กระบวนการเรียนการสอน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
Advertisements

การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)
การสุ่มตัวอย่าง (Sampling)
รูปแบบของการจัดเก็บข้อมูล. รูปแบบการจัดเก็บข้อมูล แบบ Sector Sampling.
 กลุ่มของพวกเรา เลือก Android  Because - ใช้งานง่ายกว่า  ประหยัดค่าใช้จ่าย  สามารถเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ได้ง่ายกว่า  สะดวกในการใช้งาน  Up date.
กลุ่ม เบนซ์ดงเต่า. ios ที่เลือก ios เพราะว่ามีความเสถียรมากกว่า android และ เป็นมาตรฐานโลกและได้รับความนิยมมากกว่า android ระบบ ios ปลอดภัยจากไวรัสและมีระบบปฏิบัติการสับซ้อน.
- -IOS ใช้งานได้ง่ายกว่าในเรื่องการจัดหน้า โฮมสกรีน -Application ทุกอย่างรวมอยู่บนหน้าจอ โฮมสกรีน -IOS มีแอพพลิเคชั่นมากกว่า Android ถึง 50, หน้าจอมีความลื่นไหลแม้แอพฯ.
การควบคุมงานก่อสร้าง ( การทดสอบวัสดุ ). หัวข้อการบรรยาย 1. การเจาะสำรวจชั้นดิน 2. การทดสอบแรงดึงของเหล็ก 3. การทดสอบกำลังอัดของคอนกรีต หมายเหตุ : การบรรยายจะอ้างอิงแบบ.
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
กิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ e- meeting วันศุกร์ที่ 20 เมษายน 2555.
จรรยาบรรณ ( Code of Ethic) กลุ่มบริษัท อาร์เอ็กซ์ จำกัด R.X.Group ประกาศต่อผู้บริหารระดับสูง - ต้น 270 คน เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2548 ณ S.D. Avenue Hotel.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบสารสนเทศ
TU Reg Mobile Application
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
ทำให้การประชุม มีความสำคัญ
เรื่องน่ารู้ ตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
การวิจัยเชิงปริมาณ ดร.บรินดา สัณหฉวี.
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
ยินดีต้อนรับ สู่ ห้องสืบค้นสารสนเทศ
งานระบบเครือข่ายและบริการอินเทอร์เน็ต
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และการเลือกวิธีการสุ่มตัวอย่าง
การทดสอบสมมติฐาน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การจัดการผู้ป่วยรายกรณีเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง คลินิกโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ นางกรรณิการ์
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
ข้อสังเกตในการจัดทำผลงานทางวิชาการ
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน
ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. พิเศษ 1/5 สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
ใน PowerPoint 7 วิธีในการทำงานร่วมกัน แก้ไขกับผู้อื่น
Don Bosco Banpong Technological College
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
วิธีการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่างมี 2 วิธี
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
บทที่ 15 พัลส์เทคนิค
บทที่ 5 การผลิตสื่อภาพนิ่งเพื่อการนำเสนอทางด้านวิชาชีพพยาบาล
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการ โลจิสติกส์
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
การพัฒนาข้อมูลสาเหตุการตาย
นำเสนอโดย นางสาวหนูแพว วัชโศก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
Product Champion Cluster วัยเรียน : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย
การจัดทำแผนปฏิบัติการ ระดับหน่วยงานกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการเรียนการสอน 1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ปัญหา สื่อการสอน กระบวนการเรียนการสอน ผู้เรียน ขาดการใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย บรรยายหน้าชั้นเรียน ขาดความรู้ความเข้าใจ สาธิตปฏิบัติโดยให้นักเรียนลงมือปฏิบัติตามใบความรู้และปฏิบัติใบงานด้วยตนเอง ขาดความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ ขาดการทบทวนเนื้อหาความรู้เดิม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ

1 2 2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน เรื่อง คำสั่งควบคุมสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ 2 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนกับหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน เรื่อง คำสั่งควบคุม สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ

3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานคอมพวิเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ซึ่งลงทะเบียนเรียนในรายวิชาการเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการเท็กซ์โหมด ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 7 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 277 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนจำนวน 75 คน โดยใช้วีธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม (cluster random sampling) โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มตัวอย่างที่ 1 ใช้สำหรับหาประสิทธิภาพของบทเรียน (E1/E2) จำนวน 30 คน กลุ่มตัวอย่างที่ 2 ใช้สำหรับเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนกับหลังเรียน จำนวน 45 คน

4.1 ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผลวิเคราะห์การวิเคราะห์ข้อมูล 4.1 ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

4.2 ผลการหาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ผลวิเคราะห์การวิเคราะห์ข้อมูล 4.2 ผลการหาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ผลการหาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อทบทวน เรื่อง คำสั่งควบคุม จากผู้ทรงคุณวุฒิทั้งสามท่าน พบว่าภาพรวมของคุณภาพอยู่ในระดับคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก รายการการประเมิน ค่าเฉลี่ย S.D ระดับคุณภาพ 1. ด้านเนื้อหา 4.73 0.45 ดีมาก 2. ด้านเทคนิคการผลิตสื่อ 4.74 0.44 รวม

4 ผลวิเคราะห์การวิเคราะห์ข้อมูล 4.3 ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ตเพื่อทบทวน ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน เรื่อง คำสั่งควบคุม พบว่า คะแนนเต็ม 40 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 36.40 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.00 และผลการทดสอบหลังเรียน มีคะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 16.27 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 81.33 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คะแนน n คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย ร้อยละเฉลี่ย เกณฑ์ ระหว่างเรียน (E1) 30 40 36.40 91.00 80 หลังเรียน (E2) 20 16.27 81.33

4 ผลวิเคราะห์การวิเคราะห์ข้อมูล 4.4 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านอินเตอร์เน็ตเพื่อทบทวน ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน เรื่อง คำสั่งควบคุม พบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คะแนน n คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย S.D t Sig. หลังเรียน 45 20 16.11 2.96 14.026** .00 ก่อนเรียน 9.47 3.01

สรุปผลการวิจัย 1 คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน เรื่อง คำสั่งควบคุม ภาพรวมมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก ( ค่าเฉลี่ย= 4.73 , S.D. = 0.44) เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่ามีคุณภาพด้านเนื้อหาอยู่ในระดับดีมาก (ค่าเฉลี่ย = 4.73 , S.D. = 0.45) และคุณภาพด้านเทคนิคการผลิตสื่ออยู่ในระดับดีมาก (ค่าเฉลี่ย = 4.74 , S.D. = 0.44)

ต่อ 2 3 สรุปผลการวิจัย ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน เรื่อง คำสั่งควบคุม มีประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 91.00/81.33 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนกับหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน เรื่อง คำสั่งควบคุม โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้

ภาพการใช้เว็บไซต์

ข้อเสนอแนะ 1 2 3 4 ข้อเสนอแนะเพื่อการนำผลการวิจัยไปใช้ นักเรียนควรศึกษาวิธีการใช้งานบทเรียนให้เข้าใจและปฏิบัติตาม เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพทางการเรียนสูงสุด 2 นักเรียนสามารถเรียนรู้และทบทวนความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่วนครูผู้สอนต้องเป็นครูผู้ให้คำปรึกษา แนะนำ และอธิบายเพิ่มเติมเมื่อผู้เรียนไม่เข้าใจบทเรียน 3 ควรเปิดโอกาสให้นักเรียนมีอิสระในการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล 4 มีการเตรียมความพร้อมด้านอุปกรณ์ และระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หากอุปกรณ์และระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่มีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดความล่าช้า ในการเข้าสู่บทเรียน อาจส่งผลให้ความสนใจเรียนและตั้งใจของผู้เรียนลดลง

ข้อเสนอแนะ 1 2 3 ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนรายวิชาการเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการเท็กซ์โหมดให้ครบถ้วนทุกหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนหรือผู้ที่สนใจสามารถทบทวนความรู้และมีความเข้าใจในเรื่องการเขียนโปรแกรมมากยิ่งขึ้น 2 พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตรายวิชาการเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการเท็กซ์โหมด ให้สามารถเรียนรู้บนระบบ Android และ IOS เพื่อเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนหรือผู้ที่สนใจเพิ่มขึ้น 3 พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในรายวิชาอื่นๆ เพื่อให้นักเรียนมีแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติมและสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา

จบการนำเสนอ ^_^