การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
ส่วนประกอบในร่างกาย หัว ใบหน้า ร่างกาย ปาก.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
Nickle.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจการกฎหมายเกี่ยว กับการรักษาคุณภาพสิ่ง แวดล้อม 2.
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
S m a r t O f f i c e สำนักงานเกษตรอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
โครเมี่ยม (Cr).
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ชุมชนปลอดภัย.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ระดับความเสี่ยง (QQR)
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศของทวีปยุโรป
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
มาทำความรู้จักกับ เห็ดปลวกฟาน.
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
น้ำและมหาสมุทร.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
Scene Design and Lighting Week1-3
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
ชนิด สมบัติ และการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
แผ่นดินไหว.
Chemistry Introduction
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ประติมากรรมเพื่อการพาณิชย์ (Commercial Sculpture) โดย อาจารย์สันติสุข แหล่งสนาม ภาคการศึกษาที่ 2/2559.
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
กำเนิดโลก ตามทฤษฏีบิกแบง ในยุคเริ่มแรกจักรวาลมีขนาดเล็ก พลังงานมหาศาลอัดแน่นเป็นสสาร ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอสไตน์ (E = mc2) เมื่อจักรวาลเย็นตัวลง.
บทบาทขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
ยิ้มก่อนเรียน.
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
ตัวอย่างหินอัคนี - หินแกรนิต (Granite) เป็นหินอัคนีแทรกซอนที่เย็นตัวลงภายในเปลือกโลกอย่างช้าๆ จึงมีเนื้อหยาบซึ่งประกอบด้วยผลึกขนาดใหญ่ของแร่ควอรตซ์สีเทาใส.
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ

การผุพังอยู่กับที่ (Weathering) หมายถึง การที่หินผุพังทำลายลงด้วยกรรมวิธีต่างๆ จากลมฟ้าอากาศกับน้ำฝน รวมทั้งการกระทำของต้นไม้กับแบคทีเรียตลอดจนการแตกตัวทางกลศาสตร์ มีการเพิ่ม-ลดอุณหภูมิสลับกัน เป็นต้น สาเหตุของการผุพังอยู่กับที่ ได้แก่ ความร้อน ความเย็น น้ำ น้ำแข็ง แก็สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศ ประเภทของการผุพังอยู่กับที่ การผุพังอยู่กับที่แบ่งไก้เป็น 2 ประเภทคือ 1.การผุพังเชิงกล 2.การผุพังเชิงเคมี ซึ่งการผุพังทั้งสองประเภทนี้จะเกิดขึ้นอย่างช้าๆ แต่เมื่อผ่านไปนานๆก็สามารถทำให้หินหรือสสารอื่นๆพังทลายลงได้

1. การผุพังอยู่กับที่เชิงกล (Mechanical Weathering) คือกระบวนการอยู่กับที่ที่ทำให้หินหรือสสารอื่นๆแตกออกเป็นชิ้นๆได้ ตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่เชิงกล - ความร้อนและความเย็น โดยความร้อนจากดวงอาทิตย์หรือไฟป่าทำให้ด้านนอกของหินร้อนกว่าด้านในของหิน ทำให้ด่านนอกของหินหลุดออกมาเป็นแผ่นๆ ส่วนความเย็นได้มาจากฝน ซึ่งทำให้หินที่ร้อนตัวเย็นลงอย่างรวดเร็ว จึงทำให้หินแตกออกเป็นรอยแยกได้ - การแข็งตัวและการละลาย เกิดจากน้ำที่อยู่ในรอยแตกของหินแข็งตัว น้ำจะขยายตัวออกทำให้รอยแยกของหินใหญ่มากขึ้นทำให้ถนนเกิดเป็นหลุมเป็นบ่อ - เกิดเจริญเติบโตของต้นไม้ โดยเกิดจากการไชชอนของรากต้นไม้ไปตามรอยแยกของหิน เมื่อรากต้นไม้ใหญ่ขึ้น ก็สามารถทำให้หินแตกออกได้

- การครูดถู เป็นการเสียดสีกันระหว่างหินกับทรายและเศษหินเล็กๆ ที่มากับน้ำ น้ำแข็ง ลมและแรงโน้มถ่วงของโลก ทำให้หินที่ถูกเสียดสีเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ - การกระทำของสัตว์ พบว่าสัตว์ที่ขุดรูอยู่ในพื้นดิน เช่น หนู ตัวตุ่น แมลงบางชนิด ช่วยทำให้หินที่ถูกเสียดสีเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ - การกัดเซาะของแม่น้ำ แม่น้ำมักมีแหล่งต้นน้ำอยู่บริเวณภูเขาสูงซึ่งอาจไหลมาจากธารน้ำแข็งละลายหรือมีฝนตกหนักในเขตป่าเขา แม่น้ำตอนบนจะมีกระแสไหลเชี่ยว เกิดการกัดเซาะพื้นดินในแนวตั้งทำให้มีฝั่งเป็นหุบเขารูปตัววีเกิดขึ้น ตอนกลางของแม่น้ำเป็นระยะหน่วง ทำให้หุบเขากว้างขึ้น ฝั่งชันน้อยลง มีคุ้งน้ำมากขึ้น ในขณะที่แม่น้ำไหลไปตามคุ้งกระแสน้ำทางฝั่งด้านนอก ของวงโค้ง จะไหลเร็ว จึงเกิดการกัดเซาะ

2. การผุพังอยู่กับที่เชิงเคมี(Chemical Weathering) เป็นกระบวนการ ที่ทำให้หินแตกสลายออกเป็นชิ้นเล็กๆ โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่ทางเคมี ได้แก่ - น้ำเป็นตัวการสำคัญที่สุด ที่ทำให้เกดการผุพังโดยการละลาย - แก็สออกซิเจน หินที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบจะทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนในสภาวะที่มีน้ำอยู่ด้วย และเกิดเป็นสนิม สนิมทำให้หินอ่อนตัวลงและแตกเป็นชิ้นเล็กๆ และให้สีน้ำตาลหรือสีแดง - แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สนี้จะเละลายรวมตัวกับน้ำฝนและน้ำที่อยู่ใน ซึ่งอากาศในดินทำให้เกิดเป็นกรดอ่อน เรียกว่า กรดคาร์บอนิก ซึ่งจะทำให้ หินอ่อนและหินปูนผุพังลงได้

- สิ่งมีชีวิต พบว่ารากพืชที่เติบโตขึ้นจะผลิตกรดอ่อนที่ละลายหินรอบๆรากได้และสิ่งที่คลายพืชที่เรียกว่า ไลเคน ที่เติบโตบนหิน จะสร้างกรดอ่อนที่ทำให้หินผุพังได้ ปัจจัยทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่ มีดังนี้ 1. การผุพังทางกายภาพ เป็นกระบวนการที่ทำให้แร่และหินแตกตัวมีขนาดเล็กลง เช่น การผุพังเนื่องมาจากการหายไปของความดันที่เคยกดทับ ทำให้หินแตกเป็นกาบมน (พบมากกับหินแกรนิต) - การผุพังเนื่องจากน้ำมีการแข็งตัว เกิดในสภาพภูมิอากาศหนาว น้ำเมื่อเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง ปริมาตรจะขยายตัว 9%

2. การผุพังทางเคมี เป็นกระบวนการผุพังที่ทำให้แร่และหิน เปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมี และ/หรือละลายจากวัสดุต้นกำเนิด บริเวณสภาพภูมิอากาศร้อนชื้นกระบวนการดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ดี ผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการดังกล่าว จะได้ตะกอน (แร่ใหม่) และสารละลาย ปฏิกิริยาที่เกิดจากกระบวนการผุพังทางเคมี ที่พบโดยทั่วไป คือ            - ปฎิกิริยาการละลาย และปฎิกิริยาจากน้ำฝนที่เป็นกรดอ่อน เป็นปฎิกิริยาระหว่างแร่ประกอบหิน เป็นแร่ที่สามารถละลายน้ำได้ (แร่เฮไลต์ ในหินเกลือ หรือแร่ยิปซัมในหินยิปซั่ม) หรือแร่แคลไซต์ ในหินปูน เช่น เกลือสินเธาว์ และแร่ยิปซั่ม ที่ละลายโดยน้ำใต้ดิน หินปูนที่ละลายจากน้ำฝนและน้ำใต้ดิน 

- ปฎิกิริยาไฮโดรไลซิส เป็นปฎิกิริยาระหว่างแร่ประกอบหิน กับน้ำฝน หรือน้ำใต้ดิน ทำให้เกิดแร่ใหม่ที่มีความแข็งแรงน้อยลง เช่น การเปลี่ยนของแร่โพแทสเซียมเฟลด์สปาร์เปลี่ยนไปเป็นแร่เคลย์ - ปฎิกิริยาออกซิเดชัน เป็นปฎิกิริยาที่ธาตุโลหะที่เป็นส่วนประกอบของแร่ ทำปฎิกิริยากับออกซิเจน เกิดเป็นแร่ใหม่ เช่น การเปลี่ยนของแร่แมกนีไทต์ ไปเป็นแร่ฮีมาไทต์ และการเปลี่ยนแปลงของแร่ไพไรต์ ไปเป็น ไลมอไนต์ (ข้าวตอกพระร่วง ) เป็นต้น

3. การผุพังทางชีวะ กระบวนการผุพังทางชีวะ เป็นกระบวนการผุพังที่เป็นผลมาจากกิจกรรมของสิ่งมีชีวิต ที่เคลื่อนย้ายวัตถุต้นกำเนิด ออกจากบริเวณเดิม และ/หรือ การย่อยสลายวัตถุต้นกำเนิด กระบวนการผุพังทางชีวะสามารถจำแนก เป็น 2 กลุ่มตามขนาดของสิ่งมีชีวิต - กระบวนการผุพังทางชีวะจากสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดใหญ่สามารถมองเห็นด้วยตา เช่น พืชที่โตในรอยแตกของหิน - กระบวนการผุพังทางชีวะจากสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กไม่สามารถมองเห็นด้วยตา เช่น ไลเคนที่เจริญเติบโตบนหิน

จบการนำเสนอ