การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน รศ.ดร.ดนัย บุณยเกียรติ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ www.agri.cmu.ac.th/staff/faculty/danai การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน
การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน ผลิตผลพืชสวนมักจะได้รับความเสียหาย ในช่วงระยะหลังการเก็บเกี่ยวไปจนถึงผู้บริโภค โดยระดับความเสียหายจะผันแปรไป — ประเทศที่พัฒนาแล้ว อัตราการสูญเสียจะมีประมาณ 5 - 25 % — ประเทศที่กำลังพัฒนา อัตราการสูญเสียจะมีประมาณ 20 - 50 %
ที่มา : FAO, Developing Country ความเสียหายของผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว ผลิตผล ความเสียหาย มะเขือเทศ 20 - 50 % กล้วย 20 - 80 % มะละกอ 40 - 100 % ราก - ลำต้นใต้ดิน 12.5 - 26.6 % ที่มา : FAO, Developing Country
ที่มา : FAO, Developing Country ความเสียหายของผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว ผลิตผล ความเสียหาย หอมหัวใหญ่ 37 % กะหล่ำปลี 49 % ส้ม 23 - 33 % องุ่น 27 % ที่มา : FAO, Developing Country
การสูญเสีย
การสูญเสีย
การสูญเสีย
การสูญเสีย
ประเภทของการสูญเสีย การสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยว แมลง เน่า การสูญเสียของผลเงาะสีชมพู และประเภทการสูญเสียในระยะเวลา 3 วัน ของการเก็บรักษา ประเภทของการสูญเสีย การสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยว 1 วัน 2 วัน 3 วัน ลักษณะภายนอก ( ผิวคล้ำ, ตำหนิ ) 3.86 % 7.42 % 27.16 % แมลง 12.96 % 19.07 % 29.98 % เน่า 0 % 3.3 % 7.03 %
การลดปริมาณการสูญเสียอย่างมีประสิทธิภาพ 1. เข้าใจปัจจัยทางชีววิทยาและปัจจัยสิ่งแวดล้อม ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสูญเสีย 2. ใช้ขั้นตอนการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว ซึ่งชะลอ การเสื่อมสลาย ( Senescence ) และรักษา คุณภาพให้ใกล้เคียงผลิตผลที่เก็บเกี่ยวใหม่ๆ
การลดปริมาณการสูญเสียอย่างมีประสิทธิภาพ ผลิตผลพืชสวนจะยังคงมีชีวิตอยู่หลัง การเก็บเกี่ยวจึงมีการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการ เมตาบอลิสม์ ( Metabolism ) ตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลงนี้ในบางกรณีอาจทำให้คุณภาพ ผลิตผลดีขึ้น แต่ส่วนใหญ่จะทำให้คุณภาพลดลง การเปลี่ยนแปลงหลังการเก็บเกี่ยวนี้ไม่สามารถหยุดได้ แต่สามารถจะชะลอการเปลี่ยนแปลงให้เกิดช้าลงได้ เช่น การสุกของผลไม้ การเปลี่ยนน้ำตาลเป็นแป้งในข้าวโพดหวาน
1. การหายใจ ( Respiration ) ปัจจัยทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสีย 1. การหายใจ ( Respiration ) เผาผลาญอาหารสะสม กระบวนการเสื่อมสลายเกิดเร็วขึ้น น้ำหนักผลิตผลลดลง ก่อให้เกิดความร้อนที่เรียกว่า Vital Heat
การหายใจ ( Respiration )
ปัจจัยทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสีย 2. เอทธิลีน ( Ethylene ) เป็นฮอร์โมนพืช กระตุ้นขบวนการสุกและเสื่อมสลาย ทำให้ใบร่วง ใช้ในการบ่มผลไม้ หรือกำจัดสีเขียวของส้ม ( Degreening )
เอทธิลีน ( Ethylene )
เอทธิลีน (Ethylene)
3. การเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบทางเคมี ปัจจัยทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสีย 3. การเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบทางเคมี การสูญเสียคลอโรฟิลล์ของผักใบ การเปลี่ยนแปลงของคาร์โบไฮเดรต การเปลี่ยนแป้งเป็นน้ำตาลในมันฝรั่ง การเปลี่ยนน้ำตาลเป็นแป้งในข้าวโพดหวาน
การเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบทางเคมี
การเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบทางเคมี
การเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบทางเคมี
การเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบทางเคมี
การเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบทางเคมี
4. การเจริญเติบโตต่อเนื่อง ปัจจัยทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสีย 4. การเจริญเติบโตต่อเนื่อง การงอก (Sprouting) ของมันฝรั่ง หอมหัวใหญ่ กระเทียมและพืชราก การโค้งของหน่อไม้ฝรั่งและแกลดิโอลัส เมื่อวางตามแนวนอน
การเจริญเติบโตต่อเนื่อง
การเจริญเติบโตต่อเนื่อง
ปัจจัยทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสีย 5. การสูญเสียน้ำ ทำให้เกิดการสูญเสียทางด้านปริมาณและคุณภาพ น้ำหนักที่ขายได้ลดลง ความกรอบ ความฉ่ำน้ำ และลักษณะปรากฎ (Appearance) จะสูญหายไป
การสูญเสียน้ำ
6. ลักษณะผิดปกติทางสรีรวิทยา (Physiological disorders) ปัจจัยทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสีย 6. ลักษณะผิดปกติทางสรีรวิทยา (Physiological disorders) ผลิตผลพืชสวนได้รับสภาพแวดล้อมที่ไม่ เหมาะสม เช่น อุณหภูมิต่ำเกินไปหรือสูงเกินไป เช่น การเกิด Chilling injury ของพืชเขตร้อน ส่วนประกอบของบรรยากาศมีก๊าซบางชนิดมากหรือน้อยเกินไป
ลักษณะผิดปกติทางสรีรวิทยา (Physiological disorders)
ลักษณะผิดปกติทางสรีรวิทยา (Physiological disorders)
ลักษณะผิดปกติทางสรีรวิทยา (Physiological disorders)
ปัจจัยทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสีย 7. โรคหลังเก็บเกี่ยว โรคที่เกิดขึ้นหลังเก็บเกี่ยวเป็นลักษณะการสูญเสียที่มักจะพบเสมอ ๆ โดยมีสาเหตุจาก แบคทีเรีย เชื้อรา โดยมักจะเข้าทำลายผลิตผลที่มีแผล
โรคหลังเก็บเกี่ยว
โรคหลังเก็บเกี่ยว
วิธีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว 1. การควบคุมอุณหภูมิ การจัดการเกี่ยวกับอุณหภูมิเป็นปัจจัยที่สำคัญต่ออายุหลังการเก็บเกี่ยวของผลิตผล โดยเริ่มตั้งแต่การกำจัดความร้อนจากแปลงหรือสวน ( Field Heat ) ซึ่งติดมากับผลิตผล โดยการลดอุณหภูมิเฉียบพลัน
วิธีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว 1. การควบคุมอุณหภูมิ การใช้น้ำเย็น ( Hydrocooling ) การบรรจุน้ำแข็งลงไปในภาชนะบรรจุ ( Package Icing ) การใช้น้ำแข็งโปะที่บนภาชนะบรรจุ ( Top Icing ) การใช้ห้องเย็น ( Room Cooling ) การผ่านอากาศเย็นไปสู่ผลิตผล ( Forced Air Cooling )
วิธีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว 1. การควบคุมอุณหภูมิ อุณหภูมิต่ำจะช่วยลด — อัตราการหายใจ — อัตราการเกิดขบวนการเมตาบอลิสม์ (Metabolism) เช่น การสุก และการคายน้ำ — อัตราการเกิดและความรุนแรงของโรค
Air Cooling or Room Cooling
การผ่านอากาศเย็น ( Forced - Air cooling )
การผ่านอากาศเย็น ( Forced - Air cooling )
การผ่านอากาศเย็น ( Forced - Air Cooling )
การใช้น้ำเย็นและน้ำแข็ง ( Hydrocooling & Icing)
การใช้น้ำเย็นและน้ำแข็ง ( Hydrocooling & Icing)
การใช้น้ำเย็นและน้ำแข็ง ( Hydrocooling & Icing)
2. การควบคุมความชื้นสัมพัทธ์ วิธีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว 2. การควบคุมความชื้นสัมพัทธ์ ความชื้นสัมพัทธ์จะเกี่ยวข้องกับการสูญเสียน้ำ ความชื้นสัมพัทธ์ที่เหมาะสมต่อการขนส่งและ เก็บรักษาผลไม้ คือ ประมาณ 85 - 95% และประมาณ 90 - 98 % สำหรับผัก ยกเว้น หอมหัวใหญ่ และกระเทียม ซึ่งควรเก็บรักษาที่ความชื้นสัมพัทธ์ 70 - 75 %
1. การเก็บเกี่ยว (Harvest) ขั้นตอนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว 1. การเก็บเกี่ยว (Harvest) ความแก่ทางพืชสวน ( Horticultural Maturity) ความแก่ทางสรีรวิทยา ( Physiological Maturity ) ดัชนีความแก่ (Maturity Index) — รูปร่าง — ขนาด — ความแน่นเนื้อ — สี — ปริมาณสารเคมีภายใน
การเก็บเกี่ยวพืชสวน
การเก็บเกี่ยวพืชสวน
2. การคัดเลือกและจัดมาตรฐาน (Sorting & Grading) ขั้นตอนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว 2. การคัดเลือกและจัดมาตรฐาน (Sorting & Grading) ลักษณะที่ผิดปกติ ตำหนิต่างๆ โรค
การคัดเลือกและจัดมาตรฐาน
การคัดเลือกและจัดมาตรฐาน
การคัดเลือกและจัดมาตรฐาน
3. การทำความสะอาด (Cleaning & Washing) ขั้นตอนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว 3. การทำความสะอาด (Cleaning & Washing) ใช้ลม ใช้น้ำผสมคลอรีน เช่น ผสม Calcium Hypochlorite
3. การทำความสะอาด (Cleaning & Washing)
3. การทำความสะอาด (Cleaning & Washing)
3. การทำความสะอาด (Cleaning & Washing)
4. การบรรจุหีบห่อ ( Packaging ) ขั้นตอนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว 4. การบรรจุหีบห่อ ( Packaging ) ในภาชนะบรรจุควรมีวัสดุรองป้องกัน การช้ำของผลิตผล เช่น ฟองน้ำ หรือกระดาษหนา ๆ นุ่ม ๆ โดยทั่วไปภาชนะบรรจุควรมีขนาดเป็นมาตรฐานโดยใช้ปริมาณที่บรรจุได้เป็นตัวกำหนด
การบรรจุหีบห่อ ( Packaging )
การบรรจุหีบห่อ ( Packaging )
การบรรจุหีบห่อ ( Packaging )
การบรรจุหีบห่อ ( Packaging )
5. การขนส่ง ( Transportation ) ขั้นตอนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว 5. การขนส่ง ( Transportation ) ในระหว่างการขนส่ง ผลิตผลควรอยู่ในสภาพที่มีอุณหภูมิต่ำ มีการเคลื่อนที่ฃองผลิตผลน้อยที่สุด
6. การเก็บรักษา ( Storage ) ขั้นตอนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว 6. การเก็บรักษา ( Storage ) ลดกิจกรรมทางชีววิทยาของผลิตผล โดยการรักษาระดับอุณหภูมิให้เหมาะสม อุณหภูมิต่ำจะลดอัตราการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ ลดอัตราการสูญเสียน้ำ โดยการรักษาระดับความชื้นในอากาศให้สูง
การเก็บรักษา ( Storage )
การเก็บรักษา ( Storage )
การเก็บรักษา ( Storage )
การเก็บรักษา ( Storage )
ขั้นตอนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว ในการเก็บรักษานั้นสิ่งที่ต้องคำนึงถึงคือ ระดับอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ โดยทั่วไปอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเก็บรักษาผลิตผลพืชสวนคือ อุณหภูมิประมาณ 1 - 2 oC เหนือ จุดเยือกแข็ง ยกเว้นผลิตผลเมืองร้อนบางชนิดที่อ่อนแอต่อการเสียหายจากอุณหภูมิต่ำ ส่วนความชื้นสัมพัทธ์จะอยู่ในช่วง 90 - 95 %
ขั้นตอนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว ขั้นตอนบางขั้นตอนที่จำเป็นสำหรับผลิตผลบางชนิด 1. การผึ่งให้แห้ง ( Curing ) เป็นขั้นตอนที่จำเป็นสำหรับผักบางชนิด เช่น หอมหัวใหญ่ มันฝรั่ง กระเทียม
ขั้นตอนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว ขั้นตอนบางขั้นตอนที่จำเป็นสำหรับผลิตผลบางชนิด 2. การเคลือบผิว ( Waxing ) ส่วนใหญ่จะใช้กับผลไม้ — ส้ม — แอปเปิ้ล — สาลี่
การเคลือบผิว ( Waxing )
การเคลือบผิว ( Waxing )
ขั้นตอนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว ขั้นตอนบางขั้นตอนที่จำเป็นสำหรับผลิตผลบางชนิด 3. การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต (Growth Regulator) มีความสำคัญต่อการเก็บรักษา — หอมหัวใหญ่ — มันฝรั่ง โดยจะฉีดพ่น Maleic Hydrazide ในขณะที่อยู่ในแปลง
สารควบคุมการเจริญเติบโต
ขั้นตอนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว ขั้นตอนบางขั้นตอนที่จำเป็นสำหรับผลิตผลบางชนิด 4. การใช้สารเคมีควบคุมโรค ผลิตผลบางชนิดอาจต้องใช้สารเคมี ในการควบคุมโรค เช่น — มะม่วงที่ส่งออกต้องผ่านการแช่ สารเคมีฆ่าเชื้อรา เบนเลท ( Benlate ) ในน้ำร้อนประมาณ 52 oC — แอปเปิ้ลมักจะต้องผ่านการแช่ใน สาร Antioxidant
สารเคมีควบคุมโรค
ขั้นตอนบางขั้นตอนที่จำเป็นสำหรับผลิตผลบางชนิด ขั้นตอนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว ขั้นตอนบางขั้นตอนที่จำเป็นสำหรับผลิตผลบางชนิด 5. การใช้รังสี เพื่อควบคุมการเน่า การเข้าทำลายของแมลง และยืดอายุการเก็บรักษา รังสีแกมมา ในอัตราประมาณ 1.5 - 2 Kilogray
การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน The End www.agri.cmu.ac.th/staff/faculty/danai การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน