมอง สมองไม่ทำงาน ไม่ก่อให้เกิดความทรงจำ เมื่อเลิกเรียน ออกจากห้องลืม เป็นประเภท นั่งเรียนตาใส เมื่อถึงเวลาสอบ อ่านอะไรก็จำไม่ได้ สอบได้คะแนนน้อย – น้อยมาก, สอบตก ได้ F สุดท้ายหมดสภาพการ นักศึกษา ถูกเชิญให้ออก ฟังอย่างตั้งใจ สงสัย ตั้งคำถาม พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเป็นกับอาจารย์ได้ จดบันทึกสาระสำคัญ ตลอดการเรียน สมองทำงาน เกิดการจดจำความรู้ เมื่อถึงเวลาสอบ อ่านทบทวน จำได้ สอบได้คะแนนดี เกรด B – A เรียนจบ อย่างมีคุณภาพ ได้ทั้งปริญญา และความรู้ ไปประกอบอาชีพได้
การสร้างความจำระยะยาว เมื่อเรียนรู้สิ่งใหม่ จะถูกจัดเก็บเป็นความทรงจำระยะสั้น เมื่อสอบเสร็จก็จะลืม การสร้างความจำระยะยาว เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม ด้วยการเขียน Mind Map นักศึกษา คือ ลูกค้า และผลผลิตของมหาวิทยาลัย
การเรียนรู้ ตามทฤษฎีของ Bloom (Bloom's Taxonomy) ความรู้ที่เกิดจากความจำ (knowledge) ซึ่งเป็นระดับล่างสุด ความเข้าใจ (Comprehend) การประยุกต์ (Application) การวิเคราะห์ (Analysis) สามารถแก้ปัญหา ตรวจสอบได้ การสังเคราะห์ (Synthesis) สามารถนำส่วนต่างๆ มาประกอบเป็นรูปแบบใหม่ ได้ให้แตกต่างจากรูปเดิม เน้นโครงสร้างใหม่ การประเมินค่า (Evaluation) วัดได้ และตัดสินได้ว่าอะไรถูกหรือผิด ประกอบการตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผลและเกณฑ์ที่แน่ชัด
วิธีการเรียนให้ประสบความสำเร็จ สุ จิ ปุ ลิ สุตตะ ฟังอย่างตั้งใจ จิตตะ คิดตามและทำความเข้าใจ ปุจฉา หากสงสัยให้ถาม ลิขิต เขียนจดบันทึกให้เข้าใจและป้องกันการลืม
การเรียน
มาเรียนเพื่ออะไร ? เพื่อนำความรู้ไปประกอบวิชาชีพ เพื่อให้ผ่าน ๆ ไป เพื่อให้ได้ใบปริญญา+ความรู้ เพื่ออื่น ๆ
เรียนอย่างมีเป้าหมาย เมื่อเรียนจบ แล้วทำงาน สร้างโอกาส การมีงานทำ ที่ดีกว่า เพื่อความหวังของครอบครัว เพื่อความภาคภูมิใจของพ่อแม่ เพื่อมีโอกาส ในการพัฒนาความรู้ ความสามารถ
Don’t loose your Pen
เกณฑ์การเก็บคะแนน รายวิชาที่เป็นทฤษฎี 3(3-0-6) มาเรียน 10 % งานกิจกรรม 30 % สอบกลางภาค 30 % สอบปลายภาค 30 %
เกณฑ์การเก็บคะแนน รายวิชาที่เป็นปฏิบัติ 3(2-2-5) มาเรียน 10 % งานกิจกรรม 50 % สอบกลางภาค 20 % สอบปลายภาค 20 %